เข้าใจความรู้สึกคนอื่น ภาษาอังกฤษ

คำวิจารณ์อาจทำร้ายความรู้สึกของคนอื่นได้

เข้าใจความรู้สึกคนอื่น ภาษาอังกฤษ

อารมณ์และความรู้สึกของคนอื่น

เข้าใจความรู้สึกคนอื่น ภาษาอังกฤษ

ความรู้สึกของพวกเขา

ความคิดเห็นของคนอื่น

ความรู้สึกของความสำเร็จ

ความรู้สึกของผู้อื่น

ความรู้สึกของอารมณ์ขัน

หน่วยความจำนี้บางครั้งมีปัญหากับการรับรู้ของความรู้สึกของคนอื่น

ความรู้สึกของกลิ่น

สายตาของคนอื่น

ความรู้สึกของความสุข

ของสมาชิกคนอื่น

ดีฉันสร้างความรู้สึกของคนอื่น พวกเขาเองไม่เข้าใจและ ลา, บ

ลา, บลา

อารมณ์และความรู้สึกของคนอื่น

the emotions and feelings of other peopleemotions and feelings of someone else

ความรู้สึกของพวกเขา

their feelingshow they feel

ความคิดเห็นของคนอื่น

someone else's opinion

ความรู้สึกของความสำเร็จ

sense of accomplishment

ความรู้สึกของผู้อื่น

feelings of others

ความรู้สึกของอารมณ์ขัน

sense of humor

ความรู้สึกของกลิ่น

sense of smell

สายตาของคนอื่น

the eyes of others

ความรู้สึกของความสุข

a sense of joya sense of happinessfeeling of happiness

ของสมาชิกคนอื่น

of other members

ความรู้สึกของความรัก

feeling of love

ความรู้สึกของพื้นที่

sense of space

ความรู้สึกของผู้หญิง

girl's feelingsthe feelings of a woman

ของอารมณ์ความรู้สึก

of emotions

ความรู้สึกของความร้อน

feeling of heatsensation of heat

ชีวิตของคนอื่น

lives of othersfor someone else's life

ความรู้สึกของข้า

my feelings

ของผู้ใช้คนอื่น

other users

ความรู้สึกของความกลัว

feeling of fear

ความรู้สึกของความสงบ

sense of serenitysense of calm

หลายคนมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับคำว่า Empathy เพราะเมื่อแปลเป็นไทยแล้ว คือคำว่าความเห็นอกเห็นใจ (ซึ่งนั่นตรงกับคำว่า sympathy มากกว่า) หนักเข้าก็กลายเป็นความสงสาร เป็นแม่พระเข้าไปอีก 

ซึ่งตามความหมายจากหนังสือ Empathy : Why it matters, and how to get it นั้น อธิบายไว้ว่า Empathy คือ “ศิลปะของการเอาใจเขามาใส่ใจเรา เป็นการทำความเข้าใจความรู้สึกและมุมมองของเขา เพื่อกำหนดการกระทำของเรา” หรืออธิบายให้ง่ายตามสำนวนภาษาอังกฤษว่ามันคือการ “Put yourself on other’s shoes” หรือการทำความเข้าใจความรู้สึกและการกระทำของผู้อื่นอย่างแท้จริง เหมือนเราได้ลองไปสวมรองเท้าของเขานั่นเอง (ดังนั้นคำว่า ‘เข้าใจ’ จึงไม่จำเป็นต้อง ‘สงสาร’ หรือ ‘เห็นด้วย’ เสมอไป)

ในการทำงานภาคสังคม ส่วนงาน “Empathise stakeholder” หรือการทำความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัญหาที่เรากำลังจะแก้นั้น ถือเป็นส่วนงานที่สำคัญที่สุด จนถือเป็นหัวใจของการทำงานสร้างการเปลี่ยแปลงก็ว่าได้ เพราะการที่เราได้ลองมองในมุมของเค้า ได้ลองเจอปัญหาในแบบที่เค้าเจอ ก็จะทำให้เราสามารถตั้งคำถาม และหาทางแก้ได้อย่างตรงจุดมากขึ้น ไม่มโนไปเองจากมุมมองของตัวเราคนเดียว

วันนี้เราจึงถอดบทเรียนจาก 7 บทสัมภาษณ์สั้นๆ ของ Ashoka Fellow ทั่วโลกที่พูดถึง Empathy ผ่านประสบการณ์การทำงานของพวกเขามาให้อ่านกัน


บทที่ 1 : Feel . Imagine . Do . Share, Kiran Bir Sethi ครูและผู้ก่อตั้ง Riverside School


Kiran Bir Sethi บอกว่าการแก้ไขปัญหาที่ไม่ได้ผล ส่วนใหญ่เกิดจากการที่เราแก้โดยขาดความเข้าใจในปัญหาอย่างแท้จริง การสร้าง Empathy สำหรับเธอ จึงหมายถึงการที่เราถอยกลับมาพิจารณาปัญหาของคนอื่นจนเข้าใจรูปแบบและสาเหตุของมัน แล้วเชื่อมโยงเข้ากับตนเอง ซึ่งในขั้นตอนของการคิดหาทางออก เราจะจินตนาการให้ผู้อื่นเป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่แค่เป็นหยิบยื่นคำตอบที่เราทึกทักเอาเองว่าถูกว่าควรให้กับเขา แต่เป็นการหาทางออกร่วมกันที่นำไปสู่การลงมือทำ และท้ายที่สุดเมื่อประสบความสำเร็จ เราก็ไม่ลืมที่จะแชร์เรื่องราวเหล่านี้เพื่อส่งต่อ Empathy ให้กับผู้อื่นต่อๆ ไป


บทที่ 2 : Start by sharing not by asking, Mary Gordon คุณแม่และผู้ก่อตั้ง Roots of Empathy


Empathy นั้นมีคุณสมบัติที่ละเอียดอ่อนทำให้ยากที่จะสอนกันตามห้องเรียน แต่สามารถทำได้ผ่านการปลูกฝังจากคนหนึ่งถึงอีกคนหนึ่งในความสัมพันธ์ที่มีความใกล้ชิด ซึ่งการปลูกฝัง Empathy ในเด็กนั้นจะส่งผลโดยตรงต่อความสัมพันธ์ในบ้าน ดังนั้น ในช่วงเวลาที่เด็กกำลังโต พ่อแม่สามารถใช้การถ่ายทอดเรื่องราวและประสบการณ์ที่มีความหมายด้านจิตใจเพื่อเปิดโลกให้กับลูกๆ เพราะการเล่าเรื่องที่เต็มไปด้วยอารมณ์และความรู้สึกนั้น จะต้องกลั่นมาจากใจผู้เล่าที่ได้ทำความเข้าใจและผูกความรู้สึกนั้นกับตัวเองมาก่อนแล้ว จึงไม่ยากนักสำหรับเด็กๆ ที่จะซึมซับอารมณ์และความรู้สึกที่จะทำให้พวกเค้าคิดตาม รู้สึกตาม และเข้าใจตามเรื่องเหล่านั้น จนเกิดเป็น Empathy ในที่สุด


บทที่ 3 : Live it , Eric Dawson ผู้ก่อตั้ง Peace First


ในโลกปัจจุบันที่ทุกอย่างหมุนไปอย่างรวดเร็ว ผู้คนต้องต่อสู้กับเวลาเพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตนเองต้องการ จึงไม่แปลกที่คนส่วนใหญ่จะมัวแต่มองไปข้างหน้าโดยลืมคนข้างๆ และลืมว่าพวกเขายังมี ‘วันนี้’ อยู่

Eric Dawson บอกว่า หากเราต้องการให้โลกมี empathy มากขึ้น ก็ควรเริ่มจากตัวเองและส่งต่อไปยังคนรอบข้าง เริ่มง่ายๆ โดยให้เวลาสั้นๆ กับคนใกล้ตัว ในการถามไถ่ความเป็นอยู่ของเขา และไม่ลืมที่จะให้เวลาฟังเขาตอบ โดยไม่รีบหนีไปทำอย่างอื่นก่อน หลักการนี้ยังสามารถใช้ได้เวลาที่งานมีปัญหา ซึ่งแทนที่เราจะเอาแต่เถียงและคิดว่าอีกคนหนึ่งผิด เราก็ใช้เวลานั้นมาคิดแทนในมุมมองของคนๆ นั้นแทน


บทที่ 4 : Validate every voice, Tony Wagner อาจารย์และผู้ร่วมก่อตั้ง Change Leadership Group


ในฐานะครู Tony ให้ความสำคัญกับการออกความคิดเห็นของนักเรียน เขาบอกว่า ครูจะต้องได้ยินเสียง และให้คุณค่ากับความคิดของนักเรียนทุกคน แม้ว่าความคิดเหล่านั้นจะแตกต่างหรือไม่ตรงกับความคิดของครูก็ตาม แต่นั่นคือโอกาสของครูที่จะฟังและมองเห็นคุณค่าของความหลากหลายทางความคิด ยิ่งในยุคโซเชียลแบบนี้ เด็กก็มีโอกาสที่จะพูดมากขึ้นและฟังมากขึ้นในเวลาเดียวกัน พอนักเรียนรู้สึกว่ามีคนฟังเวลาเขาพูด เขาก็จะเริ่มฟังคนอื่นและเข้าใจคนอื่นมากขึ้นเช่นกัน 


บทที่ 5 : Transform the helped to helper, Edgar Cahn ผู้ก่อตั้ง Time Banks


หลายคนมีเหตุผลในการช่วยเหลือคนอื่นไม่เหมือนกัน บางคนอาจจะทำเพราะรู้สึกว่ามีความสุขที่ได้ให้ บางคนอาจจะทำเพราะไม่อยากให้คนอื่นเป็นทุกข์ และมีอีกหลายๆ คนที่ทำเพราะตัวเองรู้สึกดี แต่หัวใจของ Empathy ไม่ได้จบแค่การให้และได้รับของคนสองคนเท่านั้น แต่คือการช่วยอย่างไม่รู้จบ เพราะการที่เราช่วยคนหนึ่งนั้นอาจจะมีแค่เรากับเขาเท่านั้นที่รู้สึกดี แต่หากเราส่งเสริมให้คนที่เราช่วยนั้นไปช่วยเหลือคนอื่นต่อ ความสุขนั้นก็จะขยายออกไปไม่รู้จบ


บทที่ 6 : Build relationships, David Bornstein ผู้แต่ง How to Change the World


Empathy สร้างได้ด้วยการเริ่มสร้างความสัมพันธ์กับคนที่แตกต่าง โดยไม่จำกัดความแตกต่างทั้งทางร่างกาย หรือทางความคิด เพราะการที่เราพยายามจะเป็นเพื่อนกับคนคนนั้น เราต้องมีเหตุผลที่จะชอบเขาในแบบที่เขาเป็น เราเลยต้องเอาตัวเองเข้าไปเข้าใจเขา และรู้สึกแบบเขาให้ได้


บทที่ 7 : Practice before you teach, David Levine นักวิชาการและผู้แต่ง Teaching Empathy


การที่เราจะปลูกฝัง Empathy ในคนอื่นได้ ต้องเริ่มจากการมี Empathy เองก่อน เพราะ Empathy ไม่ใช่การเข้าอกเข้าใจคนอื่นอย่างเดียว เราจะต้องรับฟังด้วยความตั้งใจและไม่ตัดสิน และต่อบทสนทนาที่เป็นพลังบวก ทำให้เขารู้สึกว่าเราเข้าใจ และอยู่ตรงนั้นกับเขาจริงๆ 

การเข้าใจผู้อื่น empathy คืออะไร

Empathy คือทักษะความสามารถในการเข้าใจคนอื่นถึงความคิด อารมณ์ หรือความรู้สึกของอีกฝ่ายโดยไม่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง Empathy สามารถประยุกต์ใช้ได้กับหลากหลายสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นภาคธุรกิจ การบริหารงาน ไปจนถึงฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่สามารถประยุกต์ใช้เพื่อเข้าอกเข้าใจพนักงานด้วยกัน

การเข้าใจผู้อื่นหมายถึงอะไร

1. การเข้าใจผู้อื่น (Understanding Others) เป็นการที่บุคคลเข้าใจถึงความรู้สึกมุมมองและ ข้อวิตกกังวลของบุคคลอื่น รวมทั้งเป็นการรู้สึกเข้าใจว่าผู้อื่นมีความต้องการอะไร อย่างไร ในสถานการณ์ ที่แตกต่างกัน

Empathy ใช้ยังไง

– มีความรู้สึกร่วมไปกับเหตุการณ์ที่ผู้อื่นเจอ – ใช้มุมมองของผู้อื่นตัดสิน – สิ่งที่ถูกดึงออกมาใช้ คือ “ความเข้าใจ”

การเข้าใจผู้อื่น มีอะไรบ้าง

Empathy หรือ ศิลปะในการจินตนาการมองโลกจากมุมของคนอื่น เพื่อที่จะสามารถเข้าใจได้ชัดขึ้น ว่าเขาคิดและรู้สึกอย่างไร Empathy ต่างจากคำที่ดูคล้ายกัน คือ Sympathy ที่หมายถึง สงสาร.
1. ลดอัตตา หยุดฟันธง เหมารวมว่าเราเข้าใจใครๆดี .. ... .
2. สงบ นิ่ง เพื่อ “ฟัง” อย่างตั้งใจจริง ... .
3. เพิ่มประสบการณ์ และใช้เวลากับกลุ่มคนที่หลากหลายมากขึ้น.