โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

Show

สำหรับบทความนี้เหมาะมากสำหรับคุณพ่อคุณแม่ที่เตรียมโอนที่ดินให้ลูก เพื่อที่จะได้ทราบรายละเอียดขั้นตอนการโอนที่ดินให้ลูกล่วงหน้า เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ในการโอนที่ดินให้ลูกในกรณีต่างๆทั้งลูกไปเองและมอบอำนาจ ที่สำคัญจะได้ทราบว่ากรณีการโอนที่ดินให้บุตรนั้นจะต้องเสียค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน และภาษีหรือไม่ เท่าไหร่ และใช้เวลาดำเนินการนานมากน้อยเพียงใดค่ะ 🙂 🙂 🙂

เอกสารโอนที่ดินให้ลูก

สำหรับการเตรียมเอกสารหลักฐานในการโอนที่ให้ลูก หรือบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมายจากพ่อแม่ที่จดทะเบียนสมรสกัน มีเอกสารที่ต้องเตรียมทั้งฝ่ายพ่อแม่ และลูกดังนี้

เอกสารที่พ่อแม่เตรียมเพื่อโอนที่ดินให้ลูก จะสามารถแยกออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่มาทำเรื่องกันทั้งพ่อและแม่ และกรณีที่มาทำเรื่องคนใดคนหนึ่ง โดยหากมาทำเรื่องกันทั้งพ่อและแม่สิ่งที่ต้องเตรียมมาคือ โฉนดที่ดิน, บัตรประชาชนของทั้งพ่อและแม่, ทะเบียนบ้านของทั้งพ่อและแม่, ใบจะทะเบียนสมรส

ซึ่งในกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่มาให้นำสำเนาบัตรประชาชนพร้อมสำเนาถูกต้อง, สำเนาทะเบียนบ้านพร้อมสำเนาถูกต้อง และหนังสือยินยอมคู่สมรสทำนิติกรรม ของผู้ที่ไม่มายื่นเป็นเอกสารประกอบด้วย

สำหรับเอกสารการโอนที่ดินสำหรับลูก ลูกต้องไปด้วยไหมในการดำเนินเรื่องต้องบอกเลยว่าไม่จำเป็น ซึ่งแบ่งเป็น 2 กรณี ได้แก่ กรณีที่ลูกไปทำเรื่องด้วยตนเอง และกรณีโอนที่ดินให้ลูกมอบอํานาจให้ผู้อื่นไปทำแทน โดยมีเอกสารแตกต่างกันดังนี้ หากลูกไปทำเรื่องด้วยตนเอง ก็ให้นำบัตรประชาชน และใบทะเบียนบ้าน

แต่หากมอบอำนาจให้ผู้อื่นไปทำเรื่องแทนจะต้องมีสำเนาบัตรประชาชนพร้อมสำเนาถูกต้องของลูก, สำเนาทะเบียนบ้านพร้อมสำเนาถูกต้องของลูก, บัตรประชาชนของผู้ที่ทำเรื่องแทน, ทะเบียนบ้านของผู้ที่ทำเรื่องแทน และต้องมีใบมอบอํานาจ กรมที่ดิน (ทด21) กรอกเอกสารไปให้พร้อมเพื่อเป็นหลักฐานประ กอบในการโอนที่ดิน

โอนที่ดินให้ลูก ใช้เวลากี่วัน

ในการโอนที่ดินให้ลูกช้า-เร็วขึ้นอยู่กับจำนวนคิวของวันนั้นๆที่เราไปดำเนินการ ซึ่งใช้เวลาประมาณ 2-3 ชม.โดยประมาณ ก็สามารถทำเรื่องเสร็จสิ้นได้ภายในวันเดียวเท่านั้น จึงแนะนำว่าให้ไปเร็วๆจะได้คิวแรกๆไม่ต้องรอนานในการดำเนินเรื่องแต่ละขั้นตอน และหากมีเอกสารที่ผิดพลาดจะได้มีเวลาในการกลับไปเอาเอกสาร หรือทำเรื่องต่อได้ในช่วงบ่าย

ขั้นตอนการโอนที่ดินให้บุตร

ขั้นตอนการดำเนินก็ไม่ได้แตกต่างไปจากการโอนที่ดินในกรณีอื่นๆมากนัก เพียงแต่ผู้ที่ไปดำเนินเรื่องด้วยกันคือพ่อแม่ และลูกตัวเอกสารจึงอาจจะต้อง

  1. ไปหยิบบัตรคิวเพื่อรอตรวจเอกสารกับทางเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ หรือบางที่จะหยิบใบคำขอ และแนบกับเอกสารที่เตรียมมาตามข้อมูลข้างต้น
  2. ยื่นเอกสารและใบคำขอ(ถ้ามีให้กรอก)ให้กับเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่เราเตรียมมา จากนั้นเมื่อถูกต้องครบถ้วนก็จะให้คิวเพื่อไปดำเนินเรื่องต่อที่ฝ่ายชำนาญงาน
  3. เมื่อถึงคิวในการยื่นเรื่องที่ฝ่ายชำนาญงาน ก็จะมีขั้นตอนการลงลายมือชื่อกันทั้งผู้รับ และผู้โอน จากนั้นก็จะทำการประเมินราคาที่ดิน บอกค่าใช้จ่ายต่างๆ และให้ใบค่าใช้จ่ายรวมเพื่อนำไปจ่ายเงินกับฝ่ายการเงิน
  4. เมื่อชำระเงินกับฝ่ายการเงินเรียบร้อยแล้ว ให้นำใบเสร็จที่ได้ไปยื่นให้ฝ่ายชำนาญงาน ซึ่งใบเสร็จสีฟ้าเจ้าหน้าที่ฯจะเอาให้เรากลับมาคืน ส่วนสีเหลืองจะเก็บไว้กับเจ้าหน้าที่ฯ
  5. สุดท้ายเจ้าหน้าที่ฝ่ายชำนาญงานจะพิมพ์ข้อมูลสลักหลังโฉนด และยื่นให้เราได้ตรวจสอบ เมื่อทุกอย่างถูกต้องเรียบร้อยก็เป็นว่ากรรมสิทธิ์ของที่ดินผืนนั้นได้ตกเป็นของลูกเป็นอันสมบูรณ์

ค่าใช้จ่ายการโอนที่ดินให้ลูก

สำหรับค่าใช้จ่ายในการโอนที่ดินให้ลูกที่พ่อแม่จดทะเบียนสมรสกันจะมี 2 ส่วนหลักๆ ได้แก่ ค่าธรรมเนียมการโอน 0.5% จากราคาประเมิน และอากรแสตมป์ 0.5% จากราคาประเมิน โดยค่าใช้จ่ายในขั้นตอนนี้ผู้ที่จะทำการคำนวนให้เราคือฝ่ายชำนาญงานเพื่อให้ไปยื่นจ่ายเงินที่ฝ่ายการเงินเป็นลำดับต่อไป

ซึ่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้รับการยกเว้นในกรณีที่พ่อแม่โอนที่ดินให้ลูก แต่หากมูลค่ามากกว่า 20 ล้านบาทจะต้องเสียภาษีในส่วนต่างของ 20 ล้านเพื่อนำมาคิดภาษี 5% ของมูลค่าที่ดินผืนนั้นๆ เช่น มูลค่าที่ดิน 30 ล้านบาท ก็คิดภาษี 5% ของ 10 ล้านเท่านั้น


ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เบอร์ติดต่อกรมที่ดิน 02-141-5555

โอนที่ดิน ชื่อแม่เป็นของลูก ใช้มอบอำนาจได้ไหมค่ะ

แม่อยากโอนที่ดิน ให้ลูกแต่ไม่อยากไปที่ดิน ใช้มอบอำนาจได้ไหมค่ะ คือ ที่ดินมีชื่อแม่อยู่ 1 ส่วน และลูกอยู่1 ส่วนแล้ว จะโอนให้ไปเป็นชื่อลูกทั้งหมดเลย ต้องทำอย่างไรบ้างค่ะ แล้วจะต้องเสียเงินค่าธรรมเนียมอะไรบ้างค่ะ รบกวนผู้รู้ ช่วยด้วยค่ะ

0

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ


คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

ประเภทสินเชื่อ *

ชื่อ-นามสกุล ของคุณ : *

จังหวัดที่ท่านอยู่ *

เบอร์โทรติดต่อกลับ : *

จำนวนเงินที่ต้องการกู้ *

  • ข้าพเจ้าตกลงและให้สิทธิเพื่อให้สถาบันการเงินติดต่อและนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินที่เหมาะสมแก่ข้าพเจ้า

การทำธุรกรรมกับที่ดิน เช่น การซื้อขายที่ดิน การจดจำนองที่ดิน การขายฝากที่ดิน ในบ้างครั้งเจ้าของหลักทรัพย์อาจจะไม่สะดวกไปทำนิติกรรมเองที่กรมที่ดิน เลยมีวิธีแก้ปัญหาคือ การทำ หนังสือ มอบอำนาจที่ดิน ให้ผู้อื่นไปกระทำแทนตนเอง วันนี้ เพื่อนแท้เงินด่วน จะมาให้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการมอบอำนาจที่ดินว่าคืออะไร และทำอย่างไรบ้าง

ดาวน์โหลด หนังสือมอบอำนาจที่ดิน

สำหรับผู้ที่ต้องการแบบฟอร์ม หนังสือมอบอำนาจที่ดิน สามารถเข้าไปกดปุ่มดาวน์โหลดได้เลยที่นี้

หนังสือมอบอำนาจที่ดิน คือ

หนังสือมอบอำนาจที่ดิน คือ เอกสารสำคัญในการดำเนินการด้านนิติกรรมทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับที่ดิน เพียงแต่ว่า เป็นการมอบอำนาจให้ผู้อื่นสามารถดำเนินการแทน ผ่านการใช้หนังสือมอบอำนาจที่ดิน ทั้งการซื้อขาย โอน จดจำนอง เปลี่ยนกรรมสิทธิ์ ฯลฯ

พิเศษ.. เฉพาะ ผู้ที่ทำการขอสินเชื่อผ่าน แอพฯ จะได้ดอกพิเศษกว่าไปหน้าสาขา

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

ตัวอย่าง การเขียน หนังสือมอบอำนาจที่ดิน

จริงๆแล้วขั้นตอนการหนังสือมอบอํานาจที่ดินไม่ได้มีอะไรซับซ้อนเลย เพียงแต่ต้องใส่ให้ถูกต้องและครบถ้วน เราจะอธิบายว่าแต่ละช่องต้องกรอกอะไรบ้าง

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

1. ระวางที่ดิน

ระวางที่ดิน จะเป็นข้อมูลตัวเลขที่อยู่ด้านมุมซ้ายบนสุดของโฉนด โดยจะประกอบไปด้วยตัวเลขและตัวอักษร ทั้งนี้โฉนดแต่ละชนิดและแต่ละใบจะไม่เหมือนกัน แต่ทุกใบจะมีเลขระวางอยู่แน่นอน

2. ตำบล

ตำบลที่ใส่ในหนังสือมอบอํานาจที่ดินต้องกรอกที่อยู่ของที่ดินในโฉนด ต้องเป็นที่อยู่ของโฉนดที่ดินนั้นเท่านั้น (ห้ามกรอกที่อยู่ปัจจุบันหรือที่อยู่อื่น)

3. เลขที่

ตัวเลขที่ในการกรอกอหนังสือมอบอํานาจที่ดิน หมายถึง เลขที่ของโฉนดอยู่ที่มุมซ้ายข้างล่างเลขระวาง

4. หน้าสำรวจ

หน้าสำรวจ คือเลข 4 ตัวที่ระบุไว้ในโฉนด อยู่มุมบนซ้ายเช่นกัน

5. อำเภอ

เช่นเดียวกับตำบล ต้องกรอกที่ใช้ใส่ในหนังสือมอบอํานาจที่ดิน จะใช้เลขที่ตรงกันกับในโฉนดที่ดินเลย ห้ามเปลี่ยนหรือกรอกที่อยู่อื่นๆลงไป

6. โฉนดหมายเลขที่

หมายเลขโฉนดเป็นเลข 1-5 หลัก อยู่บริเวณมุมขวาบนของโฉนด

7. จังหวัด

จังหวัดตามในโฉนด ต้องกรอกให้ตรงกับที่โฉนดออกไว้แบบเปะๆ

8. เขียนที่

สถานที่เขียนหนังสือมอบอํานาจที่ดิน (ส่วนมักไปเขียนที่อำเภอหรือกรมที่ดิน แต่ในบ้างกรณีก็เขียนที่บ้าน ให้ระบุให้ตรงตามความจริง)

9. วันเดือนปี

วันเดือนปี ที่เขียนหนังสือมอบอํานาจที่ดิน (หมายถึงต้องเขียนและเซ็นเอกสารทำข้อตกลงเสร็จสิ้นภายในวันนั้น)

10. ลงชื่อผู้มอบอำนาจ

หมายถึง ผู้ที่มีชื่อถือครองโฉนดที่ดิน ยกตัวอย่าง นาย ก. ต้องการขายที่ดินให้ นาย ข. แต่ให้นาย ค. ไปกำเนินการเเทน บริเวณนี้ต้องลงชื่อนาย ก.

11. มอบให้ใคร

ต้องลงชื่อผู้ที่ต้องการมอบให้ ยกตัวอย่าง นาย ก. ต้องการขายที่ดินให้ นาย ข. แต่ให้นาย ค. ไปดำเนินการเเทน บริเวณหนังสือมอบอํานาจที่ดินนี้ต้องลงชื่อผู้ที่ซื้อนั้นคือ นาย ค.

12. กรอกรายละเอียดที่ต้องการมอบอำนาจ

สามารถเขียนรายละเอียดตามจุดประสงค์ในการทำหนังสือมอบอํานาจที่ดินได้เลย เช่น ใช้มอบอำนาจซื้อขายที่ดิน แต่ต้องกรอกรายละเอียดให้ตรงเช่น เป็น ตึก หรือ บ้าน มีกี่ชั้น หลังไหนเลขที่เท่าไหร่ ขายให้ใคร ราคาเท่าไหร่ เพื่อมอบอำนาจให้ผู้ที่ต้องไปทำการเเทน

13. ประทับลายนิ้วมือ

กรณีที่ผู้มอบอำนาจเซ็นรายมือชื่อในหนังสือมอบอํานาจที่ดินไม่ได้ สามารถประทับลายนิ้วมือของผู้มอบอำนาจ ด้วยนิ้วหัวแม่มือซ้าย (ต้องทำต่อหน้าพยาน)

14. ลายเซ็นผู้มอบอำนาจ

ลงชื่อผู้มอบอำนาจ ให้ชัดเจน (ต้องทำต่อหน้าพยาน)

15. พยาน

ลงชื่อพยาน จำนวน 2 คน โดยการกระทำที่ต้องทำต่อหน้าพยานคือ การเซ็น ลายเซ็นผู้มอบอำนาจ และการประทับลายนิ้วมือ และจากนั้นจึงให้พยานเซ็น เพื่อยืนยัน

การใช้งาน หนังสือมอบอำนาจ

กรณีที่จะใช้หนังสือมอบอำนาจที่ดินก็ต่อเมื่อ เจ้าของที่ดินหรือผู้ซื้อสัญญาคนสุดท้ายตามที่ปรากฎในสารบัญโฉนดที่ดินไม่สามารถมาดำเนินการได้ด้วยตนเอง ดังนั้นหน้าที่ของหนังสือมอบอํานาจใช้ที่ดินจึงเป็นการมอบความสะดวกให้กับผู้ที่ไม่ว่างมาดำเนินการ สามารถดำเนินการทางที่ดินได้

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

กรณีที่จะใช้หนังสือมอบอำนาจที่ดินก็ต่อเมื่อ เจ้าของที่ดินหรือผู้ซื้อสัญญาคนสุดท้ายตามที่ปรากฎในสารบัญโฉนดที่ดินไม่สามารถมาดำเนินการได้ด้วยตนเอง ดังนั้นหน้าที่ของหนังสือมอบอํานาจใช้ที่ดินจึงเป็นการมอบความสะดวกให้กับผู้ที่ไม่ว่างมาดำเนินการ สามารถดำเนินการทางที่ดินได้

เอกสารที่ใช้ประกอบ หนังสือมอบอำนาจ

  1. บัตรประชาชนตัวจริง ของผู้ให้หนังสือมอบอำนาจที่ดิน 
  2. ทะเบียนบ้านตัวจริง ของผู้ให้หนังสือมอบอำนาจที่ดิน

สำหรับทั้ง 2 รายการ จำเป็นต้องมีเพื่อป้องกันการทุจริตในหนังสือมอบอำนาจที่ดินทุกรูปแบบ เพราะถ้าหากเกิดการทุจริตจริง ต้องผ่านการปลอมแปลงเอกสาร ทั้งบัตรประชาชนตัวจริง ทะเบียนบ้านตัวจริง และหนังสือมอบอำนาจที่ดิน จึงทำให้เกิดการทุจริตยากขึ้นนั่นเอง

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

ผู้รับ มอบอำนาจที่ดิน

การทำหนังสือมอบอำนาจที่ดิน ผู้รับมอบอำนาจควรจะเป็นบุคคลที่น่าเชื่อถือและมีความสนิทสนมชิดเชื้อไว้ใจได้ เช่น พี่ น้อง หรือญาติสนิท เป็นต้น หากผู้รับมอบหนังสือมอบอำนาจที่ดิน มีอายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป อาจจะต้องมีข้อพิจารณาจากเจ้าหน้าที่ว่าผู้รับมอบหนังสือมอบอำนาจโฉนดดินว่ายังมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์หรือไม่

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

ถ้าจำเป็นต้องให้ผู้รับมอบหนังสือมอบอํานาจที่ดินทั่วไปเป็นผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ควรทำเอกสารหรือขอรับใบรับรองจากผู้นำท้องถิ่น หรือองค์การปกครองท้องถิ่น ก่อนไปดำเนินการที่กรมที่ดิน และนอกเหนือจากนั้นควรมีพยานอย่างน้อย 1 คน โดยพยานจะต้องพิมพ์ลายนิ้วมือเพื่อเป็นหลักฐานประจักษ์ แต่ถ้าพยานไม่สามารถพิมพ์ลายนิ้วมือได้ก็จะต้องใช้พยานอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป

หนังสือมอบอำนาจ มีกี่ประเภท

หนังสือมอบอำนาจที่ดินถือเป็นเอกสารสำคัญในการดำเนินการด้านนิติกรรมทุกด้านที่เกี่ยวกับที่ดิน ไม่ว่าจะเป็น การจำนอง จำนำ การซื้อขาย การโอน หรือการเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ เป็นต้น โดยหนังสือมอบอํานาจ รังวัดที่ดิน สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท ดังนี้

  1. ที่ดินที่มีโฉนดแล้ว
  2. ที่ดินที่ยังไม่มีโฉนด

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

ข้อควรระวังเกี่ยวกับ หนังสือมอบอำนาจ

  1. การกรอกเครื่องหมายหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน จะต้องมีการระบุประเภทของอสังหาริมทรัพย์ให้ถูกต้องชัดเจน
  2. การระบุขอบเขตอำนาจของการจัดการและดำเนินการแทนในหนังสือมอบอํานาจที่ดินจะต้องมีความชัดเจนหรือหากมีเงื่อนไขอื่นเพิ่มเติมก็ควรระบุให้ถูกต้องชัดเจนด้วยเช่นกัน 
  3. ไม่ควรใช้ปากกาคนละสี และควรระมัดระวังในการลงลายมือชื่อในแต่ละครั้งต้องลงให้เหมือนกันนเพื่อให้เอกสารมีความสม่ำเสมอและชัดเจน หากเป็นการพิมพ์ก็ควรใช้เป็นฟ้อนต์เดียวกันขนาดเท่ากัน ความหนาเท่ากัน
  4. หากมีการขูด ขีด ฆ่า แต่งเติม หรือแก้ไข จะต้องเซ็นเพื่อกำกับจุดที่มีการแก้ไขดังกล่าวในหนังสือมอบอํานาจที่ดินไว้ด้วย
  5. ระมัดระวังห้ามลงชื่อในเอกสารมอบอำนาจที่ดินที่ยังไม่มีการกรอกข้อมูลใดๆ เด็ดขาด เพราะอาจจะมีการทุจริตเกิดขึ้นได้ควรกรอกเอกสารให้ครบถ้วนและควรตรวจเช็คความเรียบร้อยก่อนค่อยลงลายมือชื่อ
  6. โอนที่ดินให้ลูก มอบอํานาจจำเป็นที่จะต้องมีพยานอย่างน้อย 1 คน แต่ถ้าหากไม่สามารถพิมพ์ลายนิ้วมือได้ จะต้องใช้พยาน 2 คน ในการทำหนังสือมอบอํานาจที่ดิน และทั้ง 2 คน จะต้องลงลายมือหรือเซ็นกำกับด้วย
  7. หากต้องการมอบอำนาจที่ดินและดำเนินการในต่างประเทศจะต้องให้เจ้าหน้าที่จากสถานทูต สถานกงสุล หรือโนตารีปับลิค รับรองด้วยจึงจะสามารถดำเนินการต่อได้
  8. หนังสือมอบอํานาจที่ดิน มีอายุเท่าไร ขึ้นกับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่พนักงานที่ดิน แต่ไม่ควรมีระยะเวลานานเกินไป

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

10 ข้อน่ารู้เกี่ยวกับ หนังสือมอบอำนาจที่ดิน

1. ผู้รับอำนาจดำเนินการแทนทั้งสองฝ่าย

ไม่ว่าจะเป็นการเป็นผู้ดำเนินการแทนทั้งฝ่ายผู้โอนและฝ่ายรับโอน ผู้มอบอำนาจจะต้องระบุไว้ในหนังสือมอบอำนาจที่ดินให้ชัดเจน ว่ายินยอมให้ผู้รับมอบอำนาจเป็นตัวแทนของอีกฝ่ายหนึ่งด้วย

2. การกรอกเครื่องหมายที่ดินจากโฉนดที่ดิน

การกรอกเครื่องหมายที่ดินจากตัวโฉนดที่ดินเพื่อใส่รายละเอียดลงในหนังสือมอบอํานาจที่ดิน ควรลอกข้อความมาทั้งหมด รวมถึงข้อความที่เป็นการขีดฆ่า ข้อความในวงเล็บ เป็นต้น

โอน ที่ดิน ให้ลูก มอบ อํา น่า จ

3. ข้อความในเอกกสารมอบอำนาจที่ดิน

ผู้มอบอำนาจในหนังสือมอบอํานาจที่ดินสามารถระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่ต้องการและจำเป็นได้เลย และควรระบุข้อความลงท้ายว่า “ตลอดจนถ้อยคำต่าง ๆ ต่อเจ้าหน้าที่พนักงาน “

4. ข้อความที่มีการเพิ่มเติมจากแบบพิมพ์ของกรมที่ดิน

โดยปกติผู้มอบอำนาจควรจะเขียนรายละเอียดตามแบบพิมพ์ทีได้มาจากกรมที่ดิน แต่สิ่งที่เพิ่มเติม คือในส่วนของชื่อเรื่องและขอบเขตอำนาจที่มอบหมายให้ผู้รับมอบอำนาจตามหนังสือมอบอํานาจที่ดินดำเนินการแทน ทั้งในหัวข้อชื่อเรื่อง การมอบให้จัดการ ลักษณะเหตุการณ์จริงที่ทำให้เกิดการมอบอำนาจ เป็นต้น

5. หนังสือมอบอำนาจ จะมีคนมอบอำนาจหลายคนในหนึ่งฉบับก็ได้

การใช้หนังสือมอบอํานาจที่ดินฉบับเดียวกันในกรณีที่มีผู้มอบอำนาจหลายคน ควรมีการระบุขอบเขตอำนาจให้เหมือนกันเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในข้อความ

6. สามารถใช้หนังสือมอบอำนาจฉบับเดียวในการดำเนินหลายเรื่องได้

ผู้มอบอำนาจสามารถใช้หนังสือมอบอำนาจฉบับเดียวเพื่อให้ผู้รับมอบอำนาจคนเดิมสามารถไปดำเนินการหลายเรื่องได้แต่ควรมีการระบุรายละเอียดของขอบเขตการมอบอำนาจให้ชัดเจน

7. หนังสือมอบอำนาจ จำเป็นต้องมีพยานลงลายมือชื่อ 1 คน

หากเป็นคู่สามีภรรยาสามรถลงลายมือชื่อเพื่อเป็นพยานได้ และสามารถทำหนังสือยินยอมให้สามารถทำนิติกรรมหนังสือมอบอํานาจที่ดินควบคู่กันไปด้วย

8. นิ้วที่พยานใช้ในการพิมพ์ลายนิ้วมือ

จำเป็นจะต้องใช้ลายนิ้วมือจากมือข้างซ้าย เพราะมือข้างซ้ายไม่ค่อยได้ใช้งาน ทำให้ลายนิ้วมือข้างซ้ายมีความสึกหรอน้อยกว่าข้างขวานั่นเอง

9. เมื่อทำหนังสือมอบอำนาจแล้ว ต้องรีบดำเนินการให้เร็วที่สุด

ไม่ควรปล่อยไว้นาน หากมีการหนังสือมอบอํานาจที่ดินแล้วควรรดำเนินการให้เร็วที่สุด เพราะถ้าปล่อยไว้นานเจ้าหน้าที่กรมที่ดินอาจไม่มั่นใจว่าหนังสือมอบอำนาจฉบับนี้ยกเลิกไปแล้วหรือไม่ หรือผู้มอบอำนาจยังมีชีวิตอยู่หรือไม่

10 . กรณีผู้มอบอำนาจมีการเปลี่ยนแปลงลายมือชื่อ

หากผู้มอบอำนาจมีการเปลี่ยนแปลงลายมือชื่อจะต้องไปดำเนินการติดต่อที่อำเภอเพื่อดำเนินการทำหนังสือมอบอํานาจที่ดินต่อหน้านายอำเภอเท่านั้น โดยนายอำเภอจะรับรองว่าผู้มอบอำนาจได้มีการเปลี่ยนแปลงรายมือชื่อจริง

สรุป - หนังสือมอบอำนาจที่ดิน

การจะธุรกรรมกับที่ดินแต่ละครั้งต้องใช้เวลา แต่ถ้าจำเป็นต้องทำตอนนั้นแต่เจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินไม่ว่างก็จำเป็นจะต้องทำหนังสือมอบอำนาจให้คนสนิทหรือคนที่ไว้ใจได้ไปทำธุรกรรมแทนแต่จะต้องมีบัตรประชาชนตัวจริงและทะเบียนบ้านตัวจริงของผู้ให้หนังสือมอบอำนาจที่ดินแนบไปด้วย

เพื่อนแท้เงินด่วนขอให้ผู้อ่านระมัดระวังในการเซ็นลายมือชื่อในหนังสือมอบอํานาจที่ดินทุกครั้ง เพื่อไม่ให้เกิดการทุจริตเกิดขึ้นในภายหลัง นอกจากนั้นจะต้องมีพยานในการลงลายมือชื่อด้วยอย่างน้อย 1 คน จึงจะถือว่าหนังสือมอบอำนาจฉบับนั้นสมบูรณ์