คืนตั๋วการบินไทย pantip 2565

สำหรับเพื่อนสมาชิกที่มีบัตรกำนัลการเดินทางของการบินไทย (Thai Travel Voucher) อยู่ในมือ และไม่มีแผนที่จะเดินทางกับการบินไทย ตอนนี้ทางการบินไทยเปิดให้แจ้งความประสงค์ขอเปลี่ยนเป็นเงินคืนได้แล้ว จะต้องทำการลงทะเบียนผ่านหน้าเว็บไซต์


วิธีการขอเงินคืน

คืนตั๋วการบินไทย pantip 2565



  • ลงทะเบียนผ่านหน้าเว็บไซต์ REFUND THAI TRAVEL VOUCHER (TVA) (thaiairways.com)
  • ลงทะเบียนขอคืนภายใน 31 ธันวาคม 2566
  • การบินไทยจะคืนเงินตามลำดับ โดยเริ่มตั้งแต่ 31 มีนาคม 2567
  • หากกดลงทะเบียนขอเงินคืนแล้ว สามารถเปลี่ยนใจขอกลับมาเป็น Voucher ได้

ขั้นตอนการขอเงินคืนก็ไม่ได้มีอะไรซับซ้อน เพียงแค่ระบุหมายเลข Travel Voucher พร้อมชื่อและนามสกุลเท่านั้น

สรุปรายละเอียด

การขอเงินคืนของการบินไทยต้องใช้ระยะเวลาเกือบ 2 ปี ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยเหมาะสมสักเท่าไหร่ ในกรณีของ ChaiMiles ก็มี Travel Voucher ของ Singapore Airlines และ Emirates Airlines ซึ่งสามารถขอคืนเป็นเงินได้ทันทีโดยใช้ระยะเวลาเพียงไม่กี่วันเท่านั้น


สำหรับคนที่ไม่มีแผนการเดินทาง ก็สามารถลงทะเบียนไว้ก่อนได้ และหากต้องการใช้ Travel Voucher เมื่อไหร่ ก็สามารถเปลี่ยนใจมาจองตั๋วโดยใช้ Travel Voucher ได้ในภายหลัง ถือว่าดีกว่าการถือ Travel Voucher เอาไว้ในมือเฉยๆโดยไม่มีแผนการเดินทางในอนาคต

อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินนี้ใช้เฉพาะช่วงของการเดินทางในประเทศเท่านั้นภายใต้เกณฑ์พิจารณาตามน้ำหนักและเป็นอัตราตายตัวดังนี้
บาทต่อกิโลกรัม (ระหว่าง...และ...)กรุงเทพฯเชียงใหม่เชียงใหม่60-เชียงราย70-หาดใหญ่80-ขอนแก่น55-กระบี่70-ภูเก็ต70125สุราษฎร์ธานี65-อุบลราชธานี60-อุดรธานี55-

หมายเหตุ
1. “ตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินในประเทศ” ข้างต้นนี้ให้ใช้ได้กับการเดินทางในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไปจนกว่าจะมีการประกาศเปลี่ยนแปลง
2. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินคิดตามน้ำหนักที่เกินเป็นกิโลกรัมและเป็นสกุลเงินบาท
3. ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินต่อกิโลกรัมสำหรับบริการในประเทศใดๆของการบินไทยคือ 1.5% ของค่าบัตรโดยสารชั้นประหยัดแบบบินตรงเที่ยวเดียวปกติสูงสุด
4. ไม่อนุญาตให้ใช้อัตราส่วนลดของเด็กและเด็กเล็กได้
5. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศจะแสดงแยกไว้เป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
6.หากมีการฝากสัมภาระผ่านตั้งแต่เที่ยวบินในประเทศของการบินไทยต่อเนื่องไปยังช่วงของการเดินทางระหว่างประเทศกับการบินไทย การคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะแบ่งคิดตามโซน
7. ช่วงของการเดินทางในประเทศกับการบินไทยคือโซน 1 (โปรดดูนิยามโซนต่างๆในตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับการเดินทางระหว่างประเทศ)
8. เงื่อนไขสำหรับข้อ 5 ในเรื่องการแปลงค่าเงิน ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินที่ประกาศเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐจะแปลงเป็นสกุลเงินท้องถิ่นโดยใช้อัตราขายของธนาคารในวันที่มีการคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินดังกล่าว

ค่าบริการสัมภาระส่วนเกิน (ภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3)  
สัมภาระน้ำหนักเกินทั้งหมดจะต้องถูกชั่งและเก็บค่าบริการก่อนที่ผู้โดยสารจะขึ้นเครื่อง น้ำหนักสัมภาระที่อนุญาตอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามเคบิน ระดับสถานะ สถานะทางการทหาร เอกสารเดินทางและวันที่ซื้อ ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะเรียกเก็บดังต่อไปนี้โดยไม่คำนึงถึงคลาสของตั๋ว

อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินนี้ใช้เฉพาะช่วงของการเดินทางภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3 ภายใต้เกณฑ์พิจารณาตามน้ำหนักและเป็นอัตราตามโซนดังนี้

ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลกรัมไปยัง โซน1ไปยัง โซน2ไปยัง โซน3ไปยัง โซน4
ไปยัง โซน5ไปยัง โซน6ออกจากโซน11215404570-ออกจากโซน21540455570-ออกจากโซน34045556070-ออกจากโซน44555607070-ออกจากโซน57070707070-ออกจากโซน6------

หมายเหตุ
1. “ตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3” ข้างต้นนี้ให้ใช้ได้กับการเดินทางในวันที่ 1 กันยายน 2561 เป็นต้นไปจนกว่าจะมีการประกาศเปลี่ยนแปลง
2. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินคิดตามน้ำหนักที่เกินเป็นกิโลกรัมสำหรับโซน 1-5
3. ไม่อนุญาตให้ใช้อัตราส่วนลดของเด็กและเด็กเล็กได้
4. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินไปยัง/มาจากโซน 6 หรือสหรัฐอเมริกา/แคนาดาคำนวณตามเกณฑ์พิจารณาตามจำนวนชิ้น (ข้อมูลเพิ่มเติมในหน้า “ค่าบริการสัมภาระส่วนเกิน (ไปยัง/มาจากสหรัฐอเมริกา/แคนาดา)
5. หากมีการฝากสัมภาระผ่านตั้งแต่เที่ยวบินในประเทศของการบินไทยต่อเนื่องไปยังช่วงของการเดินทางระหว่างประเทศกับการบินไทย การคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะแบ่งคิดตามโซน ช่วงของการเดินทางในประเทศกับการบินไทยคือโซน 1 (โปรดดูนิยามโซนต่างๆในตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับการเดินทางระหว่างประเทศ)
6. การแปลงค่าเงิน – ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินที่ประกาศเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐจะแปลงเป็นสกุลเงินท้องถิ่นโดยใช้อัตราขายของธนาคารในวันที่มีการคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินดังกล่าว
7. นิยามของโซนต่างๆ

โซน

นิยาม

โซน 1

บังคลาเทศ/ กัมพูชา/ จีน (คุนหมิง)/ ลาว/ มาเลเซีย/ พม่า/ สิงคโปร์/ ไทยและเที่ยวบินในประเทศไทยของการบินไทย/ เวียดนาม/ เส้นทางระหว่างฮ่องกง - จีนและไทเป/ เส้นทางระหว่าง ไทเปและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่างการาจีและมัสกัต/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและสิงคโปร์/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและกัวลาลัมเปอร์

โซน 2

บรูไนดารุสซาลาม/ จีน (ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เฉิงตู กวางโจว เซี่ยเหมิน ฉงชิ่ง ฉางซา)/ฮ่องกง - จีน/ อินเดีย/ อินโดนีเซีย/ มาเก๊า/ เนปาล/ ฟิลิปปินส์/ ศรีลังกา/ ไต้หวัน - จีน/ เส้นทางระหว่าง ฮ่องกงและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและฮ่องกง - จีน/ เส้นทางระหว่างภูเก็ตและปักกิ่ง

โซน 3

ออสเตรเลีย (เพิร์ท)/ บาห์เรน/ ญี่ปุ่น/ เกาหลี/ โอมาน/ ปากีสถาน/ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์/ อิหร่าน/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและเพิร์ท/ เส้นทางระหว่างภูเก็ตและไทเป

โซน 4

ออสเตรเลีย (ซิดนีย์ บริสเบน เมลเบิร์น)/อียิปต์/ อิสราเอล/ มาดากัสการ์/ ตุรกี/ รัสเซีย (มอสโก)/ เส้นทางระหว่าง ซิดนีย์และภูเก็ต

โซน 5

ออสเตรีย/ เบลเยียม/ เดนมาร์ค/ เชโกสโลวาเกีย/ ฟินแลนด์/  ฝรั่งเศส/ ฮังการี/ เยอรมัน/ อิตาลี/ เนเธอร์แลนด์/ นิวซีแลนด์/ นอร์เวย์/ โปแลนด์/ โปรตุเกส/ แอฟริกาใต้/ สเปน/ สวีเดน/ สวิตเซอร์แลนด์/ สหราชอาณาจักร/ เส้นทางระหว่าง สตอกโฮล์มและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง โคเปนเฮเกนและ ภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง แฟรงก์เฟิร์ตและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ลอนดอนและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ปารีสและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ซูริกและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง มิวนิกและภูเก็ต