บอกการวางแผนพัฒนาสุขภาพด้านจิตวิญญาณมา 3 ข้อ

ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจว่าเหตุการณ์โศกเศร้าที่เผชิญอยู่เป็นความจริง เกิดขึ้นจริง ๆ และไม่ควรปิดกั้นการแสดงออกถึงความรู้สึกเศร้าโศก ทว่าก็ควรแสดงออกอย่างเหมาะสม พร้อมทั้งควรพูดคุยกับคนรอบข้าง เพื่อสร้างกำลังใจและแรงจูงใจซึ่งกันและกัน ประคับประคองความรู้สึกให้ผ่านพ้นความเศร้าไปให้ได้

2. อยู่อย่างมีสติ

จงดำเนินชีวิตอยู่ด้วยความมีสติ หมั่นสังเกตปฏิกิริยาทางจิตใจและพฤติกรรมของตัวเองและคนรอบข้างให้ดี หากมีอาการคิดวนเวียน วิตกกังวล ไม่อยากพบเจอใคร หมกมุ่นกับความคิดของตัวเอง นอนไม่หลับ ฝันร้าย หรือมีพฤติกรรมแปลก ๆ เช่น เริ่มพูดพึมพำกับตัวเอง เห็นภาพหลอน หูแว่ว หรือมีความคิดว่าไม่อยากมีชีวิตอยู่ ควรรีบมาพบจิตแพทย์

3. ระบายความรู้สึกออกมาบ้าง

การได้ระบายความเศร้าโศกเสียใจหรือความรู้สึกหม่น ๆ ในใจให้กับคนรอบข้างและคนใกล้ชิดบ้างจะช่วยให้ความรู้สึกเศร้าผ่อนคลายลงบ้างไม่มากก็น้อย นอกจากนี้การได้ปรับทุกข์ซึ่งกันและกันยังจะช่วยให้ต่างฝ่ายต่างเยียวยาจิตใจซึ่งกันและกันด้วยความเข้าอกเข้าใจอีกด้วย

4. พาตัวเองออกจากสิ่งที่ทำให้รู้สึกเศร้า

ถ้าความรู้สึกซึมเศร้าถาโถมจนเกินจะรับได้ไหวอีกต่อไป ควรกันตัวเองออกจากปัจจัยที่ทำให้เศร้า เช่น พยายามไม่รับข้อมูลข่าวสารใด ๆ ไม่ดูรูปภาพหรือคลิปวิดีโอที่ดูกี่ครั้งก็ร้องไห้ และควรพักใจอยู่นิ่ง ๆ กับตัวเองสักพัก

5. พยายามคิดถึงแต่เรื่องดีๆ ที่มีต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสีย

หากรู้สึกคิดถึงคนที่เราเพิ่งสูญเสียไป ให้เปลี่ยนความคิดถึงไปในทิศทางบวก เช่น คิดถึงช่วงเวลาที่ดี ๆ คิดถึงภาพความสุขและรอยยิ้มของคนที่จากไป ให้เป็นความทรงจำที่ดี ๆ และพยายามดำเนินชีวิตของตัวเองอย่างปกติ

6. หมั่นฝึกสมาธิ

ในกรณีที่รู้สึกแย่ในขั้นที่กินไม่ได้นอนไม่หลับ ให้หมั่นนั่งสมาธิ ฝึกจิตใจให้สงบ และเรียกคืนสติให้กับตัวเอง

7. ปฐมพยาบาลเบื้องต้น

สำหรับคนที่มีอาการเสียใจหนักมากจนเป็นลมล้มพับ หรือรู้สึกเหมือนจะล้ม ให้หายใจลึก ๆ ช้า ๆ พยายามอย่าตื่นตระหนก พาตัวเองออกมาอยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ดื่มน้ำเย็น และหาผ้าเย็นมาเช็ดเนื้อเช็ดตัว พร้อมทั้งดมยาดมด้วย ซึ่งการปฐมพยาบาลดังกล่าวนี้สามารถนำไปใช้ดูแลผู้อื่นที่มีอาการเศร้าโศกเสียใจจนคุมสติและร่างกายไม่อยู่ได้ด้วย

บอกการวางแผนพัฒนาสุขภาพด้านจิตวิญญาณมา 3 ข้อ


     แนวทางในการวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว มีแนวคิด 3 ประการ คือ
1. การพัฒนาสุขภาพตนเอง
2. การพัฒนาสุขภาพขอคนในครอบคัว
3. การพัฒนาสุขภาพในชุมชน
     การวางแผนพัฒนาสุขภาพในภาพรวมทั้ง 3 แนวคิดจะเป็นไปในลักษณะที่ต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน เพราะถ้าสุขภาพส่วนบุคคลไม่ดีแล้วจะส่งผมกระทบต่อสุขภาพของบุคคลในครอบครัว และเนื่องจากครอบครัวเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ถ้าในครอบครัวหลายๆครอบครัวไม่เข้มแข็ง อ่อนแอด้านสุขภาพ ก็จะทำให้ภาพรวมของสังคมอ่อนแอไปด้วย ดังนั้นการพัฒนาด้านสุขภาพจึงรวมกันเป็นห่วงโซ่ที่ต้องพัฒนาเป็นองค์รวมเชื่อมโยงกันไป

     การพัฒนาสุขภาพส่วนบุคคลหรือของตนเองจะเป็นการพัฒนาเฉพาะด้าน เฉพาะบุคคล ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไปตามวัย โดยเฉพาะการพัฒนาและดูแลอาใจใส่เลี้ยงดูจากพ่อแม่ จะเป็นรากฐานที่ดีต่อชีวิตต่อไป เช่น การได้รับภูมิคุ้มกันโรคอย่างครบถ้วนเป็นระยะ การสร้างเสริมความแข็งแรงของร่างกายโดยได้รับการกระตุ้น การรับวัคซีนป้องกันโรคหรือวัคซีนที่จำเป็นเฉพาะโรค เช่น วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก วัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน เมื่อได้รับการพัฒนาสุขภาพด้านร่างายมาอย่างดี พร้อมกับได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่ ได้รับความรักความอบอุ่นทางจิตใจอย่างเพียงพอ จะทำให้บุคคลนั้นสุขภาพจิตดีไปด้วย
     การพัฒนาสุขภาพในวัยผู้ใหญ่ ส่วนมากจะเป็นไปในลักษณะการดูแลตนเอง เพราะผู้ใหญ่จะรู้ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตนเอง บอกอาการที่ผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตนเองได้ สุขภาพที่ไม่ดีในวัยผู้ใหญ่นั้น มักเกิดจากพฤติกรรมของตนเองเป็นส่วนมาก เช่น พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ไม่รับประทานอาหารบางมื้อ เลือกรับประทานอาหารเฉพาะสิ่งที่ชอบ หรือไม่รับประทานอาหารแต่รับประทานอาหารเสริม หรืออาหารสำเร็จรูปที่เป็นแคปซูลแทนเพื่อนรักษารูปร่าง ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพเรื้อรัง
     การดูแลสุขภาพในวัยชราหรือผู้สูงอายุ ในวัยนี้การทำงานของอวัยวะต่างๆในร่างกายเสื่อมโทรมลงแต่ถ้าการดูแลสุขภาพดีในวัยเด็กและวัยผู้ใหญ่ การเสื่อมโทรมของอวัยวะในร่างกายก็จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆและไม่ค่อยเจ็บป่วย อย่างไรก็ตามการเสื่อมโทรมของร่างกายและสมองย่อมเป็นไปตามวัย การดูแลสุขภาพขอองบุคคลในช่วงนี้จึงต้องได้รับความช่วยเหลือดูแลจากคนในครอบครัว การพัฒนาสุขภาพของบุคคลในครอบครัว ต้องมาจากพื้นฐานการดูแลสุขภาพที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ และวัยชราต่อเนื่องกัน

บอกการวางแผนพัฒนาสุขภาพด้านจิตวิญญาณมา 3 ข้อ

https://sites.google.com/site/healthgrade6/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-1/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-5

วิธีการวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว

1.  การวางแผนพัฒนาสุขภาพ

                1.1  ออกกำลังสม่ำเสมอ  อย่างน้อย  2-3 ครั้งใน  1 สัปดาห์                                                                                                                                             แต่ละครั้งควรใช้เวลาไม่น้อยกว่า  30  นาที  ควรยึดหลัก  หนัก  นาน  บ่อย

                1.2  รับประทานอาหารต้องครบ  5 หมู่

                1.3  พักผ่อนให้เพียงพอ  ไม่น้อยกว่า  6-7  ชั่วโมง

                 1.4  ตรวจสุขภาพอย่างน้อย ปีละ  1 ครั้ง

                1.5  หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อร่างกาย  (ไม่สูบบุหรี่  ไม่ดื่มสุรา)

                1.6  อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีปราศจากมลพิษต่างๆ

2.  การวางแผนดูแลสุขภาพจิต

                2.1  อ่านหนังสือที่ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย 

                2.2  ปฏิบัติธรรมตามหลักธรรมคำสอนของศาสนา

                2.3  หมั่นนั่งสมาธิ เพื่อให้จิตใจผ่องใส

3.  การวางแผนพัฒนาสุขภาพด้านสังคม

                3.1  เข้าร่วมกิจกรรมตามวัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่นอยู่เสมอ

                3.2  เข้าร่วมเป็นสมาชิกของชมรมหรือสมาคมต่างๆ

4.  การวางแผนพาสุขภาพด้านปัญญา

4.1 ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาจากข่าวหรือสถานการณ์สำคัญของสังคมรวมทั้งผลกระทบที่ตามมาเพื่อฝึกการคิดและนำไปปรับไข้ในการแก้ปัญหาชีวิตของตนเองหรือของครอบครัว

4.2 หมั่นฝึกฝนทักษะการอ่าน การฟัง การพูด อยู่เสมอ เช่น อ่านหนังสือภาษาต่างประเทศอ่านหนังสือแปลฟังเพลงสากล ฝึกพูดภาษาต่างประเทศที่ตนสนใจ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ เสริมปัญญาให้กับตนเอง และเป็นประยชน์ในการประกบอาชีพในอนาคต

 4.3 ศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทันสมัย เพื่อให้มีความรู้ สามรถใช้เครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทันสมัยได้

กระบวนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว เป็นกระบวนการที่ต้องครอบคลุมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการฟื้นฟูสุขภาพซึ่งมีขั้นตอนดังนี้