การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ppt

การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ppt
Download

การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ppt

Skip this Video

Loading SlideShow in 5 Seconds..

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน PowerPoint Presentation

การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ppt
การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ppt

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน. กรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน. ความหมายของการจัดการอย่างยั่งยืน. การใช้ทรัพยากรในปริมาณที่ระบบนิเวศสามารถ ฟื้นตัวได้ / ไม่ใช้เกินความสามารถในการผลิตทดแทน.

Uploaded on Oct 26, 2014

การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ppt

Download Presentation

การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ppt

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - E N D - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

Presentation Transcript

  1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

  2. กรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากรกรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ความหมายของการจัดการอย่างยั่งยืน การใช้ทรัพยากรในปริมาณที่ระบบนิเวศสามารถ ฟื้นตัวได้ / ไม่ใช้เกินความสามารถในการผลิตทดแทน การปล่อยมลพิษต้องอยู่ในระดับที่ระบบนิเวศสามารถ ดูดซับและทำลายได้ 1

  3. กรอบแนวคิดการจัดการอย่างยั่งยืน ปรับปรุงกระบวนทัศนสำหรับผู้เกี่ยวข้อง ผู้บริหารประเทศ ต้องตระหนักว่า ทรัพยากรธรรมชาติเป็นทุน การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากร =เพิ่มทุนทางธรรมชาติ ประชาชน ต้องมีส่วนร่วมในการจัดการ การใช้อย่างประหยัด และรับภาระต้นทุนค่าใช้จ่ายการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

  4. ยึดหลักบริหารการจัดการเชิงนิเวศยึดหลักบริหารการจัดการเชิงนิเวศ การจัดการต้องหลากหลายตามวัตถุประสงค์ ทรัพยากรธรรมชาติ/ชีวภาพ : ใช้อย่างยั่งยืน คุ้มค่า หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ สิ่งแวดล้อมกายภาพ/มลพิษ : เน้นการป้องกัน มากกว่าแก้ไข สิ่งแวดล้อมทางมนุษย์และสังคม (ศิลปะ วัฒธรรม ประเพณี) : อนุรักษ์ให้คงอยู่ เปลี่ยนรูปแบบ “ การจัดการตามเขตปกครอง” เป็น “การจัดการภายใต้ระบบนิเวศ” เช่น ระบบลุ่มน้ำ เพื่อให้เกิดการบูรณาการ

  5. สภาวะแวดล้อมและสถานการณ์ปัจจุบันสภาวะแวดล้อมและสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากร และปัญหามลพิษ ปัญหาความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากร ปัญหาความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงและ ใช้ทรัพยากร ปัญหาการถูกคุกคามและแย่งชิงทรัพยากร จากภายนอกประเทศ 2 • ปัญหาด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมแบ่งเป็น 4 กลุ่ม

  6. ตัวอย่าง สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ 60 พื้นที่ป่า ลดลงจาก 171 ล้านไร่ (ร้อยละ 53.3) ในปี 2504 เหลือ 81 ล้านไร่ (ร้อยละ 25) ในปี 2541 50 40 อัตราการสูญเสียเฉลี่ย 367,244 ไร่/ปี ร้อยละของพื้นที่ป่าทั้งประเทศ 30 20 10 0 2504 2516 2519 2521 2525 2528 2531 2532 2534 2536 2538 2541 สภาพความเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ระหว่าง พ.ศ. 2504-2541 (1.) ทรัพยากรป่าไม้

  7. (2) ทรัพยากรน้ำ ความสามารถกักเก็บน้ำเพียงร้อยละ 27 ของปริมาณ น้ำท่ารายปี ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยต่อประชากรลดลงจาก 3,877 ลบ.ม. / คน ในปี 2538 เหลือ 3,488 ลบ.ม. / คน ในปี 2544 และ 3,191 ลบ.ม. / คน ในปี 2553 ความต้องการใช้น้ำเพิ่มขึ้น จาก 89,000 ล้าน ลบ.ม. ในปี 2539 เป็น 109,000 ล้าน ลบ.ม. ในปี 2549 การสูบน้ำบาดาลเกินศักยภาพก่อให้เกิดปัญหา แผ่นดินทรุด เฉลี่ย 1-3 ซม./ปี

  8. ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นปี 2544 - ปริมาณขยะในเขตเมืองสูงถึง 7.7 ล้านตัน แต่กำจัดได้ร้อยละ 60 45% (6.4 ล้านตัน) - ใน 10 ปี ข้างหน้าปริมาณขยะจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2 ต่อปี 31% 24% กทม. (3.4 ล้านตัน) - ในขณะที่องค์ประกอบของขยะยากต่อการกำจัด มากขึ้นและมีข้อจำกัดด้านสถานที่กำจัด และการ ต่อต้านของประชาชน (4.3 ล้านตัน) เทศบาล นอกเขตเทศบาล ขยะมูลฝอย

  9. สัดส่วนปริมาณมูลฝอยที่เก็บขนและกำจัดได้ในเขตพื้นที่ต่าง ๆ 99% ล้านตัน / ปี 70-85% 99% 20-30% 30-40% 5-10%

  10. ล้านตัน 13.5 13.6 13.9 14.1 13.8 6.1 6.1 6.2 6.1 6.0 2.2 1.6 2.0 1.5 1.8 ปริมาณการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยชุมชนระหว่างปี 2540 - 2544

  11. 2.4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ไม่มีประสิทธิภาพ เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ /เน้นการจัดการด้านอุปทานซึ่งไม่ทันต่อปัญหาที่เกิดขึ้น เน้นแก้ปัญหาเฉพาะหน้ามากกว่าการป้องกันปัญหาระยะยาว รัฐเป็นผู้บริหารจัดการหลักขาดการมีส่วนร่วมจาก ชุมชน/ ประชาชน

  12. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทน้อยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทน้อย กฎหมายล้าสมัย ไม่เข้มงวด บทลงโทษเบา ขาดกฎบังคับเฉพาะด้าน มีการแทรกแซง จากอิทธิพลทางการเมืองและอิทธิพลท้องถิ่น กลไกสนับสนุนมีข้อจำกัด เช่น เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ , EIA

  13. 2.5 สภาวะแวดล้อมจากภายนอกที่มีผลต่อการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ • กติกาสิ่งแวดล้อมโดยตรง - พันธกรณีและข้อตกลงระหว่างประเทศ เช่น UNCCC, Kyoto Protocol, Biodiversity Convention ฯลฯ • กติกาสิ่งแวดล้อมทางอ้อม - ข้ออ้างในการแทรกแซงทางการค้า เช่น WTO , WEEE ฯลฯ

  14. ภาคธุรกิจ • - มีการใช้ Environmentally Sound Technology ควบคู่กับ • ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มคุณภาพสินค้า • - ต้องวางแผนจัดการของเสียที่เกิดจากการผลิตสินค้า ภาคประชาชน • - เกิดการตื่นตัวด้านสิ่งแวดล้อม กดดันให้รัฐเปิดโอกาส • ให้มีบทบาทในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นมากขึ้น ภาครัฐ • - มีการกำหนดท่าทีและมาตรการเชิงรุกมากขึ้น • ผลกระทบด้านบวก

  15. ผลกระทบด้านลบ - เพิ่มภาระการลงทุนและการผลิตในภาคธุรกิจ - ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศลดลง - ประชาชนต้องบริโภคสินค้าราคาสูงขึ้น

  16. ประเด็นท้าทาย 3 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ที่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การสร้างองค์ความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของประเทศ การสร้างจริยธรรมด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนจากการจัดการด้านอุปทานสู่การจัดการด้านอุปสงค์

  17. ยุทธศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและยุทธศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4 กำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ทรัพยากรที่ชัดเจนในแต่ละเรื่อง สร้างจิตสำนึก จริยธรรม และจรรยาบรรณด้านสิ่งแวดล้อม ให้นักการเมือง ผู้ประกอบการ และประชาชน จัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นเงื่อนไขของ การลงทุน จัดสรรผลประโยชน์อย่างเป็นธรรมให้ประชาชนจากการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการแบบบูรณาการโดยยึดพื้นที่ 4.1 กลวิธี / แนวทางหลัก

  18. พลังทางสังคมและการบริหารจัดการที่ดีพลังทางสังคมและการบริหารจัดการที่ดี องค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและ/การรวมตัวเป็นเครือข่าย กฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสถานการณ์ องค์ความรู้ด้านบริหารจัดการและการเชื่อมโยงองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับเทคโนโลยีสู่การประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม 4.2 กลไกการขับเคลื่อน

  19. ยุทธศาสตร์การจัดการด้านอุปสงค์ยุทธศาสตร์การจัดการด้านอุปสงค์ ยุทธศาสตร์อนุรักษ์และคุ้มครองความหลากหลาย ทางชีวภาพ 4.3 ข้อเสนอแนะยุทธศาสตร์ - เพื่อลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและการก่อมลพิษ โดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ การผลิตที่สะอาด การปรับระบบการผลิตทางเกษตรฯลฯ - เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศและใช้เป็นจุดแข็ง เพื่อสร้างความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันให้กับประเทศ โดยเร่งกำหนดเขตอนุรักษ์ คุ้มครองสำหรับระบบนิเวศ ที่มีความสำคัญ อาทิ พื้นที่ชุ่มน้ำ ฯลฯ

  20. ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูและการใช้ประโยชน์ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูและการใช้ประโยชน์ อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมชุมชน - เพื่อบูรณะทรัพยากรที่เสื่อมโทรมให้คืนความสมบูรณ์ และให้มีการใช้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้ง แบ่งปัน ผลประโยชน์ที่ได้อย่างยุติธรรม - เพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทุนทางสังคม เช่น ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปํญญาท้องถิ่น

  21. ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ - เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติเอื้อต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีแนวทางสำคัญ คือ พัฒนากลไก / กระบวนการจัดการ เชิงบูรณาการระดับพื้นที่ที่เน้นการมีส่วนร่วม ปรับปรุง กฎหมาย และเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้ พัฒนา นวัตกรรมทาง เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่น กำหนด ท่าทีด้านการค้า และสิ่งแวดล้อมในเวทีโลก

  22. ดัชนีชี้วัด 5 เพื่อติดตามสภาพและความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน • ด้านสิ่งแวดล้อม - GEPเช่น คุณภาพน้ำ คุณภาพอากาศ ปริมาณของเสีย • ด้านเศรษฐกิจ - GDP เช่น สัดส่วนหนี้ / GDP การบริโภคพลังงาน/หัว สัดส่วนการลงทุน ใน R&D / GDP ฯลฯ • ด้านสังคม - HDI เช่น รายได้เฉลี่ยครัวเรือน สัดส่วนคนจน จำนวนผู้ป่วย ค่าใช้จ่าย ในการรักษาพยาบาล ฯลฯ

  23. สรุป 6 • การพัฒนาเศรษฐกิจต้องคำนึงถึงต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • ต้องพัฒนาทุนทางสังคมให้เกิดจิตสำนึก และความรับผิดชอบของทั้งตัวบุคคลและชุมชน ในการรักษาสิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า

  24. สรุป (ต่อ) 6 • ต้องพัฒนาดัชนีชี้วัดความยั่งยืน โดยประชาชนมีส่วนร่วมและยอมรับ • รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่องและเพียงพอ • หน่วยงานรับผิดชอบต้องสามารถประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนให้การพัฒนาเป็นไปอย่างสมดุล