มาตรฐาน ตัว ชี้ วัด คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม 2

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา  ค22101  คณิตศาสตร์                                                                                                  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2                                                    เวลา  60  ชั่วโมง/ภาคเรียน                                      จำนวน  1.5  หน่วยกิต

ศึกษา  ฝึกทักษะการคิดคำนวณ  การแก้ปัญหา  การให้เหตุผลโดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์  เสริมสร้างค่านิยมที่เหมาะสมในสาระต่อไปนี้

อัตราส่วนและร้อยละ  อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน สัดส่วน และร้อยละ  

การวัด  ความเป็นมาของการวัด การวัดความยาว การวัดพื้นที่ การวัดปริมาตรและน้ำหนัก การวัดเวลา

          แผนภูมิรูปวงกลม  การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม  การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม

          การแปลงทางเรขาคณิต  การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน

          ความเท่ากันทุกประการ  ความเท่ากันทุกประการของรูปเรขาคณิต ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีสัมพันธ์กันแบบ ด้าน มุม ด้าน รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีสัมพันธ์กันแบบ มุม ด้าน มุม และ รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีสัมพันธ์กันแบบ ด้าน ด้าน ด้าน

โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รู้จักใช้วิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์

          ใช้การวัดผลและประเมินผลด้วยวิธีการหลากหลาย  และประเมินตามสภาพจริง  ครอบคลุมทั้งเนื้อหา  ทักษะกระบวนการและคุณธรรม  จริยธรรม  ค่านิยม

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน  ค 1.1 :  ม.2/4

มาตรฐาน  ค 3.2 :  ม.2/1, 2/3, 2/4

มาตรฐาน  ค 4.2 :  ม.2/2

มาตรฐาน  ค 5.1 :  ม.2/1

มาตรฐาน  ค 6.1 :  ม.2/1, 2/2, 2/3, 2/4, 2/5, 2/6

รวม  12  ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์         

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2    ภาคเรียนที่ 2    คะแนนระหว่างภาค: ปลายภาค 70 :30

รายวิชาคณิตศาสตร์  รหัสวิชา  ค 22102      จำนวน 1.5 หน่วยกิต       60  ชั่วโมง/ภาคเรียน

ลำ

ดับที่

ชื่อ                      หน่วยการเรียนรู้

มาตรฐาน /ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ

สาระการเรียนรู้

ภาระงาน/ชิ้นงาน

เวลา(ช.ม.)

น้ำหนักคะแนน

1.

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

3.2 .2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา

6.1 (ม.2/1-6)

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก

ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับและ การนำไปใช้

ใบงาน/

แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ

14

15

2.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

1.1 .2/1เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้ำในรูปเศษส่วน               

.2/2 จำแนก จำนวนจริงที่กำหนดให้และยกตัวอย่าง จำนวน ตรรกยะ และจำนวนอตรรกยะ

.2/3 อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริง

1.2 .2/1 หารากที่สอง และรากที่สามของจำนวนเต็ม โดยการแยกตัว  ประกอบ และ    นำไปใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคำตอบ

.2/2 อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองและรากที่สามของ     จำนวนเต็ม  เศษส่วนและ ทศนิยม บอกความสัมพันธ์ของ การยกกำลังกับการหารากของจำนวนจริง

 จำนวนจริง คือ จำนวนที่สามารถเขียนแทนได้ด้วยจุดบนเส้นจำนวน ซึ่งเส้นจำนวนที่เราเรียกกันนั้นคือ เส้นจำนวนจริง นั่นเอง

จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนแทนได้ในรูปเศษส่วน ได้แก่ จำนวนที่ติดค่าราก สัญลักษณ์  และทศนิยมไม่ซ้ำ เช่น  ,  , , 4.323323332,….. เป็นต้น

เศษส่วนและทศนิยมซ้ำ

จำนวนตรรกยะ และจำนวน อตรรกยะ

รากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริง

การหารากที่สองและรากที่สามของจำนวนเต็มโดยการแยกตัวประกอบ และนำไปใช้

รากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริง

ใบกิจกรรม/

แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ

4

10

ลำ

ดับที่

ชื่อ                      หน่วยการเรียนรู้

มาตรฐาน /ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ

สาระการเรียนรู้

ภาระงาน/ชิ้นงาน

เวลา(ชั่วโมง)

น้ำหนักคะแนน

1.3 .2/1หาค่า ประมาณของรากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริงและนำไปใช้ในการแก้ปัญหา

พร้อมทั้งตระหนักถึง

ความสมเหตุสมผลของ

คำตอบ

1.4  .2/1บอกความเกี่ยวข้องของจำนวนจริงจำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ

6.1 .2/1-6

3.

การประยุกต์ของสมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียว

4.2 .2/1แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคำตอบ

6.1 .2/1-6

สมการ เป็นประโยคที่แสดงการเท่ากันของจำนวน โดยมีสัญลักษณ์ = บอกการเท่ากัน สมการอาจมีตัวแปรหรือไม่มีตัวแปรก็ได้ เช่น 3x+ 2 = 59  เป็นสมการที่มี x เป็นตัวแปร และ 8-11 = -3 เป็นสมการที่ไม่มีตัวแปร

การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ใบงาน/

แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ

12

15

4.

การวัด

2.1 .2/1เปรียบเทียบหน่วยความยาวหน่วยพื้นที่

ในระบบเดียวกันและต่างระบบและเลือกใช้หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม

.2/2 คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตรและน้ำหนักได้

อย่างใกล้เคียงและอธิบายวิธีการที่ใช้

ในการคาดคะเน

.2/3 ใช้การคาดคะเน เกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสม

2.2 .2/1 ใช้ความรู้

เกี่ยวกับ ความยาว     และพื้นที่แก้ปัญหา

ในสถานการณ์ต่าง ๆ  

6.1 .2/1-6

หน่วยการวัดความยาวที่นิยมใช้กันในประเทศไทย ได้แก่ หน่วยการวัดความยาวในระบบเมตริก ระบบอังกฤษ และมาตราไทย

การวัด   การวัดความยาว  พื้นที่  และการนำไปใช้

การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความยาวและพื้นที่ การคาดคะเนเวลา  ระยะทาง  พื้นที่ปริมาตร   และน้ำหนัก   และการนำไปใช้

ใบกิจกรรม/

แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ

14

15

ลำ

ดับที่

ชื่อ                      หน่วยการเรียนรู้

มาตรฐาน /ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ

สาระการเรียนรู้

ภาระงาน/ชิ้นงาน

เวลา(ช.ม.)

น้ำหนักคะแนน

การใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว และพื้นที่ ในการแก้ปัญหา

5.

ความน่าจะเป็น

5.2  .2/1 อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่กำหนดให้เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นแน่นอน เหตุการณ์ใดไม่เกิดขึ้นแน่นอน และเหตุการณ์ใดมีโอกาสเกิดขึ้นได้มากกว่ากัน

6.1 .2/1-6

การคาดคะเนเกี่ยวกับการเกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่างๆและโอกาสของเหตุการณ์

โอกาสของเหตุการณ์ 

ใบกิจกรรม/

แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ

12

15

รวมหน่วยทั้งหมด

58

50

สอบระหว่างภาค

1

20

สอบปลายภาค

1

30

รวมทั้งหมด

60

100