ค่าคลอดบุตรประกันสังคม 2565

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล

Show

|

27 มิ.ย. 2565 เวลา 5:41 น. 6.8k

ประกันสังคม แจ้งสิทธิ์ "คุณพ่อป้ายแดง"ที่เป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 ,มาตรา 39 สามารถรับสิทธิ์เบิกค่า"คลอดบุตร"ได้ เช็คเกณฑ์เงื่อนไขที่นี้

วันนี้ (27 มิ.ย. 65 ) สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก แจ้งสิทธิ์ "ผู้ประกันตนชาย"ที่เป็นคุณพ่อป้ายแดง สามารถรับสิทธิ์ "เบิกค่าคลอดบุตร" จากกองทุนประกันสังคมได้ ตามสิทธิ์ดังนี้ 

ค่าคลอดบุตร

  • เหมาจ่าย 15,000 บาท / ครั้ง 
  • ได้รับเงินสงเคราะห์บุตร 800 บาท 

ตั้งแต่แรกเกิด - 6 ปีบริบูรณ์ จำนวนคราวละไม่เกิน 3 คน

หลักเกณฑ์มีดังนี้

  • ภรรยามีบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย 
  • เป็นผู้ประกันตนม. 33 และ 39 เท่านั้น 
  • ผู้ประกันตนส่งเงินสมทบแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนภรรยาคลอดบุตร
  • ผู้ประกันตนส่งเงินสมทบแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายในระยะเวลา 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร

ค่าคลอดบุตรประกันสังคม 2565

คลิกอ่านเพิ่ม  :  มัดรวมสิทธิประโยชน์"ประกันสังคม" ที่ผู้ประกันตนต้องรู้

ในกรณีที่ทั้งพ่อและแม่เป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ จะสามารถเบิกได้แค่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเท่านั้นต่อบุตร 1 คน  
 

หากใช้สิทธิของแม่ที่เป็นผู้ประกันตน จะได้รับสิทธิเพิ่มในส่วนของเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายใน อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วัน โดยใช้สิทธิได้ 2 ครั้ง  

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประกันสังคมได้ที่ www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

ทั่วไป

27 มิ.ย. 2565 เวลา 9:29 น.34.5k

เช็กเลย พ่อต้องรู้! ม.33 ม.39 สิทธิประกันสังคม เบิกค่าคลอด 15,000 เงินสงเคราะห์บุตร 800 รายละเอียดและเงื่อนไขครบจบที่นี่

ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ที่เป็นคุณพ่อลูกอ่อน เช็กสิทธิประกันสังคม ซึ่งทาง สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน แจ้งให้ทราบเรื่องสิทธิของผู้ประกันตนสำหรับครอบครัวมือใหม่

ค่าคลอดบุตรก็ใช้สิทธิประกันสังคมได้
- เหมาจ่าย 15,000 บาท / ครั้ง 
 - ได้รับเงินสงเคราะห์บุตร 800 บาท 
ตั้งแต่แรกเกิด - 6 ปีบริบูรณ์ จำนวนคราวละไม่เกิน 3 คน

หลักเกณฑ์มีดังนี้
- ภรรยามีบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย 
- เป็นผู้ประกันตนม. 33 และ 39 เท่านั้น 
- ผู้ประกันตนส่งเงินสมทบแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน
ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนภรรยาคลอดบุตร
- ผู้ประกันตนส่งเงินสมทบแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน
ภายในระยะเวลา 36 เดือนก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร

ค่าคลอดบุตรประกันสังคม 2565

ในกรณีที่ทั้งพ่อและแม่เป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ จะสามารถเบิกได้แค่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเท่านั้นต่อบุตร 1 คน  
-หากใช้สิทธิของแม่ที่เป็นผู้ประกันตน จะได้รับสิทธิเพิ่มในส่วนของเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายใน อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วัน โดยใช้สิทธิได้ 2 ครั้ง  

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประกันสังคมได้ที่ www.sso.go.thหรือโทรสายด่วน 1506 

ผู้ประกันตนประกันสังคมสามารถเบิกค่าฝากครรภ์ ประกันสังคม 1,500 บาท พร้อมและค่าคลอดบุตร ประกันสังคม 15,000 บาท ได้ เช็คสิทธิประกันสังคม เบิกค่าฝากครรภ์ ประกันสังคม และเบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม

สำนักงานประกันสังคม เปิดเผยว่า ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม เรื่องหลักเกณฑ์และอัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนกรณีการฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ โดยปรับเพิ่มค่าฝากครรภ์ 5 ครั้ง รวมเป็นเงิน 1,500 บาท (เดิม 3 ครั้ง 1,000 บาท) ดังนี้

เบิกค่าฝากครรภ์ ประกันสังคม 2565 

  1. อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท
  2. อายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท
  3. อายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 28 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท
  4. อายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 32 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 200 บาท
  5. อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์ถึง 40 สัปดาห์ขึ้นไป จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 200 บาท

โดยสามารถเบิกค่าฝากครรภ์กับประกันสังคมได้ทั้งหมด 1,500 บาท 

เบิกค่าฝากครรภ์ ประกันสังคม ใช้เอกสารอะไรบ้าง 

  1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน สปส. 2-01 ผู้ประกันตนกรอกข้อความครบถ้วน พร้อมลงลายมือชื่อผู้ยื่นคำขอ
  2. บัตรประจำตัวประชาชน ( ฉบับจริง )
  3. สำเนาสูติบัตรบุตร 1 ชุด (กรณีคลอดบุตรแฝดให้แนบสำเนาสูติบัตรของคู่แฝดด้วย)
  4. สำหรับผู้ประกันตนชายให้แนบสำเนาทะเบียนสมรส กรณีไม่ได้จดทะเบียนสมรสให้แนบหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรส
  5. กรณีเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุลให้แนบสำเนาเอกสารใบเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุลด้วย จำนวน 1 ชุด
  6. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย์ของธนาคารหน้าแรกที่มีชื่อ–เลขที่บัญชี (กรณีขอรับเงินทางธนาคาร) มี 9 ธนาคาร ดังนี้
    • ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน)
    • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)
    • ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
    • ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)

เบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม

มีการปรับเพิ่มค่าคลอดบุตรเป็น 15,000 บาท (เดิม 13,000 บาท) ผู้ประกันตนสามารถเบิกค่าคลอดบุตรได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง โดยผู้ประกันตนไปคลอดบุตร ที่โรงพยาบาลใดก็ได้ สามารถเบิกค่าคลอดบุตรเหมาจ่ายจากสำนักงานประกันสังคมในอัตราใหม่จำนวน 15,000 บาท

เงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นเวลา 90 วัน ไม่เกิน 2 ครั้ง

เบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม สามี 

สำหรับผู้ประกันตนชายที่มีภริยาจดทะเบียนสมรสหรือหญิงซึ่งอยู่กินฉันสามีภริยาแต่มิได้จดทะเบียนสมรสจะได้รับเฉพาะเงินค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย จำนวน 15,000 บาท

เงื่อนไขเบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม 

  1. จ่ายงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนเดือนคลอดบุตร 
  2. จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายกรณีคลอดบุตรให้แก่ผู้ประกันตนในอัตรา 15,000 บาทต่อการคลอดบุตรหนึ่งครั้ง สำหรับผู้ประกันตนหญิงมีสิทธิรับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วันสำหรับการใช้สิทธิบุตรคนที่ 3 จะไม่ได้รับสิทธิเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วัน
  3. กรณีสามีและภรรยาเป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ให้ใช้สิทธิในการเบิกค่าคลอดบุตรฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่จำกัดจำนวนบุตร/ครั้ง 

เบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม ใช้เอกสารอะไรบ้าง 

  1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน สปส. 2-01 ผู้ประกันตนกรอกข้อความครบถ้วน พร้อมลงลายมือชื่อผู้ยื่นคำขอ
  2. สำเนาสูติบัตรบุตร 1 ชุด (กรณีคลอดบุตรแฝดให้แนบสำเนาสูติบัตรของคู่แฝดด้วย) 
  3. สำหรับผู้ประกันตนชายให้แนบสำเนาทะเบียนสมรส กรณีไม่ได้จดทะเบียนสมรสให้แนบหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรส
  4. สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ยื่นคำขอมีธนาคาร ดังนี้
    • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)             
    • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)             
    • ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)             
    • ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)             
    • ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)             
    • ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)             
    • ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)            
    • ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย                
    • ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) 

ทั้งนี้ ผู้ประกันตนสามารถใช้สิทธิได้แล้ว ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 นี้เป็นต้นไป ผู้ประกันตนมีข้อสงสัยสามารถติดต่อสอบถามได้ที่สายด่วนประกันสังคม 1506 ให้บริการทุกวันตลอด 24 ชั่วโมงดูรายละเอียดได้ที่ www.sso.go.th

ข้อมูล สำนักงานประกันสังคม 

--------------------

เกาะติดสถานการณ์โควิด-19  ทันความเคลื่อนไหว ได้ความรู้ที่ถูกต้อง ส่งตรงถึงมือคุณ
คลิกเลย!! >>> รู้ทันกันโควิด <<< หรือ กด *301*35# โทรออก

ทุกประเด็นร้อนข่าวสาร สาระ ทันเหตุการณ์ พูดคุยกันได้ 24 ชม.

คลิกเลย >>> TrueID Community <<<

เบิกค่าคลอดบุตรประกันสังคม 2565 กี่วันได้

ตอบ : กรณีเบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม หากได้รับการอนุมัติแล้ว เงินจะโอนเข้าบัญชีประมาณ 5-7 วันทำการ ไม่นับรวมวันหยุดราชการ (ไม่รวมระยะเวลาการยื่นเอกสารกับเจ้าหน้าที่)

เบิกค่าฝากครรภ์ ประกันสังคม 2565 ได้กี่บาท

อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท อายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท อายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 28 สัปดาห์ จ่ายในอัตราเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท

คลอดบุตรได้เงินอะไรบ้าง 2565

ถาม : เบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม ฝ่ายชาย 2565 มีเงื่อนไขยังไง ? ตอบ : สำนักงานประกันสังคม แจงสิทธิเบิกค่าคลอดบุตรของฝ่ายสามี กรณีภรรยาคลอดบุตร ซึ่งจะเหมาจ่าย ครั้งละ 15,000 บาท ได้รับเงินสงเคราะห์บุตร 800 บาท ตั้งแต่แรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์ จำนวนคราวละไม่เกิน 3 คน โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1. ภรรยามีบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย

เบิกค่าคลอดบุตรใช้เอกสารอะไรบ้าง 2565

เอกสารประกอบการเบิกค่าฝากครรภ์ ประกันสังคม 2565.
แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน สปส. 2-01 ผู้ประกันตนกรอกข้อความครบถ้วน พร้อมลงลายมือชื่อผู้ยื่นคำขอ.
บัตรประจำตัวประชาชน ( ฉบับจริง ).
สำเนาสูติบัตรบุตร 1 ชุด (กรณีคลอดบุตรแฝดให้แนบสำเนาสูติบัตรของคู่แฝดด้วย).