ชุดกิจกรรม เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ม. 2

ชุ ด ก ำ ร เ รี ย น รู้
เร่ือง แรงในชีวิตประจาวัน
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

จดั ทำโดย นางสาวอัยดา โนนทะภา
ผสู้ อน อาจารย์รุจิเรข บญุ กาพิมพ์
เป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชาการวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั รายภฏั ร้อยเอด็

คำนำ

ชุดกิจกรรม เรื่อง แรงในชีวิตประจำวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีท่ี 2 ชุดนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ มีเนื้อหาสาระสอดคลอ้ งกบั
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

ผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้สอน และผู้สนใจในการศึกษา
ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมใน เรื่อง แรงในชีวิตประจำวัน ให้กับตนเองหรือกลุ่มผู้เรียนอย่างมี
ประสิทธิภาพ

ผูจ้ ดั ทำ
อัยดา โนนทะภา

สารบญั หน้า

เรอ่ื ง 1
4
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 12
ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 แรงลัพธ์ 17
ชดุ กิจกรรมที่ 2 แรงเสียดทาน 23
ชดุ กิจกรรมที่ 3 ปจั จัยที่มีผลต่อขนาดของแรงเสยี ดทาน 29
ชุดกิจกรรมที่ 4 ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ ความดนั ของเหลว 34
ชดุ กิจกรรมที่ 5 แรงและความดันของเหลว 43
ชุดกจิ กรรมท่ี 6 แรงพยุงของของเหลว 51
ชดุ กิจกรรมท่ี 7 โมเมนตข์ องแรง 59
ชุดกิจกรรมที่ 8 แรงและสนามของแรง 62
แบบทดสอบหลงั เรียน 63
ภาคผนวก 66

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

แบบทดสอบก่อนเรยี น
ชุดกิจกรรมการเรียนร้เู รอ่ื งแรงในชวี ติ ประจำวนั

1. ถา้ ออกแรงเขน็ รถท้ังสองรูปน้ี ข้อใดกลา่ วไม่ 3. กลอ่ งใบหนงึ่ หนัก 5 กโิ ลกรมั เคล่อื นท่ีด้วยความเรว็
ถกู ต้อง เกี่ยวกับแรง
25 เมตรต่อวนิ าที ถา้ มีแรง F⃗
มากระทำดงั รปู ข้อใดเปน็ จริงมากที่สุด

ก. วตั ถจุ ะเคลอ่ื นท่ตี ามแนวแรงลพั ธเ์ สมอ ก. กลอ่ งจะเคลอ่ื นที่ไปทางทิศขวามือ ด้วย
ข. รูปที่ 1 แรงลัพธม์ ที ิศตรงข้ามกบั ความเร่งของ ความเร็วเพิม่ ขึ้น
วัตถุ ข. กลอ่ งจะเคลอื่ นท่ไี ปทางทิศขวามือ ด้วย
ค. รปู ท่ี 2 แรงลพั ธม์ ีทิศเดียวกบั ความเรง่ ของวตั ถุ ความเรว็ ลดลง
ง. เมือ่ ออกแรงกระทำกับวัตถุมากวัตถุจะมี ค. กล่องจะเคล่ือนท่ไี ปทางทิศซา้ ยมือ ดว้ ย
ความเร่งมาก เกดิ การเปลยี่ นแปลงความเรว็ ความเรว็ เพมิ่ ขึ้น
ง. กลอ่ งจะเคล่อื นที่ไปทางทศิ ซ้ายมือ ดว้ ย
2. ถ้าทีมสีเหลอื งแขง่ ชกั กะเย่อกับทีมสฟี ้าปรากฏ ความเรว็ ลดลง
วา่ ทั้งสองทีมออกแรงดงึ เชือกเท่ากัน ในทาง
วทิ ยาศาสตร์ เรยี กกวา่ แรงลัพธ์มคี ่าเป็นศูนย์หรือ 4. ฟุตบอลเปน็ กีฬาทผี่ เู้ ลน่ จะต้องพาลูกฟุตบอล
แรงสมดลุ จากเหตุการณน์ ท้ี ำใหแ้ รงลัพธม์ คี ่าเป็น เขา้ ไปยงั ประตูฝา่ ยตรงขา้ ม การเลน่ โดยทวั่ ไปผู้เลน่
ศูนย์หรอื แรงสมดลุ จะมีผลต่อการเคล่ือนที่ของ จะตอ้ ง ออกแรงเตะฟตุ บอลไปยังตำแหน่งท่ี
วตั ถุอย่างไร ต้องการและบ่อยครั้งทเี่ ตะลกู ฟตุ บอลเม่อื พื้น ลูก
ฟตุ บอลจะกระดอน ขน้ึ จากพื้น “กำรกระดอนของ
ลกู บอลท่ีเกิดขึน้ เกดิ จากแรงใด”

ก. วัตถจุ ะหยุดน่ิง ก. แรงโนม้ ถ่วง
ข. วตั ถุมีความเร่ง ข. แรงท่พี นื้ กระทำต่อลูกบอล
ค. วัตถุจะเคลอื่ นทีด่ ้วยความเร็วคงที่ ค. แรงจากนกั เตะกระทำตอ่ ลูกบอล
ง. วตั ถจุ ะเคล่อื นที่ด้วยความเร็วไม่คงท่ี ง. แรงท่ลี ูกบอลกระทำต่อพื้น

5. กำหนดให้ F⃗ 1 , F⃗ 2 และ F⃗ 3 มีขนาดและทิศทาง 8. เม่อื ดันกล่องใบหนึง่ กล่องไม่เคล่ือนทีเ่ ลยเพราะ
ดงั รูป ขอ้ ใดแสดงทิศทางของแรงลพั ธ์ ( Σ⃗F ) เหตุใด
⃗F1 + F⃗ 2 - ⃗F3 ก. กลอ่ งมนี ำ้ หนักมาก
ข. โต๊ะมแี รงเสยี ดทานมาก
ก. ข. ค. กลอ่ งมแี รงปฏิกิริยาโต้ตอบเท่ากบั แรงดัน
ง. ถูกทุกขอ้
ค. ง.
9. สถานการณใ์ ดตอ่ ไปนี้กล่าวถงึ แรงเสียดทาน
6. ขอ้ ใดเป็นการลดแรงเสียดทาน จลน์
ก. ลงข้ผี งึ้ บนพืน้ ห้อง ก. หนงั สือวางอยู่บนโต๊ะ
ข. ใชย้ างรถยนตท์ มี่ ีดอกยาง ข. เสาธงอยหู่ น้าอาคารเรียน
ค. เดินตามผิวถนนทีข่ รุขระ ข. บรรชยั เดนิ ลากกลอ่ ง
ง. ลากรถตามถนนลูกรัง ง. เสาไฟฟา้ อยูข่ ้างถนน
7. ข้อใดต่อไปน้เี ปน็ การเพิ่มแรงเสียดทาน
ก. ลงขี้ผึ้งบนผิวพน้ื ห้อง 10. สถานการณ์ใดต่อไปนี้กล่าวถงึ แรงเสยี ดทาน
ข. ใสน่ ำ้ มนั หลอ่ ลื่นในโซ่จกั รยาน สถติ
ค. ใชร้ องเท้าที่มีดอกยาง ก. ศริ ิพรวิ่งด้วยความเรว็ คงที่
ง. เทน้ำลงบนพ้ืนซีเมนต์ ข. จริ าพรนั่งน่ิงอยู่บนเกา้ อ้ี
ค. กชพรรณเตน้ รำ
ง. ประภสั สรเตน้ แอโรบิค

11. ข้อใดเปน็ ความหมายของความดันของ
ของเหลว
ก. แรงท่ขี องเหลวกระทำต้งั ฉากต่อหนึ่งหนว่ ยพนื้ ที่
โดยของเหลวจะมีแรงกระทำต่อวัตถุ ทุกทศิ ทุกทาง
ข. แรงทข่ี องเหลวกระทำต้ังฉากต่อหนงึ่ หน่วยพืน้ ที่
โดยของเหลวจะมีแรงกระทำตอ่ วัตถุ ทิศทาง
เดียวกัน
ค. แรงทข่ี องเหลวกระทำต่อวัตถุ โดยของเหลวจะ
มีแรงกระทำต่อวัตถุทุกทิศทุกทาง
ง. แรงทีข่ องเหลวกระทำตอ่ วัตถุ โดยของเหลวจะมี
แรงกระทำต่อวตั ถุทิศทางเดยี วกัน

12. ความลึกของระดับนำ้ ในข้อใดที่มแี รงดันน้ำ 17. ข้อใดไม่ใชป่ ัจจยั ที่เกีย่ วข้องกบั แรงพยุง
สงู สดุ ก. ชนดิ ของวัตถุ
ก. ผิวน้ำ ข. 5 เมตร ข. ขนาดของวตั ถุ
ค. 15 เมตร ง. 30 เมตร ค. ชนิดของของเหลว
ง. ปรมิ าตรของของเหลว
13. เพราะเหตุใดเรือดำน้ำจงึ ไมส่ ามารถดำลงไปลึก
มาก ๆ ได้ 18. วางวัตถชุ ้นิ หนงึ่ ลงในของเหลว 4 ชนดิ ไดผ้ ลดงั
ก. เพราะอากาศมีน้อย ภาพ จากภาพแรงพยุงของของเหลวชนิดใดเมือ่
ข. เพราะมีสัตว์ร้าย กระทำ ต่อวัตถุแลว้ มีคา่ มากท่ีสดุ
ค. เพราะแสงส่องไม่ถึง
ง. เพราะแรงดนั ของนำ้ มีค่ามาก ก. ของเหลว A ข. ของเหลว B
ค. ของเหลว C ง. ของเหลว D
14. แรงดนั น้ำสมั พนั ธ์กบั ความลกึ ของนำ้ อย่างไร
ก. ระดับนำ้ ลึก แรงดันน้ำนอ้ ย 19. เพราะเหตุใดเมื่อช่งั วัตถใุ นของเหลวจึงเบากว่า
ข. ระดบั น้ำลกึ แรงดนั น้ำมาก การช่ังวัตถุในอากาศ
ค. ระดบั น้ำตืน้ แรงดันน้ำมาก ก. วตั ถมุ นี ำ้ หนักมากเม่ืออยู่ในอากาศ
ง. ระดบั นำ้ ตืน้ แรงดันน้ำน้อย ข. วตั ถมุ ีแรงพยุง
ค. ของเหลวมนี ำ้ หนักมากกว่าวัตถุ
15. ข้อความใดกลา่ วถูกต้อง ง. ของเหลวมีแรงพยงุ
ก. แรงกระทำต่อวัตถใุ นทิศต้ังฉากเท่านั้น
ข. แรงดันไอน้ำจากนำ้ เดอื ดสามารถนำไปใช้ 20.จากรปู ข้อใดสรุปถูกต้อง
ประโยชนไ์ ด้ ก. วตั ถุมคี วามหนาแน่นมากกว่าของเหลว
ค. ของเหลวแตล่ ะชนดิ มีค่าความดันเท่ากัน ข. วัตถุมคี วามหนาแนน่ เท่ากับของเหลว
ง. ระดบั ความลกึ มาก ความดันของของเหลวน้อย ค. วัตถุมีความหนาแน่นน้อยกวา่ ของเหลว
ง. วตั ถุมคี วามหนาแนน่ มากกว่าหรอื น้อยกว่า
16. เมอื่ วัตถุมีความหนาแนน่ นอ้ ยกว่าของเหลว ของเหลวก็ได้
ผลจะเปน็ อยา่ งไร
ก. วัตถจุ ะลอยในของเหลว
ข. วตั ถุจะจมในของเหลว
ค. วัตถุจะลอยปร่มิ ในของเหลว
ง. วตั ถจุ ะลอยแลว้ ค่อย ๆ จมในของเหลว

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนตอ่ ไปน้ี
1. นกั เรยี นสามารถศึกษาเป็นรายบคุ คลตามระดบั ความสามารถและเปน็ รายกลุ่ม
ซึ่งควรมสี มาชกิ ประมาณกลมุ่ ละ 4-5 คนในแต่ละกลุ่ม (คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคำชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้
3. ทำแบบทดสอบก่อนเรียนเปน็ รายบคุ คล
4. ศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง แรงลัพธ์ ดว้ ยความต้ังใจ
5. ศึกษาใบกจิ กรรม
6. ปฏบิ ัตติ ามใบกจิ กรรม
7. ตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม

เวลาที่ใช้ 3 ชัว่ โมง

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้เู รื่องแรงในชวี ิตประจำวัน

คำช้แี จง
1. เขยี นชอื่ – สกุล เลขที่ ลงในกระดาษคำตอบให้เรยี บร้อย ถกู ตอ้ งและชัดเจน
2. แบบทดสอบมที งั้ หมด 4 หนา้ เปน็ แบบปรนัย 4 ตวั เลอื ก จำนวนท้ังสนิ้ 20 ขอ้ รวม 20 คะแนน
3. ให้เลอื กคำตอบทถี่ กู ตอ้ งท่ีสดุ เพยี งคำตอบเดียว จากตวั เลือก ก ข ค หรอื ง แต่ละขอ้ เม่ือเลอื กได้
แล้วให้ทำเคร่อื งหมาย (X) ลงในกระดาษคำตอบใหต้ รงกับขอ้ ที่ตอ้ งการ
4. หา้ มนกั เรียน ขีด เขียนทำเครอ่ื งหมายหรอื ข้อความใด ๆ ลงในแบบทดสอบ

1. แรงลพั ธ์
แรงลพั ธ์ (Net Force) หมายถึง ผลรวมของแรงทัง้ หมดที่กระทำตอ่ วัตถุ แรงขนาดเท่ากันท่ีกระทำต่อ
วัตถุชิ้นเดียวกันในทิศตรงกันข้าม เรียกว่า แรงสมดุล (Balance Force) เนื่องจากแรงหนึ่งสมดุล กับอีกแรง
หนึ่ง เมื่อมีแรงสมดุลมากระทำต่อวัตถุ วัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ กล่าวได้ว่าแรงลัพธ์มี ค่าเท่ากับ
ศนู ย์ หากแรงทัง้ หมดท่กี ระทำต่อวัตถุทำใหว้ ัตถเุ ร่ิมเคลื่อนทีเ่ ปลีย่ นทิศทางการเคลื่อนที่ เรียกวา่ แรงไม่สมดุล
(Unbalance Force)
การหาแรงลัพธ์สามารถศึกษาได้จาก รูปที่ 6 แสดงถึงการรวมกันของแรงโดยใช้ลูกศรแทนแรง หัว
ลูกศรแสดงทิศของแรง ความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรง เม่ือแรงสองแรงกระทำต่อวัตถุในทิศตรงข้าม
แรงทั้งสองก็ยังคงรวมกันได้ โดยต้องสนใจทิศ ของแรง การรวมแรงที่มีทิศตรงกันข้าม ก็เหมือนกับ การบวก
เลขจำนวนบวกกับเลขจำนวนลบ ดังนั้น การรวมกันของแรงสองแรงที่มีทิศตรงกันข้าม จึงเป็นการลบกัน ถ้า
แรงใดแรงหนง่ึ มีขนาดมากกวา่ อีกแรง หนึง่ ผลรวมของแรงจะมที ิศเดยี วกบั แรงทีม่ ีขนาดมากกว่า

2. การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์โดยกำรสรา้ งรูป
แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ จึงสามารถใช้วิธีการเขียนรูปแทนเวกเตอร์ของแรงได้ โดยให้ความยาวของ

เสน้ ตรงแทนขนาดของแรง และหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง สามารถแบ่งวธิ สี รา้ งรูปได้ 2 แบบ คือ การสร้าง
รูปสามเหลย่ี มและการสรา้ งรูปส่เี หลย่ี มดา้ นขนาน

2.1 การสร้างรูปสามเหล่ยี ม
การสร้างรปู สามเหลีย่ มหรือเรยี กวา่ การวาดรูปหางต่อหวั ทาไดโ้ ดยนำหางลูกศรของแรงหน่ึง (⃗⃗F1 ) ไป
ต่อกับหัวลูกศรของอีกแรงหนึ่ง ( F⃗ 2 ) สามารถหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ โดยการ ลากเส้นจากหาง
ลูกศรของแรงแรก ( F⃗ 1 ) ไปยังหัวลูกศรของแรงทส่ี อง ( ⃗F2 ) เชน่

2.2 การสรา้ งรปู สี่เหลี่ยมด้านขนาน
การสร้างรูปสีเ่ หล่ยี มดา้ นขนานหรือเรียกวา่ การวดั หางตอ่ หางทำไดโ้ ดยนำหางลกู ศรของ ( F⃗ 1 ) ตอ่ กับ
หางลูกศรของ ( F⃗ 2 ) (หรอื นำหางของ( ⃗F2 ) ตอ่ กับหางของ ( F⃗ 1 )) จากนัน้ สรา้ งรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน สามารถหา
ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ โดยการสร้างรูปสี่เหล่ียมด้านขนานขึ้น เส้นทแยงมุมของสี่เหลี่ยมด้านขนาย
คอื แรงลัพธ์ เช่น

จุดประสงค์
1. เขียนแผนภาพแสดงเวกเตอร์ของแรงที่กระทำต่อวัตถุโดยใชล้ กู ศร
2. เขยี นแผนภาพแสดงเวกเตอร์ของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุโดยใชก้ ารรวมเวกเตอร์แบบหาง

ต่อหวั
3. พยากรณ์การเคล่ือนที่ของวตั ถุทเ่ี ป็นผลของแรงลพั ธ์ท่เี กิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทำต่อ

วตั ถุ

วัสดุและอุปกรณ์
1. เคร่ืองชั่งสปรงิ
2. วงแหวนขนาดเลก็
3. เชอื กเสน้ เลก็
4. กระดาษ A4
5. กรรไกร

ตอนท่ี 1
วธิ กี ารดำเนินกจิ กรรม

1) ผูกเชือก 3 เส้นเขา้ กบั วงแหวน นำปลายเชือกแตล่ ะด้านเก่ยี วกับเครื่องชัง่ สปรงิ แลว้ วางบน
กระดาษ A4
2) ออกแรงดึงเคร่ืองชั่งสปริงในทิศทางต่าง ๆ จนทำให้วงแหวนอยู่นิ่ง บันทึกขนาดของแรง
และทิศทางของแรงโดยใช้ดนิ สอจดุ ตามแนวของเส้นเชือกแตล่ ะเสน้ บนกระดาษ A4
3) เขียนเวกเตอร์ของแรงโดยลากเส้นตรงต่อจุดตามแนวเส้นเชือกแต่ละเส้น ให้ความยาวของ
แต่ละเส้นเป็นสัดส่วนกับขนาดของแรงที่บันทึกไว้ แล้วกำกับทิศทางของแรงนั้น ๆ โดยใช้หัว
ลูกศร กำหนดใหล้ ูกศรแทนแรงท่ไี ด้แทนเวกเตอร์ของแรง ⃗⃗F1 F⃗ 2 และ ⃗F3 ตามลำดบั
4) นำเวกเตอร์ของแรง ⃗⃗F1 และ F⃗ 2 มารวมกันแบบหางต่อหัวโดยให้หางของเวกเตอร์ F⃗ 2 ต่อ
กบั หัวเวกเตอร์ ⃗⃗F1
5) เขียนลกู ศรจากหางเวกเตอร์ ⃗⃗F1 ไปยังหัวเวกเตอร์ F⃗ 2 วัดขนาดของลกู ศรและสงั เกตทิศทาง
ของลูกศรท่เี ขยี นขึน้ เทยี บกับเวกเตอร์ F⃗ 3
6) ทำขอ้ 2.5 ซำ้ อีก 2 คร้ัง โดยเปลยี่ นขนาดและทศิ ทางของแรงทด่ี งึ เคร่ืองชัง่ สปริง

คำถามทา้ ยกจิ กรรม

1. เมอ่ื ออกแรงกระทำต่อวงแหวนและวงแหวนอยนู่ ิ่ง แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวงแหวนมขี นาดเท่าใด ทราบได้
อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ลูกศรทล่ี ากจากหางเวกเตอร์ท่ี ⃗⃗F1 ไปยงั หวั เวกเตอรท์ ี่ F⃗ 2 มีขนาดและทศิ ทางเป็นอยา่ งไรเมอื่
เปรียบเทยี บกับเวกเตอร์ท่ี F⃗ 3
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ลูกศรท่ีลากจากหางเวกเตอร์ท่ี ⃗⃗F1 ไปยงั หวั เวกเตอรท์ ่ี ⃗F2 นา่ จะแทนปริมาณใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จากกจิ กรรมตอนท่ี 1 สรปุ ได้วา่ อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตอนที่ 2
วธิ กี ารดำเนินกจิ กรรม

1) ผกู เชือก 3 เส้นเข้ากับวงแหวนนำปลายเชอื กแต่ละด้านเกีย่ วกับเครื่องช่งั สปรงิ แล้ววางบนกระดาษ
A4

2) ออกแรงดงึ เคร่ืองชัง่ สปรงิ ในทศิ ทางต่างๆ จนทำให้วงแหวนอยนู่ ิ่ง บันทกึ ขนาดของแรงและทศิ ทาง
ของแรงบนกระดาษ A4

3) พยากรณ์ว่าถา้ ตัดเชอื กทีผ่ ูกกบั วงแหวนออก 1 เส้น วงแหวนจะเคลือ่ นท่ีในทิศทางใด โดยกำหนดให้
เส้นเชือกทถี่ ูกตัดเปน็ แรงของเวกเตอร์ที่ 3

4) ทำกจิ กรรมเพ่อื ตรวจสอบการพยากรณ์ สังเกตทศิ ทางการเคล่อื นท่ีของวงแหวน บันทกึ ผล
5) หาเวกเตอรล์ ัพธข์ องแรงที่ 1 และ 2 แบบหางต่อหวั วัดขนาดสงั เกตทิศทางของลูกศรเปรยี บเทียบกับ
ทศิ ทางการเคล่ือนท่ีของวงแหวน

คำถามทา้ ยกิจกรรม ตอนที่ 2

1. เม่อื ตัดเชือกท่เี กย่ี วกับวงแหวนออก 1 เส้น ทิศทางการเคลื่อนที่ของวงแหวนเหมือนหรือแตกต่างกบั ทศิ ทาง
ของแรงลพั ธ์ของ 2 แรงที่เหลอื อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จากกิจกรรมตอนท่ี 2 สรุปได้วา่ อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำช้ีแจง ให้นักเรยี นแตล่ ะคนปฏบิ ัตติ ามข้ันตอนตอ่ ไปน้ี
1. นักเรยี นสามารถศึกษาเป็นรายบคุ คลตามระดบั ความสามารถและเป็นรายกลุ่ม
ซึ่งควรมสี มาชิกประมาณกลุ่มละ 4-5 คนในแตล่ ะกล่มุ (คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคำชแี้ จงในการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
3. ศึกษาใบความรู้ เร่ือง แรงเสียดทาน ด้วยความตง้ั ใจ
4. ศึกษาใบกิจกรรม
5. ปฏิบัตติ ามใบกิจกรรม
6. บนั ทึกผลการทำกิจกรรมลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรม
7. ตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม

เวลาท่ีใช้ 2 ชวั่ โมง

ภาพจาก หนงั สือ Aksorn เมื่อออกแรงดงึ วตั ถแุ ลว้ วตั ถยุ ังไม่เคลือ่ นที่ แสดงวา่
ภาพจาก หนงั สอื Aksorn แรงลพั ธ์ที่ กระทำต่อวัตถเุ ปน็ ศูนย์ ดงั นั้นค่าท่ีอ่านได้จาก
ภาพจาก หนงั สือ Aksorn เคร่ืองชั่งสปรงิ ซง่ึ เทา่ กบั แรงทด่ี งึ วัตถุ จะมีคา่ เท่ากบั แรงเสียด
ทานที่ต้านการเคลื่อนที่ เรียก แรงเสยี ดทานที่เกดิ ขนึ้ ขณะที่
ภาพจาก หนงั สอื Aksorn วัตถุไมเ่ คลื่อนทว่ี า่ แรงเสียดทานสถติ (ดงั ภาพ ก)

เมอื่ ออกแรงดงึ วตั ถุให้มากขนึ้ แตว่ ัตถยุ งั ไมเ่ คลื่อนที่
แรงเสยี ดทาน สถิตจะมีค่าเพ่ิมข้นึ ดว้ ยและยงั คงมีขนาดเท่ากบั
แรงที่ดึงวัตถุ (ดงั ภาพ ข)

เมอ่ื ออกแรงให้มากขึน้ อีกจนวัตถเุ รม่ิ จะเคล่ือนที่ แรง
เสยี ดทาน สถติ จะมีคา่ สูงสดุ เรียกวา่ แรงเสียดทานสถติ สงู สุด
(ดังภาพ ค)

เม่อื วัตถเุ คลอื่ นที่ แรงเสียดทานจะมคี า่ ลดลง เรียก
แรงเสยี ดทาน ช่วงที่วตั ถเุ คลื่อนท่วี า่ แรงเสียดทานจลน์ เม่ือ
วัตถเุ คลอื่ นท่ีด้วยความเรว็ คงทีแ่ รงลัพธจ์ ะเป็นศูนย์ ดงั น้นั แรง
เสยี ดทานจะมีค่าเท่ากับแรงที่ดงึ วตั ถุ สำหรับวตั ถหุ นึ่ง ๆ ขณะ
เคล่อื นท่ีไปบนพืน้ ผิวสมั ผสั แรงเสยี ดทานจลนจ์ ะมีค่าคงที่ ไม่
วา่ วัตถุจะ เคลอื่ นทด่ี ว้ ยความเรว็ คงทห่ี รือไม่คงท่ี ซึง่ ตา่ งจาก
แรงเสยี ดทานสถติ ที่มคี า่ ไดต้ ั้งแตศ่ ูนยจ์ นถึงแรงเสยี ดทานสถิต
สูงสดุ (ดังภาพ ง)

จดุ ประสงค์
1. อธิบายความหมายแรงเสยี ดทานสถิตและเสียดทานจลน์ได้ (K)
2. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงอื่นๆที่กระทำต่อวตั ถุ (P)
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานที่ได้รบั มอบหมาย (A)

วสั ดแุ ละอุปกรณ์
1. เครอ่ื งชงั่ สปริง
2. ถงุ ทรายขนาด 500 กรัม
3. แผ่นไม้

วธิ ีการดำเนินกิจกรรม
1. นำถงุ ทราย 2 ถุง วางบนแผ่นไม้ ค่อย ๆ ดึงแผ่นไม้ในแนวระดบั ดว้ ยเครือ่ งช่ังสปริง สงั เกตการ

เคล่ือนที่ของแผน่ ไม้ เมอ่ื คา่ ของแรงจากเครื่องชั่งสปรงิ เพิม่ ขึ้นทุก ๆ 1 นิวตัน บันทึกผล จนแผน่ ไม้เร่ิมจะ
เคลื่อนที่

2. ทำซำ้ โดยดึงแผน่ ไมใ้ นแนวระดบั ด้วยเคร่ืองชัง่ สปริงจนแผน่ ไมเ้ ริ่มเคล่ือนท่ี บนั ทึกค่าของแรง
3. ทำซำ้ อีกครั้งโดยดงึ แผ่นไม้ใหเ้ คลื่อนท่ีด้วยความเรว็ คงท่ี บันทกึ คา่ ของแรง
4. เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีดงึ แผน่ ไม้และแรงเสียดทานที่กระทำต่อแผน่ ไม้ขณะทแ่ี ผน่ ไม้ยงั ไม่
เคล่ือนท่ี ขณะที่แผ่นไม้เริม่ จะเคล่อื นท่ี และขณะท่ีแผน่ ไมเ้ คล่อื นทด่ี ้วยความเรว็ คงท่ี

แบบบันทกึ กจิ กรรมท่ี 2

สมาชิกในกลมุ่ 1)............................................................ 2)..........................................................

3)............................................................ 4)..........................................................

5)............................................................

บนั ทึกผลการทำกิจกรรม

การทดลอง แรงจากเครอื่ งชัง่ สปริง (นิวตัน)
แผน่ ไมเ้ ริ่มจะเคล่ือนที่
แผ่นไม้เรมิ่ เคลอ่ื นท่ี
แผน่ ไม้เคล่ือนทดี่ ้วยความเรว็ คงท่ี

สรุปผลการทำกิจกรรม

............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
........................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................................... ..................................................................
............................................................................................................................. .........................................
................................................................................................................................................... ...................

คำถามทา้ ยกิจกรรม

1. ช่วงที่ออกแรงดึงแผน่ ไมแ้ ล้วแผน่ ไม้ยังไมเ่ คลื่อนท่ี มแี รงเสียดทานหรือไม่ ทราบได้อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………............................................
2. ขณะที่แผ่นไมย้ ังไม่เคล่อื นที่ เมอื่ ออกแรงดึงเพ่ิมข้ึน ค่าของแรงเสยี ดทานเปน็ อย่างไร ทราบได้อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ค่าของแรงเสยี ดทานขณะที่แผน่ ไมเ้ ริ่มจะเคลื่อนทเี่ ปน็ อยา่ งไรเม่ือเทียบกับขณะทแ่ี ผ่นไม้ยังไม่เคล่ือนท่ี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. คา่ ของแรงเสยี ดทานขณะท่ีแผ่นไม้เคลือ่ นทดี่ ว้ ยความเร็วคงทีเ่ ปน็ อยา่ งไรเทียบกบั ขณะทแ่ี ผน่ ไม้เริ่มจะ
เคลื่อนที่
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. จากการเขยี นแผนภาพ ขนาดและทิศทางของแรงเสยี ดทานเปน็ อยา่ งไรเมื่อเทียบกบั แรงทดี่ งึ แผ่นไม้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนปฏบิ ัติตามขั้นตอนตอ่ ไปนี้
1. นักเรียนสามารถศึกษาเป็นรายบคุ คลตามระดบั ความสามารถและเปน็ รายกล่มุ
ซึ่งควรมีสมาชิกประมาณกลมุ่ ละ 4-5 คนในแต่ละกลุ่ม (คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคำชแ้ี จงในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
3. ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ปัจจัยทม่ี ีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน ดว้ ยความตัง้ ใจ
4. ศกึ ษาใบกจิ กรรม
5. ปฏิบตั ิตามใบกิจกรรม
6. บันทึกผลการทำกจิ กรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม

เวลาที่ใช้ 1 ชั่วโมง

ใบความรู้ ชดุ กจิ กรรมท่ี 3
เรอื่ ง ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ ขนาดของแรงเสียดทาน
ปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานระหวา่ งผวิ สมั ผัสจะมคี ่ามากหรือน้อยข้นึ อยู่กับ
1.แรงกดตงั้ ฉากกับผิวสมั ผสั ถ้าแรงกดตวั ฉากกับผวิ สมั ผสั มากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถ้า
แรงกดตง้ั ฉากกับผวิ สัมผัสน้อยจะเกิดแรงเสียดทานน้อย ดังรปู

ภาพจาก https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/0b715/_3.html

2. ลกั ษณะของผิวสมั ผัส ถ้าผวิ สมั ผสั หยาบขรุขระจะเกิดแรงเสียดทานมากดังรูป ก สว่ น
ผวิ สมั ผัสเรยี บลน่ื จะเกดิ แรงเสียดทานนอ้ ยดังรูป ข

ภาพจาก https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/0b715/_3.html

3. ชนิดของผิวสัมผัส เชน่ คอนกรตี กบั เหลก็ เหล็กกบั ไม้ จะเห็นว่าผิวสมั ผสั แตล่ ะคู่ มีความ
หยาบ ขรุขระ หรือเรียบลืน่ เป็นมนั แตกต่างกนั ทำให้เกิดแรงเสยี ดทานไม่เท่ากัน

ใบกจิ กรรมที่ 3

จุดประสงค์
1. บอกปจั จยั ท่ีมีผลต่อขนาดของแรงเสียดทานได้ (K)
2. ออกแบบและทดลองในการอธบิ ายปัจจัยที่มผี ลตอ่ ขนาดของแรงเสียดทานได้ (P)
3. มคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ ับมอบหมาย (A)

วสั ดแุ ละอุปกรณ์
1. เครอ่ื งชง่ั สปริง
2. ถงุ ทราย
3. แผน่ ไม้
4. ถงุ พลาสตกิ
5. กระดาษทราย
6. แผน่ โฟม

วิธีการดำเนนิ กจิ กรรม
1. เลอื กศกึ ษาปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ ขนาดของแรงเสยี ดทาน พร้อมต้งั สมมตฐิ าน
2. ระบุตวั แปรต้น ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคุม
3. ออกแบบการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน โดยการวาดภาพ
4. ทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน บันทกึ ผล
5. นำเสนอผลการทดลองและอภิปรายร่วมกนั

แบบบันทกึ กิจกรรมท่ี 3

สมาชิกในกลุ่ม 1)............................................................ 2)..........................................................
3)............................................................ 4)..........................................................
5)............................................................

สมมติฐาน
............................................................................................................................. .............................................
................................................................................................................................ ..........................................
.........................................................................................................................................................................
ตวั แปรต้น.................................................................................................................... .....................................
ตวั แปรตาม............................................................................................................................... ........................
ตวั แปรควบคุม..................................................................................................................................................
ออกแบบการทดลอง (วาดภาพ)

การทดลอง

การทดลอง แรงจากเครอื่ งชง่ั สปริง (นิวตัน)

สรุปผลการทดลอง
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนแต่ละคนปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนตอ่ ไปน้ี
1. นักเรียนสามารถศึกษาเปน็ รายบุคคลตามระดับความสามารถและเป็นรายกล่มุ
ซึ่งควรมีสมาชิกประมาณกลุ่มละ 4-5 คนในแต่ละกลมุ่ (คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคำชี้แจงในการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้
3. ศึกษาใบความรู้ เร่อื ง ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ ความดนั ของของเหลว ดว้ ยความตั้งใจ
4. ศกึ ษาใบกจิ กรรม
5. ปฏิบตั ติ ามใบกจิ กรรม
6. บันทึกผลการทำกจิ กรรมลงในแบบบันทึกกจิ กรรม

เวลาที่ใช้ 2 ชั่วโมง

ใบความรู้ ชุดกิจกรรมท่ี 4
เรือ่ ง ปัจจัยทม่ี ีผลต่อแรงดนั ของของเหลว
ปจั จัยที่มผี ลต่อความดนั ของของเหลว
- ของเหลวไมว่ า่ จะอยูใ่ นภาชนะรูปร่างใดก็ตาม ถ้าที่ระดบั ความลกึ เดยี วกนั ความดนั ของของเหลว
จะเท่ากนั ที่ระดับความลึกเดียวกนั น้ำจะมคี วามดันเท่ากนั

- ของเหลวทีม่ รี ะดับความลึกตา่ งกัน ของเหลวที่อยู่ระดบั ลึกกวา่ จะมีความดนั มากกวา่

ของเหลวตา่ งชนิดกนั จะมีความดันตา่ งกัน โดยของเหลวที่มีความหนาแนน่ มาก
จะมีความดนั สูงกว่าของเหลวที่มคี วามหนาแนน่ น้อย

ของเหลวชนดิ ต่างๆ เช่น น้ำมัน น้ำเกลอื นำ้ เช่ือม นมสด เป็นตน้ มีความดัน
เช่นเดียวกนั กบั ที่อากาศมคี วามดนั ของเหลวแตล่ ะชนิดมคี า่ ความดนั ไมเ่ ทา่ กัน

ใบกจิ กรรมที่ 4

จุดประสงค์
1. บอกปจั จยั ทีม่ ีผลต่อขนาดของแรงเสยี ดทานได้ (K)
2. ออกแบบและทดลองในการอธิบายปจั จยั ที่มผี ลตอ่ ขนาดของแรงเสียดทานได้ (P)
3. มคี วามรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับมอบหมาย (A)

วัสดแุ ละอุปกรณ์

1. ขวดน้ำพลาสตกิ 5. แก้วใส่นำ้

2. เทปใส 6. กรวย

3. ตะปู 7. กะละมัง

4. ของเหลวชนดิ ตา่ งๆ เชน่ น้ำ นำ้ เกลือ น้ำมันพืช

วธิ ีดำเนินกิจกรรม
1. รว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกบั ปัจจยั ทมี่ ผี ลต่อความดันของของเหลว
2. เลือกศกึ ษาปัจจยั ที่มีผลต่อความดันของของเหลว พร้อมตงั้ คำถามและสมมตฐิ าน
3. ระบุตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคุม
4. ออกแบบการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน
5. ทำการทดลอง บนั ทึกผล
6. นำเสนอผลการทดลองและอภิปรายรว่ มกนั

แบบบันทกึ กจิ กรรมที่ 4

สมาชกิ ในกล่มุ 1)............................................................ 2)..........................................................
3)............................................................ 4)..........................................................
5)............................................................

สมมติฐาน
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. ............................................
ตัวแปรตน้ .........................................................................................................................................................
ตัวแปรตาม.................................................................................................................... ...................................
ตัวแปรควบคุม................................................................................................................. .................................
ออกแบบการทดลอง (วาดภาพ)

การทดลอง ผลการทดลอง
การทดลอง ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………...
……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………
……………………………………………………………………... ……………………………………………………………………...
………………………………………………………………………
……………………………………………………………………...

สรปุ ผลการทดลอง
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. .............................................
.........................................................................................................................................................................

คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนตอ่ ไปน้ี
1. นักเรียนสามารถศึกษาเป็นรายบคุ คลตามระดบั ความสามารถและเป็นรายกลุ่ม
ซึ่งควรมีสมาชกิ ประมาณกล่มุ ละ 4-5 คนในแต่ละกล่มุ (คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคำชี้แจงในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
3. ศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง แรงและความดนั ของของเหลว ด้วยความตง้ั ใจ
4. ศกึ ษาใบกจิ กรรม
5. ปฏิบตั ิตามใบกจิ กรรม
6. บันทึกผลการทำกจิ กรรมลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรม

เวลาที่ใช้ 1 ชั่วโมง

ใบความรู้ ชุดกจิ กรรมที่ 5
เรอ่ื ง แรงและความดนั ของของเหลว

เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลวจะมีแรงที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุในทุกทิศทาง แรงนี้จะกระทำต่อวัตถุโดยมี
ทศิ ทางต้งั ฉากกับผิววตั ถุ วตั ถทุ ม่ี พี นื้ ทผี่ วิ แตกตา่ งกนั ก็จะไดร้ ับแรงจากของเหลวมากน้อยตา่ งกนั ไปถ้าพิจารณา
ขนาดของแรงท่ีของเหลวกระทาต่อพ้ืนที่หนึ่งหนว่ ย จะเรยี กปริมาณนีว้ ่า ความดนั ของของเหลว

ความดันของของเหลวมีลักษณะคล้ายกับความดันอากาศ คือ เกิดจากน้ำหนักของของเหลวที่มีอยู่
เหนือตำแหน่งนั้น ๆ กดทับลงมา ยิ่งในระดับที่ลึกมากขึ้น ของเหลวที่อยู่เหนือตำแหน่งนั้นก็จะมีมากขึ้นทำให้
น้ำหนกั ของของเหลวมมี ากขึ้น

ใบกจิ กรรมท่ี 5

จดุ ประสงค์
1. อธิบายความหมายของแรงและความดนั ของเหลวได้ (K)
2. ระบุทศิ ทางของแรงที่น้ำกระทำต่อวตั ถุได้ (P)
3. มคี วามรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับมอบหมาย (A)

วสั ดุและอุปกรณ์
1. ภาชนะใส่นำ้
2. ถงุ พลาสตกิ

วธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรม
1. นำถุงพลาสติกสวมมือให้เลยขอ้ มือขนึ้ มา สังเกตลักษณะของถงุ พลาสติกทีห่ มุ้ มอื บันทึกผล
2. จุม่ มือทสี่ วมถุงพลาสติกลงในภาชนะบรรจนุ ้ำใหม้ ือจมลงไปจนถึงข้อมือ สังเกตลักษณะของ

ถุงพลาสติกท่หี ้มุ มอื บนั ทึกผล

แบบบนั ทกึ กจิ กรรมท่ี 5

สมาชกิ ในกลุ่ม 1)............................................................ 2)..........................................................
3)............................................................ 4)..........................................................
5)............................................................

บนั ทกึ ผลการทดลอง

การสงั เกต ผลการสังเกต

............................................................................................. ..............................................................................................
............................................................................................. ..............................................................................................
............................................................................................. ..............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. ..............................................................................................
............................................................................................. ..............................................................................................
............................................................................................. ..............................................................................................
............................................................................................. ..............................................................................................

สรุปผลการทดลอง

.................................................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... ......................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.................................................................................. ...........................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.................................................................................. ...........................................................................................

คำช้ีแจง ให้นักเรยี นแต่ละคนปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปน้ี
1. นักเรยี นสามารถศึกษาเปน็ รายบุคคลตามระดบั ความสามารถและเป็นรายกลุ่ม
ซึ่งควรมสี มาชกิ ประมาณกลมุ่ ละ 4-5 คนในแต่ละกลมุ่ (คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคำชแี้ จงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้
3. ศึกษาใบความรู้ เรอื่ ง แรงพยุงของของเหลว ด้วยความตง้ั ใจ
4. ศึกษาใบกิจกรรม
5. ปฏิบัตติ ามใบกิจกรรม
6. บนั ทึกผลการทำกจิ กรรมลงในแบบบันทึกกจิ กรรม
7. ตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม

เวลาท่ีใช้ 2 ชวั่ โมง

ใบความรู้ ชุดกิจกรรมท่ี 6
เรือ่ ง แรงพยุงของของเหลว
แรงลอยตัวคือแรงทชี่ ่วยพยุงวัตถไุ ม่ให้จมลงไปในของเหลว โดยมีขนาดขึ้นอยกู่ ับ ความหนาแน่นของ
ของเหลวนัน้ และปริมาตรของวัตถุสว่ นท่จี มลงไปในของเหลว
ปจั จัยท่เี กยี่ วข้องกบั แรงลอยตัว ไดแ้ ก่
1. ชนิดของวตั ถุ
วัตถจุ ะมีความหนาแนน่ แตกต่างกนั ออกไปย่งิ วตั ถุมีความหนาแน่นมาก ก็ย่ิงจมลงไป
ในของเหลวมากยง่ิ ข้ึน

2. ชนิดของของเหลว
ย่ิงของเหลวมีความหนาแนน่ มาก กจ็ ะทำให้แรงลอยตัวมีขนาดมากขน้ึ ด้วย

3. ขนาดของวตั ถุ
จะสง่ ผลตอ่ ปรมิ าตรทจี่ มลงไปในของเหลว เมื่อปรมิ าตรทจี่ มลงไปในของเหลวมาก ก็

จะทำใหแ้ รงลอยตัวมีขนาดมากข้ึนอีกด้วย

ใบกจิ กรรมท่ี 3

จุดประสงค์
1. อธิบายแรงพยุงของของเหลวทก่ี ระทำต่อวัตถุได้ (K)
2. ทดลองเก่ยี วกับปจั จยั ทีม่ ผี ลต่อขนาดของแรงพยุงได้ (P)
3. มีความรบั ผิดชอบต่องานท่ีได้รับมอบหมาย (A)

วัสดุและอุปกรณ์ 5. นำ้
1. เคร่อื งชั่งสปริง 6. เกลอื ปน่
2. ดนิ น้ำมัน 7. แท่งแก้วคน
3. เชอื ก
4. ภาชนะใส่น้ำก้นลึก

วิธกี ารดำเนนิ กจิ กรรม ตอนที่ 1
1. ปั้นดินน้ำมันเป็นรปู ทรงสีเ่ หล่ียมหรอื ทรงกระบอก ผกู เชือกสำหรบั เกี่ยวเครื่องช่งั สปริง
2. ชงั่ ดินน้ำมนั ด้วยเคร่ืองชง่ั สปริง สงั เกตค่าทีอ่ ่านไดจ้ ากเคร่ืองช่งั สปริง บนั ทกึ ผล
3. ช่งั ดินนำ้ มันในน้ำดว้ ยเครือ่ งชั่งสปรงิ โดยใหจ้ มลกึ ลงไป ¼ ¾ ของแท่งดินนำ้ มนั และจมลงไปท้งั

ก้อน ตามลำดบั บนั ทึกคา่ ของแรงที่อา่ นไดจ้ ากเคร่ืองชง่ั สปรงิ และแรงพยุง
4 ช่ังดินน้ำมนั ในนำ้ เมื่อดินน้ำมนั จมในนำ้ ท้ังก้อน แลว้ ให้จมลง

แบบบนั ทึกกจิ กรรมที่ 6

ตอนที่ 1 2)..........................................................
4)..........................................................
สมาชกิ ในกล่มุ 1)............................................................
3)............................................................
5)............................................................

บนั ทึกผลการทดลอง

การทดลอง ผลการทดลอง
ชง่ั ดินน้ำมันดว้ ยเครื่องชง่ั สปรงิ
ช่ังดนิ นำ้ มันในนำ้ ดว้ ยเคร่ืองช่ังสปริง

1. เมอื่ ดนิ นำ้ มนั จมลึกลงไปมากขึ้น ๆ จนกระทั่งจมมดิ ทั้งก้อน คา่ ของแรงพยงุ ของของเหลวเป็นอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. คา่ ของแรงพยุงของของเหลวมีความสมั พนั ธ์กับปริมาตรของดนิ น้ำมันสว่ นทจ่ี มอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. คา่ ของแรงพยุงของของเหลวเม่ือดินน้ำมันจมทงั้ ก้อนที่ระดับความลึกตา่ ง ๆ เท่ากันหรอื ไม่ ทำไมจงึ เป็น
เช่นนั้น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จากกิจกรรมตอนที่ 1 สรปุ ไดว้ า่ อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

วิธีการดำเนนิ กิจกรรม ตอนที่ 2

1. ช่งั ดินนำ้ มันด้วยเครอื่ งชัง่ สปริง อ่านค่าของแรงจากเครอื่ งชง่ั สปรงิ บันทกึ ผล
2. ชง่ั ดินน้ำมันในนำ้ ดว้ ยเคร่อื งช่ังสปรงิ โดยใหด้ นิ นำ้ มันจมท้ังก้อน อ่านค่าของแรงจากเคร่ืองช่ังสปริง
หาค่าแรงพยุงของน้ำ บนั ทึกผล
3. คาดคะเนคา่ ของแรงท่ีอา่ นไดจ้ ากเคร่อื งชั่งสปริง เปรียบเทียบกบั ค่าของแรงท่ีอ่านได้ในข้อ 1 เม่ือ
เตมิ เกลอื ลงไปในน้ำ
4. เติมเกลอื ลงไปในนำ้ ด้วยอัตราสว่ น เกลอื 80 กรัม ต่อน้ำ 1 ลติ ร คนให้เกลือละลายจนหมด จากนน้ั
ช่งั ดินนำ้ มันทจ่ี ม่ ในน้ำเกลอื ทั้งก้อนด้วยเครื่องชัง่ สปรงิ อา่ นค่าจากเครอื่ งช่งั สปริง หาค่าแรงพยงุ ของน้ำเกลอื
บันทึกผล
5. คาดคะเนคา่ ของแรงที่อา่ นได้จากเครื่องช่งั สปรงิ ถา้ เตมิ เกลอื ลงไปอีกเทา่ ตวั เปรียบเทียบกับคา่ ของ
แรงทอ่ี า่ นไดใ้ นข้อ 3
6. เตมิ เกลอื ลงไปในน้ำอกี เทา่ ตัว คนใหเ้ กลือละลายจนหมด ซ่งึ วตั ถุทจี่ ุม่ ในนำ้ เกลอื ท้ังก้อนดว้ ยเคร่ือง
ช่ังสปรงิ อ่านคา่ ของแรงจากเคร่ืองชั่งสปรงิ หาค่าแรงพยุงของนำ้ เกลอื บันทึกผล

แบบบันทกึ กิจกรรมท่ี 6 ตอนท่ี 2

สมาชกิ ในกลมุ่ 1)............................................................ 2)..........................................................
3)............................................................ 4)..........................................................
5)............................................................

บนั ทึกผลการทดลอง

การทดลอง ผลการทดลอง
ขอ้ ที่

1
2

3
4
5
6

คำถามทา้ ยกจิ กรรม ตอนท่ี 2

1. เมอื่ ชง่ั ดนิ นำ้ มนั ในน้ำและในน้ำเกลือ ขนาดของแรงพยงุ ของของเหลวเหมือนหรือต่างกนั อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เมอื่ เติมเกลือลงไปในน้ำเกลืออีก ความหนาแน่นของน้ำเกลือจะเปล่ยี นแปลงหรอื ไม่ อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เมือ่ เตมิ เกลอื ลงไปในน้ำเกลอื อกี ขนาดของแรงพยงุ ของของเหลวจะเปล่ยี นแปลงหรือไม่ อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จากกจิ กรรมตอนท่ี 2 สรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คำช้ีแจง ให้นักเรยี นแตล่ ะคนปฏิบัติตามขน้ั ตอนต่อไปน้ี
1. นักเรยี นสามารถศึกษาเปน็ รายบุคคลตามระดับความสามารถและเปน็ รายกลมุ่
ซึ่งควรมสี มาชกิ ประมาณกลุ่มละ 4-5 คนในแตล่ ะกลุ่ม (คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคำชแี้ จงในการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
3. ศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง โมเมนต์ของแรง ด้วยความตัง้ ใจ
4. ศึกษาใบกิจกรรม
5. ปฏิบัตติ ามใบกิจกรรม
6. บนั ทึกผลการทำกจิ กรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม
7. ตอบคำถามท้ายกิจกรรม

เวลาท่ีใช้ 1 ชวั่ โมง

ใบความรู้ ชดุ กจิ กรรมท่ี 7
เรื่อง โมเมนต์ของแรง

นักเรยี นคงจะเคยมีประสบการณเ์ ล่นกระดานหกในสนามเด็กเล่นของโรงเรียนหรอื สนามเดก็ เล่นกัน
มาบา้ งแล้ว เมื่อนักเรยี นเล่นกระดานหกจะพบว่ากระดานหกเกิดการ หมนุ รอบรอบจุดยดึ ท่ีอยู่ตรงกลางหรอื จุด
หมุน แรงที่ทำให้วตั ถุหมนุ ไปรอบจุดหมนุ เรยี กว่า โมเมนต์ของแรง

1. โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง คือ ผลคณู ของแรงในแนวต้ังฉากกับระยะห่าง จากแนวแรงถึงจุดหมนุ มีหน่วยเป็น

นิวตันตอ่ เมตร (N/m)

2. ชนิดของโมเมนต์
โมเมนตข์ องแรงแบ่งตามทิศทางการหมนุ 2 ชนิด ได้แก่
2.1 โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา คือ โมเมนต์ของแรงทท่ี ำให้วตั ถหุ มุนทวนเข็มนาฬิกา

2.2 โมเมนตต์ ามเข็มนาฬกิ า คอื โมเมนต์ของแรงที่ทำให้วัตถุหมนุ ตามเข็มนาฬกิ า