การอ่าน คิดวิเคราะห์ 5 ข้อ มี อะไร บาง

สังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนซึ่งสะท้อนถึงสติปัญญา ความรู้ ความเข้าใจ

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาและสร้างสรรค์จินตนาการอย่างเหมาะสมและมีคุณค่ำแก่ตนเอง สังคมและ
ประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์ และทักษะในการเขียนที่มีสำนวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและลำดับขั้นตอนในการ

นำเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับความสามารถในแต่ละระดับชั้นการประเมินการอ่าน คิด

วิเคราะห์ สรุปผลเป็นรายปี/รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบการศึกษาระดับ

ต่าง ๆ
ให้ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการประเมินให้ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด จึงจะได้รับการตัดสินการศึกษาแต่ละ

ช่วงชั้น ทั้งนี้เพราะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถพื้นฐานของการเรียนรู้
ในทุก ๆ ด้านอย่างจริงจัง อันเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในส่วนของ

ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) พุทธศักราช

๒๕๕๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขั้นตอนในดำเนินการประเมินดังนี้

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

หนังสือ เอกสาร วิทยุ โทรทัศน์ สื่อต่างๆ ฯลฯ
อ่าน
(รับสาร) แล้วสรุปเป็นความรู้ ความเข้าใจของตนเอง

คิดวิเคราะห์
วิเคราะห์ สังเคราะห์ หาเหตุผล แก้ปัญหา และ
สร้างสรรค์

เขียน
ู้
ถ่ายทอดความร ความคิด สื่อสารให้ผู้อื่น
(สื่อสาร)
เข้าใจ

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 2

1. ขั้นตอนการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของสถานศึกษา

ประชุมชี้แจงแนวการส่งเสริม/พัฒนา กำหนดเกณฑ์
คณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน

เคร
วิ
คิด

การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ะห์และเขียน



ดำเนินการส่งเสริม/พฒนาควบคูกบการจัดกิจกรรม ครูผู้สอน
การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ

ั้
วัดและประ เมินผล บันทึกผล (สรุปผล) ครูประจำชน

คณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน
ประมวลผล สรุปผล
คิด วิเคราะห์และเขียน

ไม่ผ่าน ผ่าน

ดี

ดีเยี่ยม

ซ่อมเสริม ผ่าน

- ครูประจำชั้น

บันทกผล
- ครูวัดผล

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 3

2.ขอบเขตการประเมินและตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

2.1ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3

ขอบเขตการประเมิน


การอานจากสื่อสิ่งพิมพ์ และหรือสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ให้ความเพลิดเพลิน ความรู้ประสบการณ์และมี
ประเด็นให้คิดและเขียนบรรยายถ่ายทอดประเด็นที่คิดด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น อานนิยาย เรื่องสั้น

นิทาน นิยายปรัมปรา

ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์

1. สามารถอานและหำประสบการณ์จากสื่อที่หลากหลาย

2. สามารถจับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นเรื่องที่อาน

3. สามารถเปรียบเทียบแง่มุมต่าง ๆ เช่น ข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสมไม่เหมาะสม


4. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อาน โดยมีเหตุผลประกอบ
5. สามารถถ่ายทอดความคิดเห็นความรู้สึกจากเรื่องที่อานโดยการเขียน

2.2 ชั้นประถมศึกษาปีท4-6
ี่
ขอบเขตการประเมิน

การอานจากสื่อสิ่งพิมพ์ และหรือสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ประสบการณ์ที่เอื้อให้


ผู้อานนำไปคิดวิเคราะห์แสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดโดยการเขียนเป็นความเรียงเชิง

สร้างสรรค์ด้วยถ้อยคำภาษาที่ถกต้องชัดเจน เช่น อานหนังสือพมพ์ วารสารหนังสือเรียน บทความ สุนทรพจน์


คำแนะนำ คำเตือน
ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์


1. สามารถอานเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศเสริมประสบการณ์จากสื่อประเภทต่าง ๆ
2. สามารถจับประเด็นสำคัญ เปรียบเทียบ เชื่อมโยงความเป็นเหตุเป็นผลจากเรื่องที่อ่าน

3. สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเรื่องราว เหตุการณ์ของเรื่องที่อาน


4. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อานโดยมีเหตุผลสนับสนุน

5. สามารถถ่ายทอดความเขาใจ ความคิดเห็น คุณคาจากเรื่องที่อานโดยการเขียน

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 4

3. แนวทางการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห ์


การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคณา
นุสรณ์) จะใช้แนวทางการวัดและประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement)

จากกำหนดเป็นแนวทางและวิธีการประเมินให้ครูนำไปใช้ในการประเมินดังนี้

3.1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มีลักษณะเป็นแบบประเมินเกณฑ์คุณภาพ

(Rubric) โดยเกณฑ์การประเมินในแต่ละตัวชี้วัดจะมีลักษณะเป็นเกณฑ์แบบแยกส่วน (Analytic Criteria) ซึ่ง

แบ่งคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับดีเยี่ยม ระดับดี ระดับผ่านและระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ โดย

เกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตัวชี้วัด มีดังนี้ คือ ระดับดีเยี่ยมได้ 3 คะแนน ระดับดี ได้ 2 คะแนน ระดับพอใช้หรือ

ผ่านเกณฑ์ ได้ 1 คะแนน และ ระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ ได้ 0 คะแนน

3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ


3.2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละทักษะของการประเมินความสามารถในการอานคิดวิเคราะห์ และ
เขียน จะประเมินตามตัวชี้วัด แต่ละตัวชี้วัดจะมีคะแนนอยู่ระหว่าง 0-3 นำคะแนนที่ได้จากตัวชี้วัดมารวมกัน

แล้วเทียบกับเกณฑ์แต่ละทักษะ ดังนี้

ตารางที่ 6

ทักษะ / คุณภาพ การอ่าน การคิดวิเคราะห ์ การเขียน

ระดับคะแนน ระดับคะแนน ระดับคะแนน

ดีเยี่ยม 5-6 5-6 3
ดี 3-4 3-4 2

ผ่าน 1-2 1-2 1

ปรับปรุง 0 0 0

3.2.2 การวิเคราะห์การประเมิน ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในภาพรวม


นำคะแนนจากตัวชี้วัดทุกทักษะรวมกัน แล้วเทียบกับเกณฑดังนี้
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

12-15 ดีเยี่ยม
8-11 ดี

4-7 ผ่าน

0-3 ปรับปรุง

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 5

3.2.3 เกณฑ์การตัดสินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

1. ระดับรายภาค

ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผ่านทุกรายภาค

2. การเลื่อนชั้น / การจบหลักสูตร

ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านทุกรายภาค

4.แนวทางการแก้ไขผู้เรียนกรณี ไม่ผ่านเกณฑ ์

ในกรณีที่ผู้เรียนมีผลประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน อยู่ในระดับไม่ผ่านครูผู้สอนแล

คณะกรรมการประเมินควรเร่งดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมี ความก้าวหน้าในตัวชี้วัดที่


มีจุดบกพร่อง โดยจัดให้ได้รับการแกไขในระยะเวลาพอสมควรที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ในตัวชี้วัดที่ต้อง
ปรับปรุงแกไขได้อย่างแท้จริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้อ่านได้คิดวิเคราะห์จาก

ี่
เรื่องทอ่าน และสามารถสื่อสารสาระสำคัญจากเรื่องที่อ่านโดยการเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ แล้วนำผลงานไป
เทียบกับแนวการให้คะแนนและเกณฑ์ การตัดสินโรงเรียนที่กำหนด

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 6

คุณภาพ (Rubric) สำหรับครูผู้สอนประเมินนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ตัวชี้วัด ระดับคุณภาพ
3 (ดีเยี่ยม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) 0 (ไม่ผ่าน)

1. สามารถอ่านและหา อ่านและหาประสบการณ์จาก อ่านและหาประสบการณ์จาก อ่านและหาประสบการณ์จาก ไม่สามารถอ่านและหา

ประสบการณ์จากสื่อที่ สื่อที่หลากหลายโดยอ่านได้ สื่อที่หลากหลายโดยอ่านได้ สื่อที่หลากหลายโดยอ่านได้แต่ ประสบการณ์จากสื่อที่
หลากหลาย คล่องแคล่วและถูกต้องตาม ค่อนข้า ง คล่องแคล่วและ ไม่คล่องแคล่วและไม่ถูกต้อง หลากหลาย

หลักการอ่าน ถูกต้องตามหลักการอ่านเป็น ตามหลักการอ่าน
ส่วนใหญ่

2.สามารถจับประเด็นสำคัญ จับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง จับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง จับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง ไม่ตอบหรือพยายามจับ

ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นเรื่องท ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านไดตรง ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านไดตรง ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านไดตรง ประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง
ี่

อ่าน ตามวัตถุประสงค์และ ตามวัตถุประสงค์คอนข้าง ตามวัตถุประสงค์แต่ไม่ครอบ ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านแต่
ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหา คลุมเนื้อหา ไม่ตรงวัตถุ ประสงค์



3.สามารถเปรียบเทียบแง่มุม สามารถเปรียบเทียบ ข้อดี ข้อเสย สามารถเปรียบเทียบ ข้อดี ข้อเสย สามารถเปรียบเทียบ ข้อดี ไม่ตอบหรือพยายามจะ

ต่าง ๆ เช่น ข้อดีข้อเสีย ประโยชน์โทษ ความเหมาะสม ไม่ ประโยชน์โทษ ความเหมาะสม ไม่ ข้อเสียประโยชน์โทษ ความ เปรียบเทียบ ข้อดี ข้อเสย
ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสม เหมาะสมได้อย่างชัดเจนถูกต้อง เหมาะสมได้อย่างชัดเจนแต่ยังไม่ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ได้แต่ ป ร ะ โ ย ช น์ โ ท ษ ค ว า ม

ไม่เหมาะสม ถูกต้องทั้งหมด ไม่ชัดเจน เหมาะสม ไม่เหมาะสมแต่ไม่
สามารถเปรียบเทียบได้

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 7

ตัวชี้วัด ระดับคุณภาพ

3 (ดีเยี่ยม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) 0 (ไม่ผ่าน)

4.สามารถแสดงความคิดเห็นต่อ เสนอความคิดเห็นต่อเรื่องที่ เสนอความคิดเห็นต่อเรื่องที่อ่าน เสนอความคิดเห็นต่อเรื่องที่ ไม่ตอบหรือพยายามจะ

เรื่องทีอ่าน โดยมีเหตุผลประกอบ อ่านได้อย่างมีเหตุผลและมี ได้ อย่างมีเหตุผล อ่านแต่ไม่แสดงเหตุผล แสดงความ คิดเห็นต่อเรื่องที ่
ประโยชน์ อ่านแต่ไม่ถูกต้อง
5.สามารถถ่ายทอดความ คิดเห็น สามารถถ่ายทอดความคิดเห็นโดย สามารถถ่ายทอดความคิดเห็น สามารถถ่ายทอดความคิดเห็น สามารถถ่ายทอดความ



ความร้สึกจากเรื่องทีอ่าน โดยการ รู้จักเลือกใช้ค าในการเขียนที่แสดง โดยรู้จักเลือกใช้คำในการเขียน โดยรู้จักเลือกใช้คำในการเขียน คิดเห็นโดย ไม่ตอบหรือ


เขียน ถึงความร้สึกจากเรื่องทีอ่านได้ ที่แสดงถึงความรู้สึกจากเรื่องที่ ที่แสดงถึงความรู้สึกจากเรื่องที่ พยายามเขียนถ่ายทอด ความ
ชัดเจน อ่านได้ค่อนข้างชัดเจน อ่านได้บ้าง คิดเห็นความร้สึกแต่ไม่

สามารถสื่อความร้สึกได้

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 8

คุณภาพ (Rubric) สำหรับครูผู้สอนประเมินนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

การอ่านคิดวิเคราะห์ มีอะไรบ้าง

การอ่านคิดวิเคราะห์ คือ การอ่านที่สามารถแยกแยะเรื่องราวโดยการคิดใคร่ครวญ อย่างละเอียด รอบคอบ โดยใช้ความรู้ ความคิดในการแก้ปัญหาและน าไปสู่ข้อสรุปเพื่อตัดสินใจ อย่างมีเหตุผลถูกต้อง น่าเชื่อถือและน าความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างเหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด จุดประสงค์กำรเรียนรู้

การอ่านคิดวิเคราะห์ มีกี่ระดับ

การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนกำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็น 4 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ

การอ่านคิดวิเคราะห์มีประโยชน์อย่างไร

การอ่านวิเคราะห์ช่วยให้เห็นภาพรวมและรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน ฝึกให้อ่านอย่างรอบคอบ ช่วยให้เข้าใจเรื่องนั้นอย่างแท้จริง ช่วยพัฒนาสติปัญญาเพราะต้องใช้เหตุผลในการอธิบายแง่มุมต่าง ๆ ซึ่งทักษะในการอ่านนี้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และจะนำไปใช้ในการอ่านประเมินค่าต่อไป

ผลการประเมิน “การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน” แบ่งเป็นกี่ระดับใด

3.1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มีลักษณะเป็นแบบประเมิน เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) โดยเกณฑ์การประเมินในแต่ละตัวชี้วัดจะมีลักษณะเป็นเกณฑ์แบบแยก ส่วน (Analytic Criteria) ซึ่งแบ่งคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับดีเยี่ยม ระดับดี ระดับผ่าน และระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ ...