ใบงานโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร33011

►สาระทักษะการเรียนรู้

1 โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร02006 * ตรวจสอบต้นฉบับ 2 โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร33011 * ตรวจสอบต้นฉบับ 3 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ทร02017 * ตรวจสอบต้นฉบับ 4 การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อปฏิบัติงาน ทร02047 * ตรวจสอบต้นฉบับ 5 เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ทร23010 * ตรวจสอบต้นฉบับ 6 ศาสนาพาให้คิดเป็น ทร02033 * ตรวจสอบต้นฉบับ 7 เทคนิคการวิเคราะห์และพัฒนาอาชีพ ทร03014 * ตรวจสอบต้นฉบับ 8 ทักษะการคิด ตัดสินใจและแก้ปัญหา ทร03011 * ตรวจสอบต้นฉบับ 9 คิดเป็นกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทร02029 * ตรวจสอบต้นฉบับ 10 การวิจัยเบื้องต้น ทร33003 * ตรวจสอบต้นฉบับ

 ►สาระความรู้พื้นฐาน

1 สภาวะโลกร้อน พว02018 * ตรวจสอบต้นฉบับ 2 สมุนไพรใกล้ตัว พว02021 * ตรวจสอบต้นฉบับ 3 สารพิษในชีวิตประจำวัน พว02013 * ตรวจสอบต้นฉบับ 4 วิทยาศาสตร์การถนอมอาหาร พว03007 * ตรวจสอบต้นฉบับ 5 ภาษาไทยเพิ่มเติม 1 พท23003 * ตรวจสอบต้นฉบับ 6 ภาษาไทยเพิ่มเติม 2 พท23004 * ตรวจสอบต้นฉบับ 7 การศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงาน พท33008 * ตรวจสอบต้นฉบับ 8 การสื่อสารในชีวิตประจำวัน พท33020 * ตรวจสอบต้นฉบับ 9 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและสร้างมนุษย์สัมพันธ์1 พท33013 * ตรวจสอบต้นฉบับ 10 หลักภาษาไทย พท33002 * ตรวจสอบต้นฉบับ 11 เทคโนโลยีชีวภาพ พว02017 * ตรวจสอบต้นฉบับ 12 คณิตศาสตร์เสริม 1 พค23001 * ตรวจสอบต้นฉบับ

►สาระพัฒนาสังคม

1 การปลูกฝังอุดมการณ์รักชาติ สค02007 * ตรวจสอบต้นฉบับ 2 ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย สค02002 * ตรวจสอบต้นฉบับ 3 ทรัพยากรของประเทศต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สค22001 * ตรวจสอบต้นฉบับ

►สาระการประกอบอาชีพ

1 การขายและการตลาด อช02018 * ตรวจสอบต้นฉบับ 2 การขายและการตลาด อช02018 * ตรวจสอบต้นฉบับ 3 การทำปุ๋ยหมัก อช02008 * ตรวจสอบต้นฉบับ 4 การเพาะเห็ดฟาง อช02006 * ตรวจสอบต้นฉบับ 5 การทำนา อช02001 * ตรวจสอบต้นฉบับ 6 การปลูกผักพื้นบ้าน อช03018 * ตรวจสอบต้นฉบับ 7 การเกษตรผสมผสาน อช02015 * ตรวจสอบต้นฉบับ 8 การพัฒนาและโครงการอาชีพ อช32001 * ตรวจสอบต้นฉบับ 9 การเลี้ยงสุกร อช02012 * ตรวจสอบต้นฉบับ 10 การเลี้ยงไก่ไข่ อช02011 * ตรวจสอบต้นฉบับ 11 การจัดการผลิตภันฑ์ อช23031 * ตรวจสอบต้นฉบับ 12 การจัดการผลิตภันฑ์ท้องถิ่น อช33022 * ตรวจสอบต้นฉบับ 13 การจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ อช33004 * ตรวจสอบต้นฉบับ 14 การจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ อช33017 * ตรวจสอบต้นฉบับ

►สาระทักษะการดำเนินชีวิต

1 บัญชีชาวบ้าน ทช02001 * ตรวจสอบต้นฉบับ 2 สุขภาพพลานามัย ทช12005 * ตรวจสอบต้นฉบับ 3 การดูแลอนามัยชุมชน ทช02010 * ตรวจสอบต้นฉบับ 4 การป้องกันสาธารณภัย ทช02013 * ตรวจสอบต้นฉบับ 5 สุขภาพและความปลอดภัยในชีวิต ทช32005 * ตรวจสอบต้นฉบับ 6 เพศศึกษาสำหรับพ่อแม่ลูกวัยรุ่น ทช02006 * ตรวจสอบต้นฉบับ 7 พืชสมุนไพรกับการดูแลสุขภาพ ทช33017 * ตรวจสอบต้นฉบับ 8 ชีวิตและครอบครัว ทช32004 * ตรวจสอบต้นฉบับ

หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าเลือก โครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู รหัส ทร 02006 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สําหรบั คนไทยในตา งประเทศ ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ เปาหมายพเิ ศษ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี 23/2554

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลือก โครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู รหสั ทร 02006 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ หรบั คนไทยในตา งประเทศ ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ เปา หมายพเิ ศษ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดับที่ 23/2554 ช่ือหนงั สอื หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวชิ าเลือก โครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู รหัส ทช 02006 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาํ หรับคนไทยในตา งประเทศ

ISBN : พิมพค รงั้ ท่ี : 1/2554 ปท่ีพมิ พ : 2554 จาํ นวนพิมพ : 100 เลม เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 23/2554 จัดพิมพและเผยแพร : ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ เปาหมายพิเศษ สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร. 0 2281 7217 - 8, 0 2628 5329, 0 26285331 โทรสาร 0 2628 5330 เว็ปไซต : http:/www.nfe.go.th/0101-v3/frontend/ โครงสรางรายวชิ าเลือก รหสั ทร 02006 โครงงานเพอ่ื พฒั นาทักษะการเรยี นรู

สาระทกั ษะการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน 3 หนว ยกติ (120 ชวั่ โมง) สาระสาํ คญั มคี วามรู ความเขาใจ เกี่ยวกับความหมาย แนวคดิ และ หลกั การของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู ประเภทของ โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู ทักษะทีจ่ ําเปน ในการทํา โครงงานเพือ่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู การเตรยี มการและ กระบวนการจดั ทาํ โครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการ และการสะทอน ความคดิ เหน็ ตอ โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรูตอการเรียนรู ดวยตนเอง ผลการเรยี นท่ีคาดหวงั 1. เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ ความหมาย แนวคิดและหลกั การของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู 2. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับการ จําแนกประเภทของโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรียนรู 3. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะในการ ทําโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู 4. เพ่ือใหผ ูเรยี นมีความรู ความเขาใจ สามารถเตรียมการ และดําเนินการจัดทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรูไ ด 5. เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติที่ดี และ สามารถสะทอ นความคิดเหน็ ตอโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู

ขอบขา ยเนอ้ื หา 1. ความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรู 2. ประเภทของโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู 3. ทกั ษะท่ีจาํ เปน ในการทําโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู 4. การเตรียมการและกระบวนการจดั ทําโครงงานเพือ่ พฒั นาทักษะการเรยี นรู 5. การสะทอนความคดิ เห็นตอโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะ การเรียนรู

คาํ นาํ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุมเปาหมายพิเศษ ไดดําเนินการจัดทํา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื ก รหสั ทร 02006 โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู เพ่ือใชในการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรับคนไทยในตางประเทศ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มี สติปญ ญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข โดยผเู รยี นสามารถศึกษาคน ควาดวยตนเอง และปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือทดสอบความรู ความเขาใจในสาระ เนือ้ หาน้ี รวมทงั้ หาความรจู ากแหลงเรยี นรหู รอื สื่ออ่ืน ๆ เพมิ่ เติมได ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนเลมน้ี ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและ ผูเก่ียวของท่ีรวมคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากส่ือตางๆ เพ่ือใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยกลุมเปาหมายพิเศษ ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะเรียบเรียง ตลอดจนผูจัดทําทุกทานท่ีให ความรวมมอื ดวยดีไว ณ โอกาสน้ี ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุมเปาหมายพิเศษ หวังวาหนังสือ เลมน้จี ะเปน ประโยชนตอ ผเู รยี นและการจัดการเรียนการสอน หากมีขอเสนอแนะประการใดจะขอนอม รับไวดวยความขอบคุณย่ิง ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลมุ เปา หมายพเิ ศษ 2554 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

สารบญั หนา คํานํา คาํ แนะนาํ การใชห นงั สือเรยี น โครงสรา งหลกั สตู ร บทท่ี 1 ความหมาย แนวคดิ และหลกั การของโครงงานเพอื่ พัฒนา ทกั ษะการเรยี นร.ู ...........................................................................................................................1 เร่ืองท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรู......................................................1 เรื่องที่ 2 แนวคิดของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะกาเรียนรู……………………………………… 2 เร่ืองที่ 3 หลักกการของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู………………………………….. 5 กจิ กรรมทา ยบท บทท่ี1………………………….………………………………………………7 บทท่ี 2 ประเภทของโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู……………………………………………… 9 เร่ืองที่ 1 ประเภทโครงงาน……………………………………………………………………..9 กจิ กรรมทา ยบท บทที่ 2………………………..………………………………………………12 บทที่ 3 ทักษะท่จี าํ เปนในการทําโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นร.ู .....................................................14 เร่ืองที่ 1 ทักษะดา นการจัดการขอ มลู สารสนเทศ.........................................................................14 เรื่องที่ 2 ทักษะการคิดแบบอยา งเปน ระบบ…………………………………………………….17 เรื่องที่ 3 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร………………………………………………….20 เร่ืองที่ 4 ทักษะการนาํ เสนอ…………………………………………………………………….24 เร่ืองท่ี 5 ทักษะการพัฒนาตอยอดความรู……………………………………………………….25 กจิ กรรมทายบท บทท่ี 3…………………………………………………………………………..28 บทท่ี 4 การเตรียมการและกระบวนการจัดทาํ โครงงานเพื่อพฒั นาทกั ษะการเรียนรู.................................36 เรื่องท่ี 1 การพจิ ารณาเลือกโครงงาน..........................................................................................36 เรื่องที่ 2 การวางแผนทําโครงงานและขั้นตอนกระบวนการทาํ โครงงาน...................................37 กจิ กรรมทายบท บทท่ี 4………………………………………………………………………..41 บทที่ 5 การสะทอนความคิดเห็นตอโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู. ...............................................44 เรื่องที่ 1 แนวคิดเรอ่ื งการสะทอนความคิด……………………………….…………………….44 เรื่องท่ี 2 ความสําคญั ของการสะทอนความคิด…………………....……………………………45 กจิ กรรมทายบท บทที่ 5……………………………………………………………………….46 บรรณานกุ รม

คาํ แนะนาํ การใชห นงั สอื เรยี น หนังสอื เรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าเลือก โครงงาน เพอ่ื พฒั นาทักษะการเรียนรรู หัส ทร 02006 (3 หนว ยกติ ) ตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรบั คนไทยในตางประเทศ ประกอบดว ยสาระสําคัญ ดงั น้ี สว นท่ี 1 คําช้แี จงกอ นเรยี นรูรายวิชา สว นที่ 2 เนื้อหาสาระและกจิ กรรมทา ยบท สว นท่ี 1 คําช้ีแจงกอ นเรียนรรู ายวชิ า ผูเรียนตองศึกษารายละเอียดในคํานําและคําแนะนําการใช หนังสอื แบบ เพ่ือสรางความเขา ใจและเพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรูของรายวิชา ซ่ึงการเรียนรูเน้ือหาและการปฏิบัติกิจกรรมทาย บท ควรปฏิบัตดิ ังน้ี 1. หารือครูประจํากลุม / ครูผูสอน เพื่อรวมกันวางแผนการ เรยี น (ใชเวลาเรียน 80 ชั่วโมง) 2. ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือแบบเรียน หากมีขอสงสัยเรื่องใด สามารถศึกษาคนควาเพ่ิมเติมไดจากสื่อตาง ๆ หรือหารือครูประจํา กลมุ / ครูผสู อน เพ่อื ขอคําอธบิ ายเพ่มิ เตมิ 3. ทาํ กจิ กรรมทายบทเรยี นตามท่กี ําหนด 4. เขาสอบวัดผลการเรยี นรูปลายภาคเรียน 5. สรางความเขาใจเกี่ยวกับการประเมินผลรายวิชา ซึ่งมี คะแนนเตม็ 100 คะแนน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

โดยแบงสัดสวนคะแนนเปนระหวางภาคเรียน 60 คะแนน และปลาย ภาคเรียน 40 คะแนน ดงั น้ี 5.1 คะแนนระหวา งภาคเรียน 60 คะแนน แบงสว น คะแนนตามกิจกรรม ไดแ ก 1) ทาํ กจิ กรรมทา ยบทเรยี น 20 คะแนน โดยทํา กิจกรรมทา ยบทใหครบถวน 2)ทาํ บนั ทึกการเรยี นรู 20 คะแนน โดยสรุปยอ เน้ือหาหรอื วิเคราะหเ นื้อหาจากการศกึ ษาหนังสอื แบบเรียนรายวชิ าน้ี เพื่อแสดงใหเ ห็นกระบวนการเรยี นรู ประโยชน และการนาํ ความรูไ ป ใช โดยทาํ ตามที่ครกู ําหนด และจัดทําเปนรูปแบบเอกสารความรู ดังนี้ - ปก (รายละเอียดเก่ียวกับตัวผูเรียน: ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ของผูเรียน และศูนย การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกลุมเปา หมายพิเศษ) - สวนบันทึกการเรียนรู (เน้ือหาประกอบดวย : หัวขอ/เรื่องท่ีศึกษา และจุดประสงคท่ีศึกษา และข้ันตอนการศึกษา โดยระบุวา มวี ธิ รี วบรวมขอมลู อยา งไร นําขอ มูลมาใชอ ยางไร) - สวนสรุปเน้ือหา (สรุปสาระความรูสําคัญตาม เนอื้ หาทไี่ ดบันทึกการเรยี นร)ู -2- หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

- ประโยชนท่เี กดิ กับตวั ผูเ รยี น (บอกความรูท่ีรับและ นํามาพัฒนาตนเอง/การนําไปประยุกตใชในรายวิชาอ่ืน ๆ หรือใน ชวี ิตประจําวัน) 3)ทํารายงานหรือโครงงาน 20 คะแนน โดยจัดทํา เ น้ื อ ห า เ ป น ร า ย ง า น ห รื อ โ ค ร ง ง า น ต า ม ท่ี ค รู กํ า ห น ด รู ป แ บ บ เอกสารรายงาน หรือโครงงาน ดังนี้ 3.1) ก า ร ทํ า ร า ย ง า น ห รื อ โ ค ร ง ง า น ต า ม ที่ ค รู มอบหมาย ใหดําเนินการตามรูปแบบกระบวนการทํารายงาน หรือ โครงงาน ตามรปู แบบเอกสาร ดงั น้ี - ปก (เรื่องท่ีรายงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัว ผูเรียน : ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ของผูเรียน และศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ เปาหมายพเิ ศษ) - คํานํา - สารบญั - สวนเน้ือหา (หัวขอ หลัก หัวขอยอ ย) - สว นเอกสารอา งองิ 3.2) การทําโครงงาน ตามท่ีครูมอบหมาย และ ดําเนินการตามกระบวนการทํารายงาน โดยจัดทําตามรูปแบบ เอกสารดงั นี้ - ปก (ช่ือโครงงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัว ผูเรียน : ชื่อ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ขอ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

ผูเรียน และศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุมเปาหมายพิเศษ) - หลกั การและเหตุผล - วัตถุประสงค - เปา หมาย - ขอบเขตของการศึกษา - วิธดี าํ เนินงานและรายละเอียดของแผน - ระยะเวลาดาํ เนินงาน - งบประมาณ - ผลที่คาดวา จะไดร บั 5.2 คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน ผูเรียนตอง เขาสอบวัดความรูปลายภาคเรียนโดยใชเครื่องมือ (ขอสอบแบบ ปรนัย หรอื อตั นยั ) ของศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั กลุมเปาหมายพเิ ศษ -3- หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

สวนท่ี 2 เนือ้ หาสาระและกิจกรรมทา ยบท ผเู รียนตอ งวางแผนการเรียน ใหส อดคลองกับระยะเวลาของ รายวิชา และตองศึกษาเน้ือหาสาระตามที่กําหนดในรายวิชาให ละเอียดครบถวน เพ่ือใหเปนไปตามมาตรฐานการเรียนรูของ รายวิชา ซงึ่ ในรายวิชาน้ไี ดแ บงเนื้อหาออกเปน 4 บท ดงั นี้ บทท่ี 1 ความหมาย แนวคิดและหลกั การของโครงงานเพ่อื พัฒนา ทกั ษะการเรียนรู บทท่ี 2 ประเภทของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู บทท่ี 3 ทักษะท่ีจําเปนในการทําโครงงานเพอ่ื พฒั นาทักษะการ เรยี นรู บทท่ี 4 การเตรยี มการและกระบวนการจัดทําโครงงานเพื่อพฒั นา ทักษะการเรยี นรู บทท่ี 5 การสะทอ นความคดิ เห็นตอ โครงงานเพือ่ พฒั นาทักษะการ เรียนรู สวนกิจกรรมทายบทเรียน เม่ือผูเรียนไดศึกษาเน้ือหาแตละ บท/ตอนแลว ตองทํากจิ กรรมทายบทเรียน ตามท่ีกําหนดใหครบถวน เพ่อื สะสมเปนคะแนนระหวางภาคเรยี น (20 คะแนน) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู (ทร 02006)

บทท่ี 1 ความหมาย แนวคดิ และหลกั การของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู สาระสาํ คญั ก า ร จั ด ทํ า โ ค ร ง ง า น เ พ่ื อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร เ รี ย น รู ผู ที่ จ ะ ดําเนินการจัดทําโครงงานจะตองรูและเขาใจถึงความหมาย แนวคิด และหลักการของโครงงานเพ่ือจะไดนําความรูและความเขาใจไป ดําเนินการจัดทําโครงงานได ทั้งน้ีเพราะการจัดทําโครงงานเพื่อ พัฒนาทักษะการเรียนรูเปนเครื่องมือแสวงหาความรูดวยตนเองใน ลักษณะที่ผูเรียนมีอิสระในการเลือกวิธีหรือเน้ือหาสาระตามศักยภาพ และส่ิงแวดลอม รวมทั้งยังเปนการสรางโอกาสใหผูเรียนไดฝกทักษะ ที่จะไปขยายผลการเรียนรูดวยตนเองตอไปในภายภาคหนาไดอยาง กวางขวาง ผลการเรยี นท่ีคาดหวัง เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ ความหมาย แนวคิดและ หลักการของโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู ขอบขา ยเนอื้ หา เรือ่ งท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู เรอ่ื งที่ 2 แนวคดิ ของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู เร่ืองที่ 3 หลกั การของโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

เรอื่ งท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู มผี รู ูไดใหค วามหมายของคําวา โครงงานไวในหลายมุมมอง ซึ่ง ไดประมวลมาใหผ ูเ รียนไดศ ึกษา ดังนี้ “โครงงาน” หมายถึง วิธีการเรียนวิธีหนึ่งท่ีผูเรียนมุงทํางาน เพื่อใหเกิดความรู ควบคูกับการทํางานใหบรรลุเปาหมาย มิใชมุง ทํางานเพ่ือใหบรรลเุ ปา หมายอยางเดียว ผูทําโครงงานจะตองกําหนด ภาระงานใด ภาระงานหนงึ่ ข้ึนมาทาํ แลว ใชภาระงานนั้นทําภาระงาน อีกอยางหนึ่งที่เรียกวาภาระงานการศึกษาเรียนรู เปนกระบวนการ ควบคูกันระหวางการทํางานและการเรียนรู สรางความรูข้ึนเพื่อนํา ความรูไปใชปรับปรุงการทํางานใหบรรลุเปาหมาย ในระหวางท่ี ทํางานใหบรรลุเปาหมายก็ทํางานเพ่ือการศึกษาเรียนรูอีกควบคูกัน ไปตลอด” (จาํ นง หนนู ลิ . 2546:13 ) “โครงงาน” คือ การศึกษาคนควาหาความรูหรือหาคําตอบใน ขอสงสัยเรื่องใดเร่ืองหน่ึง อยางลึกซ้ึง ดวยวิธีการที่หลากหลาย เกิดภาระงานในการศึกษาคนควาดวยความสนใจของผูเรียนเอง มี คุณคากวาการทํางานใหบรรลุเปาหมายที่เรียกวาการทําโครงการ หรือการทํารายงานธรรมดาที่มีผูกําหนดหัวขอขึ้นใหไปทํา” (จํานง หนูนิล. 2546:14 ) “โครงงาน” หมายถึง กิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษา คนควาและลงมือปฏิบัติดวยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และ ค ว า ม ส น ใ จ โ ด ย อ า ศั ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ห รื อ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 2 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

กระบวนการอื่นไปใชในการศึกษาหาคําตอบ โดยมีครูผูสอนคอย กระตุนแนะนําและใหคําปรึกษาแกผูเรียนอยางใกลชิด ต้ังแตการ เลือกหัวขอท่ีจะศึกษา คนควา ดําเนินการวางแผน กําหนดข้ันตอน ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น แ ล ะ การนําเสนอผลงาน ซึ่งอาจทําเปน รายบุคคลหรือเปน กลมุ ” (วโิ รจน ศรีโภคา และคณะ. 2544:9 ) “โครงงาน” คือ งานวจิ ยั เลก็ ๆ สาํ หรับผเู รียน เปน การแกปญ หา หรือขอสงสัย หาคําตอบโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร หาก เนอื้ หาหรอื ขอสงสัยเปนไปตามกลุมสาระการเรียนรใู ด จะเรยี กวา โครงงานในกลุม สาระนนั้ ๆ (www. tet2. org/index.) “โครงงาน” คือ การศึกษาคนควา เก่ียวกับสิง่ ใดส่งิ หนึ่ง หรือ หลาย ๆ สงิ่ ที่อยากรูคาํ ตอบใหล กึ ซ้ึง หรือเรียนรูในเร่อื งนนั้ ๆ ใหมาก ขึ้น โดยใชก ระบวนการ วธิ ีการท่ีศกึ ษาอยางมีระบบ เปนขั้นตอน มี การวางแผนในการศกึ ษาอยางละเอียด ปฏบิ ตั งิ านตามแผนทวี่ างไว จนไดขอสรปุ หรอื ผลสรุปทีเ่ ปนคําตอบในเร่ืองนนั้ ๆ (www. thaigoodview.) “โครงงาน” คือ การเรียนรูที่เกิดจากความสนใจของผูเรียนท่ี ตองการศึกษาคนควาเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลาย ๆ สิ่งท่ีสงสัย และตอ งการคําตอบใหลึกซ้ึงชัดเจน หรือตองการเรียนรูในเรื่องน้ัน ๆ ใหมากขึ้นกวาเดิมโดยใชความรูหลาย ๆ ดานและทักษะกระบวนการ ท่ีตอเน่ือง มีการวางแผนในการศึกษาและรับผิดชอบปฏิบัติตามแผน จนไดขอสรุปหรือผลการศึกษา หรือคําตอบเกี่ยวกับเรื่องน้ัน ๆ อยาง เปนระบบ เรื่องท่ีจะทําโครงงานควรเปนเรื่องที่ผูเรียนสนใจและ สอดคลองตามสาระการเรียนรูตามรายวิชาน้ัน (สํานักงานสงเสริม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 3 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.แนวทางการจัดการ เรียนรู หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 .นนทบุรี : บริษัทไทย พับบลิคเอ็ดดูเคชั่น จํากัด, 2553.) ตามมุมมองในทัศนะตาง ๆ ที่รวบรวมมาใหผูเรียนไดศึกษา จะ เห็นไดวา โครงงานเปนวิธีแสวงหาซึ่งความรูดวยตนเองอีกหนทาง หนงึ่ ซ่งึ มีคณุ คาแตกตางไปจากการเรียนรูดวยวิธีอ่ืน ๆ อยูบาง โดยมี ขอเดนตรงท่ีเปนการแสวงหาความรูที่ตองสัมผัสดวยตนเอง อยางไร ก็ตามผเู รียนควรสรุปความหมายของคําวาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะ การเรยี นรูท เ่ี ปนความเขา ใจของตัวทา นเอง เรอื่ งที่ 2 แนวคดิ ของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู การเรียนรูแบบโครงงานเปนการเรียนรูที่ใหความสําคัญตอ ผเู รียนในการเลอื กเรยี นสง่ิ ตาง ๆ ดว ยตนเอง ทั้งเนื้อหา วิธีการ โดยมี ค รู เ ป น ผู ค อ ย อํ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ช ว ย เ ห ลื อ ใ ห ผู เ รี ย น ไ ด ป ร ะ ส บ ความสําเร็จในการเรียน ทั้งในแงของความรูดานวิชาการและความรู ที่ใชในการดําเนินชีวิตและการทํางานในอนาคต เปนผูที่มีความ สมดุลทั้งดานจติ ใจ รา งกาย ปญญา อารมณ และสงั คม การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนเร่ืองการจัดทํา โครงงานน้ัน นอกจากจะมีคุณคาทางดานการฝกใหผูเรียนมีความรู ความชํานาญและมีความม่ันใจในการนําเอาวิทยาศาสตรไปใชใน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 4 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

การแกปญหา หรือคนควาหาความรูตาง ๆ ดวยตนเองแลว ยังให คุณคา อ่นื ๆ คือ 1) รูจ ักตอบปญ หาโดยใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ไมเ ปน คนท่หี ลงเชื่องมงายไรเ หตผุ ล 2) ไดศกึ ษาคนควา หาความรูใ นเรอื่ งที่ตนสนใจไดอ ยา งลึกซ้ึง กวาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ของครู 3) ทาํ ใหผูเรียนไดแสดงออกถงึ ความสามารถพิเศษของตนเอง 4) ทําใหผูเรยี นเกดิ ความสนใจเรียนในกลุม สาระการเรยี นรูน ัน้ ๆ มากยงิ่ ขนึ้ 5) ผเู รียนไดใ ชเ วลาวา งใหเ ปน ประโยชน การเรียนรูโดยใชโครงงาน สามารถชวยใหผ เู รยี นไดฝกทกั ษะ สําคญั ๆ ดังน้ี 1) สมั พันธภาพระหวางบคุ คล (Interpersonal skill) 2) การแกป ญหาและความขัดแยง (Conflict resolution) 3) ความสามารถในการถกเถยี ง เจรจา เพื่อนําไปสกู าร ตัดสนิ ใจ (Consensus on decision) 4) เทคนิคการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลท่ีมีประสิทธิภาพ (Effective interpersonal Communication techniques) 5) การจดั การและการบริหารเวลา (Time management) 6) เตรียมผูเรียนเพ่ือจะออกไปทาํ งานรว มกับผูอ ่ืน 6.1) ทกั ษะในแงความรเู ก่ียวกับความสามารถในการควบคุม จิตใจและควบคุมตนเอง (Discipline knowledge) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 5 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

6.2) ทักษะเก่ยี วกับกระบวนการกลุม (Group-process skill) 7) ชวยใหผูเรียนไดมีความรูมากข้ึน มีมุมมองหลากหลาย (Multi perspective) อันจะนําไปสูความสามารถทางสติปญญา การ รับรู ความเขาใจ การจดจํา และความสามารถในการทํางานรวมกับ ผอู ่ืนไดดยี ่ิงขึน้ 8) เพิ่มความสามารถในการเขาใจสง่ิ ตาง ๆ ไดด ีขนึ้ อนั นําไปสู ความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ ละทักษะการส่ือสาร (Critical thinking and Communication skill) (Freeman, 1995) 9) ชวยสนับสนุนการพัฒนาทักษะการทํางานเปนทีมจากการ เรยี นรจู ากประสบการณ (Experiential learning) (Kolb, 1984) 10) การเรยี นแบบโครงงานชวยใหเ กดิ การเรยี นรแู บบรวมมือ กนั (Cooperative learning) ในกลมุ ของผเู รยี น ซึ่งผเู รียนแตล ะคน จะแลกเปล่ียนความรูซ่งึ กันและกนั ในการเรยี น โดยอาศยั กระบวนการกลุม (group dynamic) แนวคดิ สาํ คญั การเรียนรูแบบโครงงานเปน การเรยี นรูทเ่ี ชื่อมโยงหลักการ พฒั นาการคิดของบลมู (Blom) ท้ัง 6 ข้ัน คือ ความรูความจํา (Knowledge) ความเขาใจ (Comprehension) การนําไปใช (Application) การวิเคราะห (Analysis) การสังเคราะห (Synthesis) การประเมินคา (Evaluation) และยังเปน กระบวนการ เรยี นรู ตง้ั แตการวางแผนการเรยี นรู การออกแบบการเรียนรู การ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 6 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

สรางสรรคป ระยุกตใชผ ลผลติ และการประเมนิ ผลงานโดยผูสอนมี บทบาทเปนผูจัดการเรียนรู แคทซและชารด (Katz and Chard , 1994) กลาวถึงการสอน แบบโครงงานวา วิธีการสอนน้ีมีจุดมุงหมายที่จะพัฒนาผูเรียนทั้งชีวิต และจิตใจ (Mind) ซ่ึงชีวิตจิตใจในท่ีน้ีหมายรวมถึง ความรู ทักษะ อารมณ จริยธรรม และความรสู กึ ถงึ สนุ ทรียศาสตรและไดเสนอวาการ จัดการเรยี นการสอนโดยใชการสอนแบบโครงงานวาควรมีเปาหมาย หลกั 5 ประการ คอื 1) เปาหมายทางสติปญญาและเปาหมายทางจิตใจของผูเรียน (Intellectual Goals and the Life of the Mind) คือการจัดการเรียน การสอนแบบเตรียมความพรอม มุงใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับ ส่ิงแวดลอมอยางหลากหลาย และการมีปฏิสัมพันธกับส่ิงตาง ๆ รอบตัว ผูเรียนควรจะไดเขาใจประสบการณและสิ่งแวดลอมรอบ ตัวอยางลึกซ้ึง ดังน้ันเปาหมายหลักของการเรียนระดับนี้จึงเปนการ มุงใหผูเรียนพัฒนาความรู ความเขาใจโลกท่ีอยูรอบ ๆ ตัวเขา และ ปลกู ฝงคุณลักษณะการอยากรอู ยากเรยี นใหกบั ผูเรียน 2) ความสมดุลของกิจกรรม (Balance of Activities) การสอน แบบโครงงานจะทําใหผูเรียน ไดปฏิบัติกิจกรรมท่ีเหมาะสมทั้ง กิจกรรมทางวิชาการ ใชกิจกรรมเปนสื่อทําใหเกิดการเรียนรู เปด โอกาสใหผ ูเรยี นไดท าํ กจิ กรรม คนหาความรู เปนการเรียนรูผานการ เลนและการมปี ฏิสัมพนั ธกบั สง่ิ แวดลอมตาง ๆ ท่อี ยรู อบตวั 3) สถานศึกษาคือสวนหนึ่งของชีวิต (School as Life) การ เรียนการสอนในสถานศึกษาตองเปนสวนหนึ่งในชีวิตของผูเรียน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 7 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

ไมใชแยกออกจากชีวิตประจําวันโดยทั่วไป กิจกรรมในสถานศึกษา จึงควรเปนกิจกรรมที่เก่ียวของกับการดําเนินชีวิตปกติ การมี ปฏสิ ัมพนั ธก ับสิง่ แวดลอมและผูคนรอบ ๆ ตวั ผูเรยี น 4) ศกร.เปนชุมชนหนึ่งของผูเรียน (Community Ethos in the Class) ทุกคนมีลักษณะเฉพาะตัว การสอนแบบโครงงานเปดโอกาส ใหผูเรียนแตละคนไดแสดงออกถึงคุณลักษณะ ความรู ความเขาใจ ความเช่ือของเขา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบนี้จึงเกิดการ แลกเปล่ียน การมีปฏิสัมพันธกันอยางลึกซึ้ง ผูเรียนไดเรียนรูความ แตกตา งของตนกบั เพือ่ น ๆ 5) การจดั กิจกรรมการเรียนรูเปนสิ่งท่ีทาทายครู (Teaching as a Challenge) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน ครูไมใช ผูถายทอดความรูใหกับผูเรียน แตเปนผูคอยกระตุน ช้ีแนะ และให ความสะดวกในการเรียนรูของผูเรียน โครงงานบางโครงงานครู เรียนรูไปพรอม ๆ กับผูเรียน ครูรวมกันคิดหาวิธีแกปญหา ลงมือ ปฏิบัติไปดวยกัน ถือเปน การเรยี นรูร วมกนั เรอ่ื งท่ี 3 หลักการของโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู ผูเรียนจะมีความเขาใจและสามารถนําโครงงานไปใชในการ แสวงหาความรูไดอยางดี ดังนั้นผูเรียนควรมีโลกทัศนตอโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูท่ีกวางขวาง ซึ่งจําเปนตองทําความ เขาใจหลักการของโครงงาน ซ่ึงไดประมวลหลักการเฉพาะที่สําคัญ มาใหศกึ ษาดังนี้ หลกั การของการทําโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 8 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

1) เนนการแสวงหาความรูดว ยตนเอง 2) ผเู รยี นเปนผวู างแผนในการศกึ ษาคน ควาเอง 3) ผูเ รียนลงมือปฏิบัตดิ วยตนเอง 4) ผูเ รียนเปน ผูนําเสนอโครงงานดวยตนเอง 5) ผเู รยี นรวมกําหนดแนวทางวัดผลและประเมนิ ผล จุดมุง หมายของการทาํ โครงงาน (www. thaigoodview.) 1) เพื่อใหผ ูเรียนไดศ ึกษาขอ มลู จากแหลง ความรูต าง ๆ ดวย ตนเอง 2) เพ่อื ใหผ ูเรียนไดแสดงความคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรค 3) เพ่ือใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค เชน รูจัก ทํางานรวมกบั บคุ คลอ่นื มีความเชื่อม่นั ในตนเอง มีความรบั ผดิ ชอบฯ 4) เพื่อใหผูเรียนใชความรูและประสบการณเลือกทํา โครงงานตามความสนใจ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 มาตรา 22 กลาววา “การ จัดการศึกษายึดหลักวา ใหผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ” และมาตรา 24 กลาววา “การจัดกระบวนการ เรยี นรูใหสถานศกึ ษาและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ดําเนินการดังตอไปน้ี ... (7) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรรมใหสอดคลองกับความสนใจและ ความถนัดของผูเรียน... (11) ฝกทักษะกระบวนการคิดและการ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 9 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

จัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใชเพื่อ ปองกันและแกไขปญหา... (15) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจาก ประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปนทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง... (23) จัดการเรียนการสอนโดย ผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวน สมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝงคุณธรรมคานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวใน ทุกวิชา ...(33) จัดการเรียนรูใหเกิดข้ึนได ทุกเวลา ทุกสถานที่ มี การประสานความรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครองและบุคคลใน ชุมชนทุกฝาย เพอื่ รวมการพัฒนาผูเรียนตามศกั ยภาพ” “โ ค ร ง ง า น เ ป น กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ที่ ใ ช เ พ่ื อ พั ฒ น า ความสามารถของผูเรียน อีกท้ังยังเปนกิจกรรมที่ตอบสนองตอ กระบวนการเรียนรทู ีเ่ นนผูเรยี นเปน สาํ คญั จงึ มีความจําเปนอยางยิ่งที่ ค รู ต อ ง นํ า ไ ป ใ ช ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู เ พื่ อ พั ฒ น า ความสามารถของผูเรียนในทุกสาระการเรียนรู ซึ่งผูเรียนตองมี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ ลื อ ก ส ร ร ใ ห ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ร ะ ดั บ การศึกษาของตนเอง รวมถึงความสามารถในการนําความรูที่เกิดจาก การเสาะแสวงหาไปประยุกตใ ชในชวี ิตจริงได จงึ นับวาเปนการปฏิรูป ผูเรียนใหรูจักแสวงหาความรูดวยตนเองจากสื่อท่ีหลากหลายอยาง ตอ เนือ่ งและยงั่ ยืน” ยุทธ ไกยวรรณ (2546 : 11) กลาววา หลักการของการเรียน วิชาโครงงานเนนและเปดโอกาสใหผูเรียนคิดเอง วางแผนการ ทํางานเอง ลงมือปฏิบัติงานดวยตนเอง นําเสนอโครงงาน และรวม กําหนด แนวทางการวัดผลดวย โดยมีครูเปนผูอํานวยความสะดวก หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 0

และช้ีแนะแนวทางการทํางาน รวมกันแกปญหากับผูเรียนระหวาง การทําโครงงาน การจัดการเรียนรูการทําโครงงานควรอยูบนพื้นฐานความเช่ือ และหลักการปฏิรูปการเรียนรู คือ เชื่อมั่นในศักยภาพการเรียนรูของ ผู เ รี ย น ภ า ย ใ ต ห ลั ก ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ที่ ยึ ด ผู เ รี ย น เ ป น สํ า คั ญ แ ล ะ สอดคลองกับสภาพความเปนจริงในทองถ่ิน (บูรชัย ศิริมหาสารคร. 2549 : 19) คือ 1) ผูเรียนไดเลือกเรื่อง ประเด็น ปญหาท่ีตองการจะศึกษาดวย ตนเอง 2) ผู เ รี ย น ไ ด เ ลื อ ก แ ล ะ ห า วิ ธี ก า ร ต ล อ ด จ น แ ห ล ง ข อ มู ล ท่ี หลากหลายดว ยตนเอง 3) ผเู รยี นลงมือปฏบิ ัติและเรยี นรูดว ยตนเอง 4) ผูเรียนไดบูรณาการทักษะ ประสบการณ ความรู ส่ิงแวดลอม ตามสภาพจรงิ 5) ผเู รียนเปน ผสู รปุ และสรางองคค วามรดู ว ยตนเอง 6) ผูเรยี นไดแ ลกเปล่ยี นเรียนรูก ับผอู ื่น 7) ผเู รยี นไดน ําความรไู ปใชจ ริง (สํานกั งาน กศน.ภาคเหนือ. 2552 : 125) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 1

กจิ กรรมทา ยบท บทท่ี 1 ใบงานที่ 1 เรอื่ ง ความหมาย แนวคดิ และหลกั การของ โครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ คาํ ชแ้ี จง ใหผ ูเ รยี นตอบคาํ ถามใหสมบรู ณ ขอ ที่ 1 “โครงงาน” คือ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ในขอสงสยั เรือ่ งใดเร่อื งหนง่ึ อยาง ลกึ ซงึ้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เกิดภาระงาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ที่เรียกวา การทาํ โครงการหรอื การทํารายงาน ธรรมดา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........... ขอ ที่ 2 ใหผ ูเรียนบอกทักษะทส่ี ําคัญ ๆ จากการเรียนรูโ ดยการ ทาํ โครงงาน มาอยางนอ ย 4 ทักษะ 2.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 2

2.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... 2.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... 2.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... 2.5. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... ขอท่ี 3 คุณคาทีผ่ ูเรยี นไดรบั จากการจัดทาํ โครงงาน เชน คณุ คา ทางดานการฝกใหม คี วามรู ความชํานาญและความม่ันใจใน การนาํ เอาวิทยาศาสตรมาใชใ นการแกป ญหาหรอื คน ควาหาความรู ดวยตนเอง แลว ผูเ รยี นคดิ วาไดรับคณุ คาอยางอ่ืนอะไรอีกบาง จง ตอบมาอยา งนอ ย 3 ขอ 3.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 3

................................................. .................................... 3.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ..................................... 3.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ..................................... 3.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ...................................... ขอท่ี 4 การสอนแบบโครงงาน แคทซและชารด กลา ววา เปน วิธีการสอนท่ีมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเด็กท้ังชีวิตและจิตใจ (Mind) คําวา “ชีวิตจิตใจ” ในท่ีน้ีหมายรวมถึง อะไรบา ง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................... ................................................. ...................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 4

................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ................................................. ...................... ขอท่ี 5 ใหผเู รยี นบอกหลักการของการจัดทําโครงงานเพ่ือ พัฒนาทักษะการเรียนรู มาอยา งนอย 3 ขอ 5.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................... ................................................. ...................... 5.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 5

................................................. ................................... ................................................. ...................... 5.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... ................................................ ....................... 5.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. .................................... ................................................. ...................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 1 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006) 6

บทที่ 2 ประเภทของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู สาระสาํ คญั การจดั ทาํ โครงงานเพ่อื พฒั นาทักษะการเรียนรู นอกจากผูเรียน จะตองรูและเขาใจถึงความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงาน แลว ผูเรียนยังจะตองรู เขาใจและมีทักษะในการจําแนกรูปแบบของ โครงงาน ซงึ่ เปนประโยชนในการจัดทําโครงงานไดอยางมีเปาหมาย ชัดเจนและนําไปสูความสําเร็จ คือ เกิดการเรียนรูและคนพบองค ความรูด วยตนเอง ผลการเรยี นท่คี าดหวงั เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการจําแนก ประเภทของโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะ การเรียนรู ขอบขา ยเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ประเภทของโครงงาน การจําแนกประเภทของโครงงานอาจแบง ไดห ลายลักษณะ เชน 1. จําแนกตามกิจกรรมการเรียนของผูเรียน ซึ่งแบงเปน 2 ประเภท ไดแก หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 9 การเรยี นรู (ทร 02006)

1.1 โครงงานตามสาระการเรียนรู เปนการกําหนดโครงงานที่ บูรณาการระหวางสาระ การเรียนรูและทักษะการแสวงหา ความรเู พ่อื สรา งองคความรูใหม ๆ ดว ยตนเอง 1.2 โครงงานตามความสนใจ เปนการกําหนดโครงงานตาม ความถนัด ความสนใจ ความตองการ ของผูเ รียน 2. จาํ แนกตามวัตถุประสงคข องโครงงาน ซ่งึ แบง เปน 4 ประเภท ไดแ ก 2.1 โครงงานทเ่ี ปนการสาํ รวจ รวบรวมขอ มูล 2.2 โครงงานทีเ่ ปน การศกึ ษาคนควา ทดลอง 2.3 โครงงานท่ีเปน การศึกษาทฤษฎี หลกั การ หรือแนวคดิ ใหม ๆ ในการพัฒนาผลงาน 2.4 โครงงานทเ่ี ปนการสรางประดิษฐ คิดคน โดยมรี ายละเอยี ดในแตละประเภทของ ดงั น้ี 1.โครงงานท่ีเปนการสํารวจ รวบรวมขอมูล เปนโครงงานท่ีมี วัตถปุ ระสงคในการรวบรวมขอมลู เรือ่ งใดเร่ืองหน่ึง แลวนําขอมูลนั้นมาจําแนกเปนหมวดหมู ในรูปแบบ ทเ่ี หมาะสม ขอ มลู ท่ีไดจ ะนาํ ไปปรบั ปรงุ พฒั นาผลงาน สงเสริมผลผลิต ใหมีคุณภาพดียิ่งขึ้น ขอมูลดังกลาว อาจมีผูจัดทําข้ึนแลว แตมีการ เปลยี่ นแปลง จึงตอ งมีการจัดทําใหมเพ่ือใหมีความทันสมัย สอดคลอง กับความตองการของผูศึกษาโครงงาน โดยใชวิธีการเก็บขอมูลดวย แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ แบบบันทึก เชน การสํารวจแหลงเรียนรู หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 10 การเรยี นรู (ทร 02006)

ในชุมชน การสํารวจงานบริการและสถานประกอบการในทองถ่ิน เปนตน ในการทําโครงงานประเภทสํารวจรวบรวมขอมูลไมจาํ เปนตองมี ตวั แปรเขามาเก่ียวของ ผูเรียนเพียงแตสํารวจรวบรวมขอมูลที่ไดแลว และนําขอมูลท่ีไดมาจัดใหเปนหมวดหมูพรอมนําเสนอ ก็ถือวาเปน การสํารวจรวบรวมขอมลู 2.โครงงานที่เปนการศึกษาคนควา ทดลอง เปนโครงงานที่มี วัตถุประสงค เพื่อการศึกษาเรื่องใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะ โดยศึกษา หลักการและออกแบบการคนควา ในรูปแบบการทดลองเพ่ือยืนยัน หลักการ ทฤษฎี เพ่ือศึกษาหาแนวทางในการเพ่ิมคุณคา และการใช ประโยชนใหมากขน้ึ เชน การปลูกพืชโดยไมใชสารเคมี การทําขนม อบชนิดตาง ๆ โดยใชวัสดุในทองถิ่น การควบคุมการเจริญเติบโต ของตนไมป ระเภทเถา การศกึ ษาสตู รเคร่ืองดื่มที่ผลิตจากธญั พชื ในการทาํ โครงงานประเภทการศกึ ษาคนควา ทดลอง จําเปน ตองมีการจดั การกับตัวแปรทจ่ี ะมผี ลตอการทดลอง มี 3 ชนดิ คือ 2.1 ตัวแปรตน หรือตัวแปรอิสระ หมายถงึ เหตุของการทดลอง นนั้ ๆ 2.2 ตัวแปรตาม ซง่ึ จะเปนผลทเ่ี กิดจากการเปลย่ี นแปลงของ ตัวแปรตน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะ 11 การเรยี นรู (ทร 02006)

2.3 ตัวแปรแทรกซอน (Extraneous Variables) เปนตัวแปร อื่น ๆ ท่อี าจมผี ลตอตัวแปรตาม โดยผวู ิจยั ไมตองการใหเกิด เหตกุ ารณน ้ันขึ้น 3.โครงงานท่เี ปนการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม ๆ เปนโครงงานที่มีวัตถุประสงคเพ่ือเสนอความรู หรือหลักการใหม ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึงที่ยังไมมีใครเคยคิด หรือคิดขัดแยง หรือ ขยายจากของเดิมที่มีอยู จากเน้ือหาวิชาการ หลักการ ทฤษฎีตาง ๆ นํามาปรับปรุง พัฒนาใหสอดคลองมีความชัดเจน มีผลงานที่เปน รูปธรรม ซึ่งตองผานการพิสูจนอยางมีหลักการและเช่ือถือได เชน การใชสมุนไพรในการปราบศัตรูพืช การใชพลังงานแสงอาทิตยใน การถนอมอาหารและปรุงอาหาร เกษตรแบบผสมผสาน เทคนิคการ แกโ จทยป ญ หา การทําโครงงานประเภทนี้ ผูทําโครงงานจะตองมีความรูใน เร่ืองนั้น ๆ เปนอยางดี จะสามารถอธิบายไดอยางมีเหตุผลและ นาเช่อื ถือ จงึ ไมเหมาะท่ีจะทาํ ในระดับผูเรียนมากนัก 4.โครงงานที่เปนการสรางประดิษฐ คิดคน เปนโครงงานที่มี วัตถุประสงค คือ การนําความรูทฤษฎี หลักการ มาประยุกตใชโดย ประดิษฐเ ปนเครอื่ งมือเคร่ืองใช เพอื่ ประโยชนต าง ๆ หรืออาจเปนการ สรางสรรคส่ิงประดิษฐข้ึนมาใหม หรือปรับปรุงของเดิมใหดีข้ึนใช ประโยชนไดมากยิ่งข้ึน เชน การประดิษฐเคร่ืองควบคุมการรดนํ้า การประดิษฐเคร่ืองรับวิทยุ การประดิษฐของชํารวย การออกแบบ เสอ้ื ผา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 12 การเรยี นรู (ทร 02006)

จากสาระสําคัญของการจัดประเภทโครงงาน ผูเรียนจะเห็นได วาโครงงานอาจจําแนกประเภทไดหลายแนวคิด เชน จําแนกตาม กิจกรรมการเรียนรูของการจัดทําโครงงานเปน 2 ประเภท คือ 1) โครงงานตามสาระการเรียนรู 2) โครงงานตามความสนใจ และ จาํ แนกตามวตั ถปุ ระสงคใ นการจัดทําโครงงานเปน 4 ประเภท คือ 1) โครงงานท่ีเปนการสํารวจ รวบรวมขอมูล หรือโครงงานประเภท สํารวจ 2) โครงงานที่เปนการศึกษาคนควา ทดลอง หรือโครงงาน ประเภททดลอง 3) โครงงานที่เปนการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือ แนวคิดใหม ๆ หรือโครงงานประเภทพัฒนา 4) โครงงานที่เปนการ สรา ง ประดษิ ฐ คดิ คน หรือโครงงานประเภทประดษิ ฐ การเรยี นรเู รื่องประเภทของโครงงานจะเปน ประโยชนตอผูเรียน ในการตดั สนิ ใจออกแบบโครงงานใหสนองตอวัตถุประสงคท่ีตองการ จะศกึ ษาไดอ ยา งเหมาะสม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 13 การเรยี นรู (ทร 02006)

กจิ กรรมทา ยบท บทที่ 2 ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง ประเภทของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการ คาํ ชแี้ จง ใหผ เู รยี นตอบคาํ ถามใหส มบรู ณ ขอที่ 1 การจาํ แนกประเภทโครงงานตามกจิ กรรมการเรียนรู แบงออกเปนก่ีประเภท อะไรบาง ............................................. ................................................ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................................ ................................................. ................. ขอ ท่ี 2 การจําแนกประเภท โครงงาน ตามวัตถุประสงคของ โครงงาน แบง ออกเปนกี่ประเภท อะไรบา ง ............................................. ................................................ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 14 การเรยี นรู (ทร 02006)

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................................ ................................................. ................. ขอท่ี 3 โครงงานประเภทใดไมจ าํ เปน ตอ งกําหนดตัวแปรในการ ทําโครงงานน้ัน พรอมอธิบายเหตุผลประกอบ ............................................. ................................................ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ................................................. ................................................ ................................................. ................................................ .................. ................................................. ................................................ ............................................... ขอท่ี 4 ตัวแปรทใ่ี ชในการศกึ ษาคนควาทดลองมีกี่ชนดิ อะไรบา ง หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 15 การเรยี นรู (ทร 02006)

............................................. ................................................ ................................................. ................................................ .................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ....................... ................................................. ................................................ ............................................... ขอ ที่ 5 การทําโครงงานประเภทใดท่ไี มเ หมาะสําหรบั ผูเ รียน มากนกั เพราะเหตุใด หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะ 16 การเรยี นรู (ทร 02006)

............................................. ................................................ ................................................. ................................................ .................... ................................................. ................................................ ............................................... ................................................. ....................... ................................................. ................................................ ............................................... หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ 17 การเรยี นรู (ทร 02006)

บทท่ี 3 ทกั ษะทจี่ าํ เปน ในการทาํ โครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู สาระสําคญั ความสามารถท่จี ะนํานวตั กรรมการจัดทําโครงงานไปเปน เครอื่ งมอื แสวงหาความรูในทางปฏบิ ตั ิ ไดนัน้ ผูเ รยี นจาํ เปนตองมี ทักษะเฉพาะทางในบางประการ การเรียนรูทกั ษะเหลา นัน้ จงึ เปน สงิ่ จาํ เปน สําหรับผเู รยี น ผลการเรยี นท่คี าดหวัง เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะในการทํา โครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรียนรู ขอบขา ยเนอื้ หา ทกั ษะที่จําเปน ในการทําโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู เรือ่ งท่ี 1 ทกั ษะดา นการจดั การขอ มลู สารสนเทศ เร่ืองที่ 2 ทักษะการคิดอยางเปนระบบ เรอ่ื งที่ 3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เร่ืองที่ 4 ทักษะการนําเสนอ เรอ่ื งท่ี 5 ทกั ษะการพัฒนาตอยอดความรู เรอื่ งท่ี 1 ทกั ษะดา นการจดั การขอ มูลสารสนเทศ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 14 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

“ ขอมูล (Data)” หมายถงึ กลุม ตัวอักขระท่ีเม่ือนํามารวมกันแลว มีความหมายอยางใดอยางหน่ึงและมีความสําคัญควรคาแกการ จัดเกบ็ เพือ่ นาํ ไปใชในโอกาสตอ ๆ ไป ขอมูลมักเปนขอความท่ีอธิบาย ถึง ส่ิงใดส่ิงหน่ึง อาจเปนตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณใด ๆ ท่ี สามารถนําไปประมวลผลดวยคอมพิวเตอรไ ด (www. itdestination.) “ ขอ มลู (Data) “ หมายถงึ ขา วสาร เอกสาร ขอเท็จจรงิ เกย่ี วกบั บุคคล ส่ิงของหรือเหตุการณในรูปแบบของตัวเลข ภาพ ตัวอักษร และสัญลักษณตาง ๆ เชนคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินคา จํานวนผูเรียนในโรงเรียน (www. thaigoodview.) “ขอมูล” หมายถึง ขอเท็จจริงตาง ๆ ท่ีมีอยูในธรรมชาติ เปน กลุมสัญลักษณแทนปริมาณ หรือการกระทําตาง ๆ ท่ียังไมผานการ วิเคราะห หรือการประมวลผล ขอมูลอยูในรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ รปู ภาพ แผนภมู ิ เปนตน (www. internationalschool.) “สารสนเทศ (Information)” หมายถึง ขอมูลตาง ๆ ที่ไดผาน การเปล่ียนแปลงหรือมีการประมวลผลหรือวิเคราะหสรุปผลดวย วิธีการตาง ๆ แลวเก็บรวบรวมไว เพ่ือนํามาใชประโยชนตามตองการ การประมวลผล (Data Processing) เปนการนําขอมูลจากแหลงตาง ๆที่เก็บรวบรวมไวมาผานกระบวนการตาง ๆเพ่ือแปรสภาพขอมูลให เปน ระบบและอยูในรปู แบบท่ีตองการ (www. thaigoodview.) “สารสนเทศ” หมายถึง ขอมูลท่ีผานการเปลี่ยนแปลง หรือจัด กระทําเพ่ือผลของการเพ่ิมความรู ความเขาใจของผูใช ลักษณะของ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 15 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

สารสนเทศ จะเปน การรวบรวมขอมูลหลาย ๆ อยางที่เก่ียวของกันเพื่อ จุดมุงหมายอยา งใดอยา งหน่ึง (internationalschool. eduzones.) “แหลงขอมูล” หมายถึง สถานท่ีหรือแหลงที่เกิดขอมูล แหลงขอมูลจะแตกตางกันไปตามขอมูลท่ีตองการ เชน บานเปน แหลงขอมูลท่ีเกี่ยวกับผูเรียน โดยบันทึกขอมูลไวในทะเบียนบาน หองสมุดเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับความรูตาง ๆ ขอมูลบางอยางเรา อาจจะนํามาจากแหลงขอมูลหลายแหลงได เชนราคาของเลนชนิด เดียวกัน เราอาจจะหาขอมูลจากแหลงขอมูลซ่ึงไดแกรานคาหลาย ๆ รานได และขอมูลหรือราคาที่ไดอาจจะแตกตางกันไป หนังสือพิมพ เปนแหลงขอมลู ทมี่ ที ั้งขอความ ตัวเลข รูปภาพ การเลอื กใชข อ มลู (www. 202. 143. 159. 117) การเลือกใชขอมูลในการตัดสินใจ เปนส่ิงท่ีมีประโยชนมาก เพราะในการดํารงชีวิตของคนเรามักเกี่ยวของกับเหตุการณตาง ๆ มากมาย จึงจําเปนตองอาศัยการตัดสินใจอยางมีระบบระเบียบ มีหลัก มีเกณฑและมีเหตุผล โดยนําปจจัยตาง ๆ มาพิจารณากอนที่จะ ตัดสินใจ เพื่อใหทางเลือกที่ดีที่สุด ซึ่ ง ต อ ง อ า ศั ย ท้ั ง ค ว า ม รู ประสบการณ ขอมูล ขาวสารตาง ๆ เปนสวนประกอบ เพ่ือไมใหเกิด ความผดิ พลาดหรอื โอกาสที่จะผิดพลาดมีนอ ยทส่ี ดุ การจดั ทาํ ขอ มลู ใหเ ปน สารสนเทศ (www. krutong.) การจัดทําขอมูลใหเปนสารสนเทศท่ีจะเปนประโยชนตอการใช งาน จําเปนตองอาศัยเทคโนโลยี เขามาชวยในการดําเนินการ เริ่ม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 16 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

ตั้งแตการรวบรวม และตรวจสอบขอมูล การดําเนินการประมวลผล ขอมูลใหกลายเปนสารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศเพ่ือการ ใชง าน ดงั ตอไปน้ี ก. การรวบรวมและตรวจสอบขอมลู 1) การเก็บรวบรวมขอมูล เปนเรื่องของการเก็บรวบรวม ขอมูลซึ่งมีจํานวนมาก และตองเก็บใหไดอยางทันเวลา เชน ขอมูล การลงทะเบียนเรียน ขอมูลประวัติบุคลากร ปจจุบันมีเทคโนโลยีชวย ในการจัดเก็บอยูเปนจํานวนมาก เชน การปอนขอมูลเขาเคร่ือง คอมพิวเตอร การอานขอมูลจากรหัสแทง การตรวจใบลงทะเบียนที่มี การฝนดินสอดําในตําแหนงตาง ๆ เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล เชนกัน 2) การตรวจสอบขอมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมขอมูลแลว จําเปนตองมกี ารตรวจสอบขอมูล เพ่ือความถูกตอง ขอมูลท่ีเก็บเขาใน ร ะ บ บ ต อ ง มี ค ว า ม เ ชื่ อ ถื อ ไ ด ห า ก พ บ ที่ ผิ ด พ ล า ด ต อ ง แ ก ไ ข การตรวจสอบขอมูลมีหลายวิธี เชน การใชผูปอนขอมูลสองคนปอน ขอ มลู ชดุ เดยี วกันเขา คอมพิวเตอรแลว เปรยี บเทยี บกนั ข. การประมวลผลขอมลู แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื 1) การประมวลผลดวยมือ วิธีน้เี หมาะกบั ขอ มลู จาํ นวนไมม าก และไมซ ับซอน อปุ กรณในการคํานวณไดแ ก เครือ่ งคิดเลข ลูกคดิ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 17 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

2) การประมวลผลดวยเคร่ืองจักร วิธีนี้เหมาะกับขอมูล จํานวนปานกลาง และไมจําเปนตองใชผลในการคํานวณทันทีทันใด เพราะตองอาศัย เครือ่ งจักร และแรงงานคน 3) การประมวลผลดวยคอมพิวเตอร วิธีน้ีเหมาะกับงานที่มี จํานวนมาก ไมสามารถใชแรงงานคนได และงานมีการคํานวณที่ ยุงยาก ซับซอน การคํานวณดวยเครื่องคอมพิวเตอร จะใหผลลัพธที่ ถูกตอ ง แมนยาํ และรวดเร็ว ลาํ ดบั ขน้ั ตอนในการประมวลผลขอมลู มดี งั น้ี 1) การจัดแบงกลุมขอมูล ขอมูลที่เก็บจะตองมีการแบงแยก กลุม เพ่ือเตรียมไวสําหรับการใชงาน การแบงแยกกลุมมีวิธีการท่ี ชัดเจน เชน ขอมลู ในโรงเรียนมีการแบง เปนแฟมประวัตินักเรียน และ แฟมลงทะเบียน สมุดโทรศัพทหนาเหลืองมีการแบงหมวดสินคาและ บริการ เพื่อความสะดวกในการคน หา 2) การจดั เรียงขอ มลู เม่อื จัดแบงกลุมเปนแฟมแลว ควรมีการ จัดเรียงขอมูลตามลําดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร เพ่ือใหเรียกใชงานได งายประหยัดเวลา ตัวอยางการจัดเรียงขอมูล เชน การจัดเรียงบัตร ขอมูลผูแตงหนังสือในตูบัตรรายการของหองสมุดตามลําดับตัวอักษร การจดั เรยี งชอ่ื คนในสมุดรายนามผใู ชโ ทรศัพท ทาํ ใหค นหาไดงาย 3) การสรุปผล บางครั้งขอมูลท่ีจัดเก็บมีเปนจํานวนมาก จําเปนตองมีการสรุปผลหรือสรางรายงานยอ เพื่อนําไปใชประโยชน ขอมูลที่สรุปไดน้ีอาจส่ือความหมายไดดีกวา เชน สถิติจํานวน นักเรียนแยกตามระดับแตล ะระดบั การศกึ ษา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 18 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

4) การคํานวณ ขอมูลที่เก็บมีเปนจํานวนมาก ขอมูลบางสวน เปนขอมูลตัวเลขที่สามารถนําไปคํานวณเพ่ือหาผลลัพธบางอยางได ดงั นั้นการสรางสารสนเทศจากขอมูลจึงอาศัยการคํานวณขอมูลท่ีเก็บ ไวดว ย ค. การจดั เกบ็ และดแู ลรกั ษาขอมลู ประกอบดว ย 1) การเกบ็ รกั ษาขอ มลู การเก็บรกั ษาขอ มูล หมายถงึ การนําขอมูลมาบันทึกเก็บไว ในสอื่ บนั ทึกตา ง ๆ เชน แผน บนั ทึกขอมลู นอกจากนี้ยังรวมถงึ การ ดแู ล และการทาํ สาํ เนาขอมลู เพื่อใหใชงานตอไปในอนาคตได 2) การคน หาขอมลู ขอ มลู ทจ่ี ดั เก็บไวมีจดุ ประสงคท่ีจะเรยี กใชงานไดตอไป การ คน หาขอมลู จะตองคนไดถ กู ตองแมนยํา รวดเร็ว จงึ มีการนาํ คอมพวิ เตอรเขามามีสว นชว ยในการทํางาน ทาํ ใหการเรียกคน กระทําไดง า ยและทันเวลา 3) การทาํ สาํ เนาขอ มลู การทําสําเนาเพ่ือที่จะนาํ ขอ มลู เก็บรักษาไว หรอื นาํ ไป แจกจายในภายหลัง จึงควรจัดเกบ็ ขอมลู ใหงายตอการทําสาํ เนา หรอื นําไปใชอีกครั้งไดโ ดยงาย 4) การสอื่ สาร ขอมูลตองกระจายหรือสงตอไปยังผูใชงานท่ีหางไกลไดงาย การสอ่ื สารขอมลู จึงเปน เรอื่ งสําคัญและมีบทบาทท่ีสําคัญยิ่งท่ีจะทําให การสง ขา วสารไปยังผใู ชทําไดรวดเรว็ และทนั เวลา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 19 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

ปจจุบันผูบริหารตองสามารถปฏิบัติงานใหรวดเร็ว เพื่อ ตอบสนองตอการแขงขันตลอดจนการผลักดันของสังคมท่ีมีการใช ระบบสื่อสารขอมูลที่ทันสมัย การแขงขันในเชิงธุรกิจจึงมากข้ึน ตามลาํ ดับ มกี ารใชเทคนิคทางคอมพวิ เตอรมาวิเคราะห แยกแยะ และ จัดสรรขอมูลใหเ ปน สารสนเทศ เพ่ือการตดั สินใจ ค ว า ม ก า ว ห น า ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ทํ า ใ ห ค อ ม พิ ว เ ต อ ร มี ความสามารถมากขึ้น มีขนาดเล็กลง และราคาถูกลง การนํา ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ม า ใ ช ง า น จึ ง แ พ ร ห ล า ย อ ย ง ร ว ด เ ร็ ว ตลอดจน ระบบสื่อสารกาวหนายิ่งขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหระบบขอมูลขององคการ ท่ีใชเ ทคโนโลยีเหลา นม้ี ปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน แ น ว ท า ง ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ใ ห ไ ด ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ เ พ่ื อ ก า ร จัดการจะเร่ิมจากการวิเคราะหความตองการ การวิเคราะหนี้จะไดจา การสอบถาม ซ่ึงจะทําใหทราบวาควรจะจัดโครงสรางขอมูลนั้นไวใน ระบบหรอื ไม ถาจัดเกบ็ จะประกอบดวยขอมูลอะไร มีรายละเอียดอะไร ตอบสนองการใชง านไดอ ยางไร ลกั ษณะของสารสนเทศทดี่ ตี อ งประกอบไปดว ยรายละเอยี ด ดงั นี้ 1) ความเที่ยงตรง (Accuracy) หมายถึง ปราศจากความเอน เอียง สารสนเทศที่ดีตองบอกลักษณะความเปนจริงท่ีเกิดขึ้น ไมช้ีนํา ไปทางใดทางหนึง่ 2) ตรงตามความตองการของผูใช (Relevancy) หมายถึง มี เนื้อหาตรงกบั เรอ่ื งท่ีตอ งการใชข องผใู ชแ ตละคน หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 20 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

3) ทันตอเวลา (Timeliness) หมายถึง สามารถนําสารสนเทศที่ ตองการไปใชไดทันตอเหตุการณท่ีเกิดขึ้น การจัดเตรียมสารสนเทศ ใหทันตอเวลาท่ีตองการใช มี 2 ลักษณะ คือ การจัดทําสารสนเทศ ลว งหนาตามกาํ หนดเวลาท่ีเหตุการณจะเกิดในอนาคต และการจัดทํา สารสนเทศอยางรวดเร็วเพื่อนําไปใชใ นเหตุการณท ก่ี ําลังเกดิ ขึน้ เรอื่ งที่ 2 ทักษะการคดิ อยา งเปน ระบบ ผูเรียนทุกคนตองมีประสบการณในการคิดเรื่องใด ๆ มาบาง แลว แตมีขอสังเกตวาบางคนอาจจะไมเคยตอบตนเองวา ความคิดคือ อะไ ร ซ่ึ ง ร าชบั ณฑิ ตสถ าน ไ ดใ หคว าม หมา ยข อง คํ าว า ” คิด ” หมายความวา ทําใหปรากฏเปนรูปหรือประกอบใหเปนรูปหรือเปน เรื่องข้ึนในใจ ใครครวญ ไตรตรอง คาดคะเน คํานวณ มุง จงใจ ต้ังใจ” ซึ่งสรุปไดวาการคิดเปนหนาที่หนึ่งของจิต ในขณะท่ีขอมูล ทางการแพทยคนพบวามนุษยใชสมองในการคิด และสมองซีกซาย คิดในเร่ืองของการมีเหตุผล และสมองซีกขวาคิดในเรื่องท่ีเปน อารมณความรูสึก การทําความเขาใจเกี่ยวกับการคิดมีขอบขายของ การเรียนรูเร่ืองความคิดไวโดยจัด มิติของการคิด (Dimension of Thinking) ไวเปนมติ ิตาง ๆ (เสนห จยุ โต) ไดแก 1. มิติเน้ือหาท่ีใชในการคิด ซึ่งประกอบดวยสาระเก่ียวกับ ขอมูลเก่ียวกับตนเอง ขอมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดลอม และขอมูล วิชาการ วิชาชพี 2. มิติดานคุณสมบัติที่เอ้ืออํานวยตอการคิด ซึ่งประกอบดวย สาระเกี่ยวกับคุณลักษณะของความเปนคนใจกวางและเปนธรรม หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 21 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

กระตือรือรนใฝเรียนใฝรู ชางวิเคราะหและบูรณาการ มุงม่ันสู ความสําเรจ็ และมีมนุษยสัมพันธ นา รักนา คบ 3. มิติดานทักษะการคดิ ซึง่ ประกอบดวยสาระเก่ียวกับ ทักษะสื่อ ความหมาย (การฟง การอาน การจดจํา การบรรยาย การทําให กระจาง การพูด การเขียน) และทักษะที่เปนแกน (การสังเกต การสํารวจ การซักคําถาม การจําแนกแยกแยะ การเปรียบเทียบ การเชื่อมโยง และการสรุปรวบยอด) 4. มิติดานลักษณะการคิด ซ่ึงประกอบดวยสาระเกี่ยวกับ คิด คลอง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดอยางมีเหตุผล คิดไกล และ คดิ ถูกทาง 5. มิติดานกระบวนการคิด ซึ่งประกอบดวยสาระเกี่ยวกับ การ คดิ “10 ชนิด” ไดแก 5.1 การคิดแบบวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) 5.2 การคิดแบบรเิ ริ่ม (Initiative Thinking) 5.3 การคดิ แบบสรางสรรค (Creative Thinking) 5.4 การคิดแบบกลยุทธ (Strategic Thinking) 5.5 การคิดแบบอยางเปนระบบ (System Thinking) 5.6 การคิดแบบบรู ณาการ (Integrative Thinking) 5.7 การคิดแบบเชิงเปรยี บเทียบ (Comparative Thinking) 5.8 การคิดเชงิ ประยุกตใ ช (Application Thinking) 5.9 การคิดเชิงสังเคราะห (Synthesis Thinking) 5.10 การคิดแบบแผนที่ (Mind Map Thinking) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พฒั นา 22 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

6. มิติดานการควบคุมและประเมินความคิดของตน ซ่ึง ประกอบดวยสาระเก่ียวกับ ประสิทธิผลของการบริหารมีวิธีการที่ดีขึ้น ปรับปรุงระบบงานดีขึ้น การพัฒนาสรางนวัตกรรมใหม สรางความ ไดเปรยี บในการแขง ขัน ศรินธร วิทยะสิรินันท ไดกลาววา ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการคิดในลักษณะตาง ๆ ซึ่งเปนองคประกอบของ กระบวนการคิดท่ีสลับซับซอน ทักษะการคิดอาจจัดเปนประเภทใหญ ๆ ได 2 ประเภท คือ 1. ทักษะพ้ืนฐาน (basic skills) หมายถึง ทักษะการคิดท่ีเปน พ้ืนฐานเบ้ืองตนตอการคิดในระดับท่ีสูงข้ึนหรือซับซอน ซ่ึงสวนใหญ จะเปนทักษะการสื่อความหมายท่ีบุคคลทุกคนจําเปนตองใชในการ สื่อสารความคิดของตน ไดแก ทั ก ษ ะ ก า ร ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย (communication skills) และทักษะการคิดท่ีเปนแกนหรือทักษะการ คิดทวั่ ไป (core or general thinking skills) 1.1 ทักษะการส่ือความหมาย ไดแก การฟง (listening) การ อาน (reading) การ รับรู (perceiving) การ จด จํา (memorizing) การจํา (remembering) การคงส่ิงที่เรียนไปแลวไว ไดภายหลังการเรียนนั้น (retention) การบอกความรูไดจากตัวเลือก ท่ีกําหนดให (recognizing) การบอกความรูออกมาดวยตนเอง (recalling) การใชขอมูล (using information) การบรรยาย ( describing) ก า ร อ ธิ บ า ย ( explaining) ก า ร ทํ า ใ ห ก ร ะ จ า ง หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 23 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

(clarifying) การพูด (speaking) การเขียน (writing) และการ แสดงออกถึงความสามารถของตน 1.2 ทักษะการคิดที่เปนแกนหรือทักษะการคิดท่ัวไป หมายถึง ทักษะการคิดท่ีจําเปนตองใชอยูเสมอในการดํารงชีวิต ประจําวันและเปนพ้ืนฐานของการคิดข้ันสูงที่มีความสลับซับซอนซ่ึง คนเราจําเปนตองใชในการเรียนรูเนื้อหาวิชาการตาง ๆ ตลอดจนใช ในการดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ ไดแก การสังเกต (observing) การสํารวจ (exploring) การต้ังคําถาม (questioning) การเก็บ รวบรวมขอมูล (information gathering) การระบุ (identifying) การ จําแนกแยกแยะ (discriminating) การจัดลําดับ (ordering) การ เปรียบเทียบ (comparing) การจัดหมวดหมู (classifying) การสรุป อางอิง (inferring) การแปล (translating) การตีความ (interpreting) การเช่ือมโยง (connecting) การขยายความ (elaborating) การให เหตุผล (reasoning) และการสรุปยอ (summarizing) 2. ทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดท่ีซับซอน (higher order or more complexed thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิด ทม่ี ีข้นั ตอนหลายช้ันและตองอาศัยทักษะการสื่อความหมายและทักษะ การคิดท่ีเปนแกนหลายๆ ทักษะในแตละข้ัน ทักษะการคิดขั้นสูงจึงจะ พัฒนาไดเมื่อเด็กไดพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐานจนมีความชํานาญ พอสมควรแลว ไดแก การสรุปความ (drawing conclusion) การ ใหคําจํากัดความ (defining) การวิเคราะห (analyzing) การ ผสมผสานขอมูล (integrating) การจัดระบบความคิด (organizing) หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 24 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

การสรางองคความรูใหม (constructing) การกําหนดโครงสราง ความรู (structuring) การแกไขปรับปรุงโครงสรางความรูเสียใหม (restructuring) การคน หาแบบแผน (finding patterns) การหาความ เช่ือพ้ืนฐาน (finding underlying assumption) การคิดคะเน / การ พยากรณ (predicting) การต้ังสมมุติฐาน (formulating hypothesis) การทดสอบสมมุติฐาน (testing hypothesis) การตั้งเกณฑ (establishing criteria) การพิสูจนความจริง (verifying) และการ ประยุกตใชความรู (applying) การคดิ อยางเปนระบบ (System Thinking) ทกั ษะการคิดนับเปนศักยภาพท่ีสําคัญสําหรับผูเรียนท่ีจะตองใช ในการวางแผน ดําเนินงาน และนําผลการจัดทําโครงงานไปใช อยางไรก็ตามขอเสนอแนะวา ทักษะการคิดทั้งหลายผูเรียนควรให ความสนใจพัฒนาฝกฝนทักษะการคิดเพราะเปนเครื่องมือสําคัญท่ีจะ ติดตัวและนําไปใชไดตลอดกาลอยางไมมีขีดจํากัด และเปนพิเศษ สําหรับทักษะการคิดแบบอยางเปนระบบ (System Thinking) เปน ลักษณะการคิดท่ีตองมีสวนประกอบสองสวนท้ังการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking) และการคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ซ่ึงตองเปนกระบวนการคิดที่มีปฏิสัมพันธกัน โดยกอใหเกิดพลังอยาง ใดอยา งหนึ่งหรือหลายอยาง สาํ หรับการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking) มีเทคนิคใน การพัฒนาตนเองดวย การฝกแยกแยะประเด็น ฝกเทคนิคการ คิดในการนาํ แนวคิดทฤษฎีท่ีไดเ รียนรูมาประยุกตใชกบั โครงงาน ที่ หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 25 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)

จะทําและใชเทคนิค STAS Model มาชวยในการคิดวิเคราะห ไดแก Situation Theory Analysis Suggestion สวนเทคนิคการคิดเชิง ตรรกะ (Logical Thinking) เปนการฝกทักษะการคิดแบบ ค ว า ม สั ม พั น ธ เ ชิ ง เ ห ตุ ผ ล ท้ั ง ค ว า ม สั ม พั น ธ ใ น แ น ว ด่ิ ง แ ล ะ ความสัมพนั ธในแนวนอน เรอื่ งท่ี 3 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การทาํ โครงงานผูเรยี นจําเปน ตองมีทักษะ ซง่ึ อาจแบง ออกได เปน 2 กลุมไดแ ก 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก การสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล การจําแนกประเภท การวัดการใชตัวเลข การพยากรณ การหาความสัมพันธระหวาง สเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การจัดกระทําและสื่อความหมาย ขอ มลู 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันสูง มี 5 ทักษะ ไดแก การกําหนดและควบคุมตัวแปร การตั้งสมมุติฐาน การกําหนดนิยาม เชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุป ทักษะท้ัง 5 นี้เปนเรื่องใหมและมีความสําคัญในการทําวิจัย ผูเรียน จาํ เปน ตองทาํ ความเขาใจใหชัดเจนกอน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐาน มี 8 ทักษะ ไดแ ก หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา 26 ทกั ษะการเรยี นรู (ทร 02006)