Polymerase chain reaction คือ

PCR Tube ใช้ในการกระบวนการเพิ่มสารพันธุกรรมด้วยวิธี Polymerase chain reaction หรือ PCR ซึ่งเทคนิคทางชีวโมเลกุล ที่ถูกใช้นิยมแพร่หลายทั้งใช้ในด้านการศึกษาและงานในด้านวิเคราะห์ ถูกนำไปประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และการเกษตรสามารถใช้ในการวินิจฉัยโรคต่าง ๆ ทั้งโรคติดเชื้อและโรคจากพันธุกรรม ศึกษาความผันแปรหรือกลายพันธุ์ของพันธุกรรมหรือยีน 

หนึ่งในเทคนิคที่นิยมของ PCR คือ Real-time PCR หรือ quantitative PCR (qPCR) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเพิ่มจำนวนดีเอ็นเอที่ต้องการศึกษาอย่างจำเพาะและสามารถติดตามวัดปริมาณการเพิ่มจำนวนของดีเอ็นเอเป้าหมายได้ในทุก ๆ รอบของการเพิ่มจำนวนในขณะที่ปฏิกิริยากำลังดำเนินอยู่ ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสิ้นสุดปฏิกิริยา (real-time detection) เทคนิคนี้ทำได้โดยอาศัยการตรวจวัดสัญญาณสารเรืองแสงที่ถูกปล่อยออกมา ปริมาณแสงที่วัดได้จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณดีเอ็นเอที่เพิ่มขึ้นจากปฏิกิริยาในแต่ละรอบ ซึ่งทำให้สามารถคำนวณกลับหาปริมาณสารพันธุกรรมตั้งต้นได้อย่างแม่นยำ นิยมใช้ในการตรวจโรค

Corning Thermowell GOLD PCR Tube

  • ผลิตจากพลาสติกชนิด polypropylene ที่มีขนาดบางสม่ำเสมอ เพิ่มประสิทธิภาพในเรื่องของการถ่ายเทความร้อน 
  • มีทั้งแบบ Individual และ 8 well PCR tube strips
  • PCR Tube มีฝา 2 แบบ คือแบบ Flat  และ แบบ Dome การออกแบบขอบของฝาที่ยื่นออกมาจากฝาจะยาวพิเศษ ซึ่งจะช่วยลดการระเหยและป้องกันการเปิดของฝาระหว่างการทำปฏิกิริยา  PCR Tube รูปแบบของฝาจะมีทั้งแบบที่เป็น Dome และ Flat ซึ่งความแตกต่างระหว่าง 2 ฝาคือ Dome จะช่วยในเรื่องประสิทธิภาพในการถ่ายเทความร้อน และขณะที่ฝาแบบ Flat จะสะดวกในการเขียน Lable บนฝา
  • ปราศจาก เอ็นไซม์ DNase และ RNase 
  • สามารถทำให้ปราศจากเชื้อด้วยการ Autoclave ที่ 121 องศาเซลเซียสได้
  • สามารถทนการปั่นเหวี่ยงได้ถึงระดับ 10,000 x g

Corning PCR Tube มีหลายสีด้วยกัน เพื่อใช้เป็น Colour Indicating ทำให้เป็นที่สังเกตุได้ง่าย หากมีการทำปฏิกิริยาหลายปฏิกิริยาจากผู้ใช้งาน ช่วยให้สามรถจดจำได้ง่ายมากขึ้น เช่นสีหนึ่งเป็นกลุ่มปฏิกิริยาของสารพันธุกรรมกลุ่มที่หนึ่ง และอีกสีหนึ่งเป็นกลุ่มปฏิกิริยาของสารพันธุกรรมกลุ่มที่สอง เป็นต้น

การตรวจแบบ PCR หรือ Polymerase Chain Reaction เป็นการตรวจที่ใช้เทคนิคการเพิ่มปริมาณชิ้นส่วนของดีเอ็นเอที่ต้องการศึกษาให้มีปริมาณเพิ่มขึ้นในเวลาที่รวดเร็ว โดยใช้หลักการง่ายๆ ซึ่งทางการแพทย์ได้นำเทคนิค PCR มาใช้กับการวินิจฉัยโรคในระดับยีน เช่น โรคทางพันธุกรรม โรคมะเร็ง ฯลฯ ซึ่งการตรวจแบบนี้ถือเป็นการตรวจที่มีความไว (sensitivity) และ ความจำเพาะ (specificity)สูง ทำให้ผลตรวจมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด นับเป็นนวัตกรรมที่ให้ผลแม่นยำที่สุดในขณะนี้

PolGene®Genotypic HIV-1 Drug Resistance Assay kit

เป็นชุดทดสอบตรวจ HIV-1 genotypic drug resistance ใช้สำหรับหาสายพันธุ์ของเชื้อไวรัสเอชไอวี ที่มีนิวคลิโอไทด์ที่กลายพันธุ์บนตำแหน่งของยีน polymerase gene ทำให้เชื้อดื้อยา เป็นชุดวิเคราะห์ด้วยหลักการ PCR nucleotide sequencing

SolGent Molecular Diagnosis

เบรียได้นำเข้าน้ำยาตรวจวิเคราะห์ทางอณูชีววิทยาของบริษัท โซลเจนท์ จำกัด ประเทศเกาหลี เพื่อเข้ามาจำหน่ายและให้บริการทางห้องปฏิบัติการ และได้ทดสอบจนมั่นใจแล้วว่าน้ำยาดังกล่าวมีคุณภาพดี ให้ผลเป็นที่น่าเชื่อถือ  ชุดตรวจวิเคราะห์ทางอณูชีววิทยาของโซลเจนท์อาศัยหลักการเพิ่มจำนวนดีเอนเอในเครื่อง PCR  เป็นน้ำยาพรีมิกซ์เข้มข้นที่เตรียมมาสำเร็จ 4 ส่วน ประกอบด้วยชิ้นดีเอนเอเริ่มต้น (primers) และตัวติดตาม (probe),  โมโนนิวคลิโอไทด์และเอนไซม์โพลีเมอเรสในสารละลายบัฟเฟอร์, ดีเอนเอควบคุม (control template) และน้ำกลั่น (nuclease free water)  เอนไซม์ Taq DNA polymerase ที่ใช้เป็นชนิดที่มีความคงตัวสูงแม้จะผ่านปฎิกิริยาซ้ำแล้วซ้ำอีกหลายรอบก็ตาม  ในชุดยังใช้ UDG (uracil DNA glycosylase) เพื่อป้องกันการเพิ่มจำนวนดีเอนเอปนเปื้อนอื่นๆที่ไม่จำเพาะกับปฏิกิริยา  น้ำยาชุดเล็กทำได้ 20 การทดสอบ  และ 100 การทดสอบในน้ำยาชุดใหญ่

น้ำยาโซลเจนท์แบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มที่ใช้ตรวจวินิจฉัยชนิดของโรคติดเชื้อ (pathogen detection) และกลุ่มที่วิเคราะห์ชนิดของจีโนไทป์ (genotyping test) ยีนต่างๆ  ชุดน้ำยามีทั้งที่ใช้กับเครื่อง PCR (ขึ้นต้นด้วย DiaPlexC)   และเครื่อง reat time PCR (ขึ้นต้นด้วย DiaPlexQ)

Polymerase chain reaction (abbreviated PCR) is a laboratory technique for rapidly producing (amplifying) millions to billions of copies of a specific segment of DNA, which can then be studied in greater detail. PCR involves using short synthetic DNA fragments called primers to select a segment of the genome to be amplified, and then multiple rounds of DNA synthesis to amplify that segment.

Polymerase chain reaction คือ



Narration

Polymerase chain reaction, PCR. So PCR dates back to the mid-1980s, which is more or less the time when the Human Genome Project was being considered and then started at the end of that decade. PCR has been really fundamental to so much of biology and biomedical research since then. Since we're at the Genome Institute, it's worth noting that it was a fundamental technology behind the early days of the Human Genome Project. And it has played an important role up till today. And it's going to continue to play one for a long time, I suspect, although you never know — there's always another groundbreaking technology.

Polymerase Chain Reaction ใช้ทำอะไร

Polymerase chain reaction หรือ PCR เป็นการเพิ่มจํานวนยีนหรือชิ้นส่วน DNA ที่สนใจในหลอดทดลองแบบ ซํ้าๆ กันหลายๆ รอบ (repeated cycles) โดยอาศัยการทํางานของเอนไซม์ polymerase ที่มีคุณสมบัติทนความร้อน (thermostable DNA polymerase) โดยจํานวน DNA ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละรอบปฏิกิริยาจะเป็นลักษณะแบบ exponential curve คํานวณได้ ...

ปฏิกิริยาใดที่ใช้สร้าง DNA

ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส (อังกฤษ: polymerase chain reaction; ตัวย่อ: PCR) เป็นกระบวนการสังเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในหลอดทดลอง ซึ่งกระบวนการนี้เลียนแบบกระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิต ผู้คิดค้นเทคนิคพีซีอาร์ คือ Kary Mullis พีซีอาร์ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

ปฏิกิริยา PCR ประกอบด้วยกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

ทุกๆ รอบ (cycle) ของปฏิกิริยา PCR มี 3 ขั้นตอน โดยปรกติจะให้ปฏิกิริยา PCR เกิดขึ้นซ้ำๆ จำนวน 20-30 รอบ ทำให้ได้ผลิตผล (PCR product) จำพวกที่สังเคราะห์ได้ มากคือ "short product" ที่มีขนาดความยาวกำหนดจากปลาย 5" ของ primers ทั้งสองสาย (รูปที่ 7.1) ถ้าคำนวณตามทฤษฎีแล้วจำนวนสายของ short product นี้ควรจะเพิ่ม 2 เท่า ใน ทุก ...

Amplification คืออะไร

(แอมพลิฟีเค' เชิน) n. การขยายออกให้กว้างหรือใหญ่ขึ้น, ภาวะที่ถูกขยายออก, การขยายข้อความหรือเรื่องราว, ข้อความหรือเรื่องราวที่ขยายออก, สิ่งที่ใช้ขยาย, การเพิ่มกำลังกระแสไฟฟ้าหรือการเพิ่มโวลต์, Syn. enlargement, Ant. reduction.