วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

หนังสือเรียนเพิ่มเติม ชุด Progress in Reading & Writing Book 1-3 เสริมสร้างพัฒนาการทักษะภาษาอังกฤษทั้ง 4 ด้าน (ฟัง พูด อ่าน เขียน) จะช่วยเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ในด้านการอ่านและเขียนที่หลากหลายและลึกซึ้งยิ่งขึ้น เพื่อยกระดับศักยภาพของผู้เรียน ด้วยแนวคิดแบบ Thinking Skills พร้อใด้วยแบบประเมินผลนักเรียนในหัวข้อ Apply Your Skills

110.00฿ 88.00฿

  • Sale!

    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

    Sale!

    มัธยมศึกษาปีที่ 5 , ภาษาอังกฤษ

    Impact 2 (Student Book)

    7501240100

    หนังสือเรียนและแบบฝึกหัดชุด Impact ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษครบทั้ง 4 ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ไปพร้อมๆกับเนื้อหาที่มีภาพประกอบจากลิขสิทธิ์แท้ของทีมสารคดีชื่อดัง National Geographic ช่วยเปิดประสบการณ์การเรียนการสอนใหม่ๆ มีการผสมผสานเนื้อหาด้านประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และเรื่องราวต่างๆจากทั่วมุกมุมโลก เข้าด้วยกัน โดยเนื้อหามีการนำตัวอย่างของ role model เรื่องราวของบุคคลหลากหลายอาชีพ ในทุกๆ Unit เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ พร้อมกิจกรรมโครงงานท้ายบทแบบ Express Yourself ที่จะช่วยเพิ่มเติมองค์ความรู้ ทบทวนเนื้อหา รวมถึงแนวทางการนำไปใช้เพื่อเตรียมตัวสอบให้แก่ผู้เรียน

    หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานฯ วิทยาศาสตร์กายภาพ ชั้น ม.5 เล่ม 2

    ................

              E-Book หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโ่ลยี วิทยาศาสตร์กายภาพ ชั้น ม.5 เล่ม 2 สามารถสั่งซื้อได้ โดยคลิกที่ชื่อร้านค้าที่ต้องการเพื่อเข้าไปสั่งซื้อแบบออนไลน์ (สามารถดู E-Book ได้ผ่านแอปพลิเคชันของร้านค้าเท่านั้น)  

    .................................

    ...................

    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

    คลิกที่รูปเพื่อดาวน์โหลดตัวอย่างหนังสือ

    ...
    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู
    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

     คลิกที่ชื่อร้านค้าเพื่อสั่งซื้อ

    หนังสือฉบับอิเล็กทรอนิกส์

    ......................

    Comments

    comments

    �����Է�ҹԾ��� �š�����¹Ẻ������ͷ���յ�ͼ����ķ���ҧ������¹����ͧ �ç���ਤ�Ե�͡�����¹�Ԫ��Է����ʵ��ͧ�ѡ���¹��鹻�ж��֡�һշ�� 3
    THE EFFECT OF COOOPERATIVE LEARNING METHOD ON LEARNING ACHIEVEMENT IN FORCE AND ATTITUDE TOWARDS SCIENCE OF PRATHOMSUKSA III STUDENTS. ���͹��Ե �ѵ���� �Ե�Ԥس
    Not Available �����Ҩ�������֡�� �����ѵ�� ����ҹ���, �.�.�ع�� ������Ҫ, Ed.D. ����ʶҺѹ ����Է����º�þ�. �ѳ�Ե�Է�����
    Burapha University. Chonburi (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. ����֡�� (��ѡ�ٵ���С���͹)
    Not Available �շ�診����֡�� 2546 ���Ѵ���(��) ����Ԩ�¤��駹���ըش������������֡�Ҽ����ķ���ҧ������¹���ਵ��Ե�͡�����¹�Ԫ��Է����ʵ��ͧ�ѡ���¹��鹻�ж��֡�һշ�� 3 ������¹���¡�����¹Ẻ������� �����������ҧ�繹ѡ���¹��鹻�ж��֡�һշ�� 3 �Ҥ���¹��� 2 �ա���֡�� 2545 �ͧ�ç���¹��ҹ����ԭ �����ʹ�����ࢵ �ѧ��Ѵ���ԧ��� �ӹǹ 1 ��ͧ���¹ ����ѡ���¹ 24 �� ������Ҩҡ�������Ẻ����� (Cluster Random Sampling) �����������ҧ���Ѻ������¹����͹Ẻ������ͨӹǹ 7 ���� ������ 3 �ѻ���� ����ͧ��ͷ����㹡�÷��ͧ���駹������ Ἱ����͹�Ԫ��Է����ʵ�� �ӹǹ 7 Ἱ����͹ Ẻ���ͺ�Ѵ�����ķ����Ԫ��Է����ʵ�� �ӹǹ 30 ��� �դ���ӹҨ��ṡ���������ҧ .25-.81 ��Ҥ����ҡ�������������ҧ .22-.79 ��Ҥ������������ҡѺ .90 ���Ẻ���ͺ�Ѵਵ��Ե�͡�����¹�Ԫ��Է����ʵ��ӹǹ 15 ��� �դ���ӹҨ��ṡ��¢�������ҧ .25-.80 ��Ҥ������������ҡѺ .84 ʶԵԷ����㹡��������������� ��� ���������Ţ��Ե/��ǹ���§ູ�ҵðҹ���ʶԵԷ��ͺ (t-test) �š���Ԩ�¾���� 1. �ѡ���¹������¹���¡�����¹Ẻ��������ռ����ķ�����ѧ��÷��ͧ�٧���ҡ�͹��÷��ͧ���ҧ�չ���Ӥѭ�ҧʶԵԷ���дѺ .01 2. �ѡ���¹������¹���¡�����¹Ẻ���������ਵ��Ե�͡�����¹�Ԫ��Է����ʵ����ѧ��÷��ͧ�٧���ҡ�͹���ͧ���ҧ�չ���Ӥѭ�ҧʶԵԷ���дѺ .01 ���Ѵ���(English) Not Available ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 141 P. ISBN 974-9604-43-1 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ ������¹Ẻ�������, �����ķ���ҧ������¹, ਵ��Ե�͡�����¹�Ԫ��Է����ʵ��, �ѡ���¹��鹻�ж��֡�һշ�� 3 �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ

    แก๊ส เป็นหนึ่งในสี่สถานะของสสาร ในภาวะที่อุณหภูมิและความดันเหมาะสม สารหลายชนิดสามรถเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สได้ ธาตุที่เป็นอโลหะ เช่น ไฮโดรเจน ฟลูออรีน ออกซิเจน ไนโตรเจน แก๊สเฉื่อย และสารประกอบโคเวเลนต์ที่มีมวลโมเลกุลต่ำบางชนิด เช่น;CO , CO2;,;NH3;,;SO2;มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้องโดยปกติแก๊สมักจะหมายถึงสารที่มีสภานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง ส่วนสารที่เป็นของเหลวที่ภาวะปกติ แต่ถูกเปลี่ยนแก๊สจะเรียกว่า;ไอ;(Vapour)แก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก อนุภาคจะอยู่ห่างกันมากเมื่อเปรียบเทียบกับของเหลวและของแข็ง ดังนั้น เมื่อบรรจุแก๊สไว้ในภาชนะ แก๊สจึงแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ ทำให้มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงตามขนาดและรูปร่างของภาชนะ แก๊สมีความหนาแน่นต่ำกว่าของแข็งและของเหลวมาก สามารถบีบอัดให้มีปริมาตรลดลงได้ สมบัติของแก๊ส

    สมบัติทั่วไปของแก็ส สมบัติทั่วไปของแก๊ส ได้แก่

    1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ บรรจุ ในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร แก๊สจะมีรูปร่างเป็นทรงกลมมีปริมาตร 1 ลิตร เพราะแก็สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค (โมเลกุล หรืออะตอม) น้อยมาก จึงทำให้อนุภาคของแก๊สสามารถเคลื่อนที่หรือแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ

    2. ถ้าให้แก๊สอยู่ในภาชนะที่เปลี่ยนแปลงปริมาตรได้ ปริมาตรของแก๊สจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ความดันและจำนวนโมล ดังนั้นเมื่อบอกปริมาตรของแก๊สจะต้องบอกอุณหภูมิ ความดันและจำนวนโมลด้วย เช่น แก๊สออกซิเจน 1 โมลมีปริมาตร 22.4 dm3;ที่อุณหภูมิ 0 C ความดัน 1บรรยากาศ (STP)

    3. สารที่อยู่ในสถานะแก๊สมีความหนาแน่นน้อยกว่าเมื่ออยู่ในสถานะของเหลวและของแข็งมาก เช่น ไอน้ำ มีความหนาแน่น 0.0006 g/cm3แต่น้ำมีความแน่นถึง 0.9584 g/cm3;ที่100 C

    4. แก๊สสามารถแพร่ได้ และแพร่ได้เร็วเพราะแก็สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยกว่าของเหลวและของแข็ง

    5. แก็สต่างๆ ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเมื่อนำมาใส่ในภาชนะเดียวกัน แก๊สแต่ละชนิดจะแพร่ผสมกันอย่างสมบูรณ์ทุกส่วน นั้นคือส่วนผสมของแก๊สเป็นสารเดียว หรือเป็นสารละลาย (Solution)

    6. แก๊สส่วนใหญ่ไม่มีสีและโปร่งใส่เช่นแก๊สออกซิเจน(O2)แก๊สไฮโดเจน(H2) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)แต่แก๊สบางชนิดมีสี เช่น แก๊สไนโตเจนไดออกไซด์ (NO2) มีสีน้ำตาลแดง แก๊สคลอรีน(Cl2) มีสีเขียวแกมเหลือง แก๊สโอโซน (O3) ที่บริสุทธิ์มีสีน้ำเงินแก่ เป็นต้น

    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

    ปริมาตร อุณหภูมิ และความดัน

    การวัดปริมาตรของแก๊ส เนื่องจากแก๊สบรรจุในภาชนะใดก็พุ่งกระจายเต็มภาชนะ ดั้งนั้น ปริมาตรของแก๊ส จึงมักหมายถึงปริมาตรของภาชนะที่บรรจุแก๊สนั้น;
    หน่วยของปริมาตร หน่วยของปริมาตร ที่นิยมใช้คือ ลูกบาศก์เดซิเมตร (dm3) หรือลิตร (litre) หรือ ลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3) (1 dm3=1000 cm3)

    อุณหภูมิ (Temperature) เป็นมาตราส่วนที่ใช้บอกระดับความร้อน-เย็นของสาร แต่อุณหภูมิไม่ได้บอกให้ทราบถึงปริมาตรความร้อนของสาร กล่าวคือ สารที่มีอุณหภูมิเท่ากันแสดงว่ามีระดับความร้อนเท่ากันแต่อาจจะมีปริมาตรความร้อนเท่ากันก็ได้ เครื่องมือวัดอุณหภูมิที่ใช้กันอย่างแพร่หลายคือเทอร์โมมิเตอร์

    การวัดอุณหภูมิของแก๊ส การวัดอุณหภูมิมาตราส่วนที่ใช้มีหลายแบบ คือ เซลเซียส;

    เคลวิน ฟาเรนไฮต์ โรเมอร์และแรงกิน แต่การวัดอุณหภูมิของแก๊สส่วนใหญ่ใช้ มาตราส่วนเคลวิน;

    (Kelvin Scale) หรือเรียกว่า มาตราส่วนสัมบูรณ์ (Absolute temperature scale) สัญลักษณ์ K และองศาเซลเซียส อุณหภูมิเคลวิน และองศาเซลเซียสมีความสัมพันธ์กันดังนี้
    อุณหภูมิเคลวิน = องศาเซลเซียส + 273.15; เช่น27 องศาเซลเซียส เท่ากับ 300.15 K หาได้ดังนี้อุณหภูมิเคลวิน = 27 + 273.15 = 300.15 K หมายเหตุ เพื่อความสะดวกในการคำนวณอาจใช้ 273 (ค่าโดยประมาณ) แทน 273.15 การวัดอุณหภูมิของแก๊สส่วนใหญ่ใช้อุณหภูมิเคลวิน (K) เพราะปริมาตรของแก๊สแปรผันตรงกับอุณหภูมิ ;

    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

    หมายถึง แรงที่กระทำต่อหน่วยพื้นที่ ที่ตั้งฉากกับแรงนั้น เนื่องจากความดันของแก๊สเกิดจากโมเลกุลของแก๊สชนผันงภาชนะ เพราะฉะนั้นความดันของแก๊สคือแรงที่โมเลกุลของแก๊สกระทำต่อผนังต่อหนึ่งหน่วนพื้นที่ของภาชนะ และความดันของแก๊สมีค่าเท่ากันหมดไม่ว่าจะวัดที่ส่วนใดของภาชนะ

    เครื่องมือวัดความดันของแก๊ส เครื่องมือที่ใช้วัดความดันของแก๊สเรียกว่า มาโนมิเตอร์ (Manometer) ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิด คือ1. ชนิดปลายปิด2. ชนิดปลายเปิด
    ชนิดปลายปิด และปลายเปิด มีลักษณะดังรูป

    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

    จากรูป ก. เพราะว่าที่ว่างเหนือปรอทเป็นสุญญากาศ
    ดังนั้น ความดันของแก๊ส = h มิลลิเมตรปรอท (mmHg)
    จากรูป ข. เพราะว่าปลายข้างเปิดมีความดันของบรรยากาศกดบนปรอท
    ดังนั้น ความดันของแก๊ส = ความดันของบรรยากาศ + h มิลิเมตรปรอท (mmHg) เครื่องมือวัดความดันของบรรยากาศ ความดันบรรยากาศ คือความดันของอากาศบนพื้นผิวโลก และความดันของบรรยากาศนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ คือที่พื้นที่ผิวโลกมีความดันมากกว่าในที่สูงๆ เช่น ภูเขา ทั้งนี้เพราะในที่สูงมีอากาศเจือจางกว่า เครื่องมือที่ใช้วัดความดันของบรรยากาศคือ บารอมิเตอร์ (Barometer)

    วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 ฟิสิกส์ ม.5 คู่มือครู

    จากรูป บารอมิเตอร์อย่างง่ายประกอบด้วยหลอดแก้วยาวประมาณ 80 – 100 cm มีปลายข้างหนึ่งเปิด เดิมปรอทในหลอดแก้วจนเต็ม จากนั้นคว่ำหลอดแก้วในภาชนะที่บรรจุปรอทอยู่แล้ว ความสูงของลำปรอทในหลอดแก้จะลดลง ทำให้เกิดที่ว่างซึ่งเป็นสุญญากาศ เรียกว่า ที่ว่างทอริเซลเลียน(Torricellian Vacuum) ลำปรอทยังคงค้างในหลอดแก้งเนื่องจากความดันบรรยากาศที่กดที่ผิวปรอทในภาชนะ จากรูปลำปรอทสูงเท่ากับ h cm เพราะฉะนั้นความดันของบรรยากาศมีค่าเท่ากับ h cmHg เช่น ในที่ซึ่งมีความสูงเท่ากับระดับน้ำทะเลจะมีความดันเท่ากับ 76 cmHg หรือ 760 cmHg หรือ 1 บรรยากาศ (1 atm)