คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    9 มีนาคม 2565 สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยามหิดล จัดงานเสวนาในหัวข้อ เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย: เราจะก้าวไปด้วยกัน ซึ่งงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการค้นคว้าวิจัยเพื่อทบทวนบทบาทและการทำงานในรอบ 2 ...

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    ความเท่าเทียมทางเพศ เป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญที่ผู้คนในสังคมถกเถียงกันต่อเนื่องยาวนาน ในบางประเทศนั้น แต่แรกเริ่มสิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างการเลือกตั้งก็ไม่ได้รับรองสำหรับทุกเพศ บางประเทศใช้เพศ ฐานะ วุฒิการศึกษา ...

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ถูกตั้งขึ้นภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ ที่ผ่านมา ประเทศไทยมี กสม. มาแล้วอย่างน้อย 3 ชุด โดยชุดที่ 3 เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2558 ...

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    การสรรหาผู้ที่จะมาเป็นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ชุดที่สี่ยังลุ่มๆ ดอนๆ เมื่อเปิดรับสมัครใหม่และเห็นรายชื่อผู้สมัครแล้ว พบคนหน้าเก่าที่อยู่กับแวดวงองค์กรอิสระ และยังมีหลายคนที่เกี่ยวโยงกับเครือข่ายของ คสช. ...

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    กรรมการสิทธิฯ มีมาแล้วสามชุด แต่ละชุดล้วนทำงานภายใต้แรงกดดันจากความขัดแย้งทางการเมือง และผลงานที่จะตรวจสอบการละเมิดสิทธิโดยรัฐก็อ่อนเบาจนสูญเสียความเชื่อถือจากสังคม ชุดที่สามตั้งขึ้นในยุคของ คสช. ทำงานได้ไม่นานก็ถูก เซ็ตซีโร่ ให้พ้นจากตำแหน่ง ...

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    ประเทศไทยมีองค์กรอิสระที่ตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบการทุจริตอยู่มากมาย เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน, คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.), ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.), คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.), ...

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เป็นผลจากแรงผลักดันและการเรียกร้องต้องการของประชาชน ที่มุ่งหวังให้มีกลไกอิสระ เพื่อทำหน้าที่ส่งเสริม คุ้มครอง ...

  • 25 มกราคม 2560 คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) จัดสัมมนา จัดเสวนารับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. .... (ร่าง พ.ร.ป.กสม.) โดย มีชัย ฤชุพันธ์ ประธานกรธ. เริ่มกล่าวว่า กสม.มีความแตกต่างไปจากองค์กรอิสระอื่น ...

  • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ย่อ

    ปัจจุบัน ร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ภายหลังการให้ความเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนชุดปัจจุบันมาแล้ว ทั้งนี้ ...

  • หลังคณะรัฐมนตรี (ครม.) ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. .... เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการทำเหมืองแร่ก็เริ่มดังขึ้น ...

(๑) ตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณีโดยไม่ล่าช้า
และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน
รวมทั้งการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง

(๒) จัดทำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอต่อรัฐสภาและ
คณะรัฐมนตรี และเผยแพร่ต่อประชาชน

(๓) เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภาคณะรัฐมนตรี
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กระเบียบ หรือคำสั่งใด ๆ
เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน

(๔) ชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม

(๕) สร้างเสริมทุกภาคส่วนของสังคมให้ตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิมนุษยชน

(๖) หน้าที่และอำนาจอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ