ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)

หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็กมีส่วนของหน่วยความจำและ ความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุดสามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC)

ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมากอาจเท่ากับหรือมากกว่า เครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมากดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียนสถานศึกษา และบ้านเรือนบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำหน่ายจนประสบความสำเร็จเป็น บริษัทแรก คือบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์

    เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

1.    แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทำ งาน (Desktop Computer)

ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

2.    แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกพาติดตัวอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer

ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

อ่านบทความต่อไป

ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์

มินิคอมพิวเตอร์

  ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)

      

หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็กมีส่วนของหน่วยความจำและ ความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุดสามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC)

ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมากอาจเท่ากับหรือมากกว่า เครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมากดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียนสถานศึกษา และบ้านเรือนบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำหน่ายจนประสบความสำเร็จเป็น บริษัทแรก คือบริษัทแอปเปิล


                                                            
                                              
<<<ประโยชน์ของไมโครคอมพิวเตอร์>>>

1. ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ
2.ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความสนุกสนานบันเทิง
3.ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก – ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM
4.ด้านการสื่อสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต สื่อสาร
5.ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรูปการ์ตูนออกแบบ6.ด้านการแพทย์์ ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน
7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคำนวณสูตรทาง

8.ประโยชน์ด้านการคำนวณ   การคำนวณ  หมายถึง  การบวก ลบ คูณ หาร
9. ประโยชน์ด้านการออกแบบและสร้างงานศิลปะ 
10.ประโยชน์ด้านการพิมพ์เอกสาร   การพิมพ์เอกสาร  

 

ที่มา

http://doungporn401.wordpress.com/2010/12/13/%E0 
https://www.google.co.th/search?psj=1&bav=on.2,or.r_qf.&

ประเภทคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ถูกแบ่งออกเป็น 4 ประเภทโดยแบ่งตามขนาด และความสามารถรวมถึงลักษณะงานที่แตกต่างกัน 1.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainfram Computer) 2.ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์(Super Computer) 3.มินิคอมพิวเตอร์(Mini Computer) 4.ไมโครคอมพิวเตอร์(Micro Computer)
1.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainfram Computer) วงจรและหน่วยความจำมีขนาดใหญ่ประมวลผลได้ทีละมากๆ มีขนาดใหญ่มีอุปกรณ์ต่อพ่วงมาก ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บเฉพาะ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์บางแห่งมีสถานีงาน(workstation) หรือเครื่องหมายปลายทาง(Terminal) มากกว่า 100 แห่ง มักใช้กับกิจการขนาดใหญ่ เช่น ธนาคารในการเก็บข้อมูลลูกค้า การเบิกจ่ายเงินเอทีเอ็ม (ATM =Automatic Teller Machine) สายการบิน ในการบันทึกการบิน การสำรองที่นั่ง เป็นต้น

2.ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์(Super Computer) ขนาดเล็กกว่าเมนเฟรม สร้างขึ้นเพื่อคำนวณเกี่ยวกับตัวเลขมากๆ เช่น งานด้านวิทยาศาสตร์ ,พยากรณ์อากาศ ,ด้านวิศวกรรม และงานที่ต้องใช้การประมวลผลสูงๆ

3.มินิคอมพิวเตอร์(Mini Computer) พัฒนามาจากเมนเฟรม และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยนำเทคโนโลยีสารกึ่งตัวนำมาผลิตวงจร โดยรวมทรานซิสเตอร์บรรจุใน ซิลิคอน เพียงตัวเดียวเพื่อสร้างวงจรขนาดเล็ก หรือเรียกว่า IC( Integrated Circuite)เพื่อลดต้นทุนการผลิต และมีราคาถูกรวมถึงการเคลื่อนย้ายสะดวกขนาดเท่าโต๊ะทำงาน มีความสามารในการทำงานสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ มักใช้ในกิจการขนาดย่อม เช่น โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล สถานศึกษา เป็นต้น

4.ไมโครคอมพิวเตอร์(Micro Computer) บางครั้งเรียกว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(PC= Personal Computer) หรือคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานกันในปัจจุบัน เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก ปัจจุบันมีการพัฒนาไปอย่างมากสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็วและมีหน่วยความจำสูงไมโครคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันเกือบกล่าวได้ว่ามีความสามารถเท่าหรือมากกว่าเมนเฟรมเมื่อ 20 ปีก่อน

ประเภทของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์สามารถจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ตาม ลักษณะการทำงาน, ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน และ ตามขนาดของคอมพิวเตอร์ ดังต่อไปนี้
จำแนกตามลักษณะการทำงาน
คือ การจำแนกประเภทคอมพิวเตอร์ตามลักษณะของข้อมูลที่นำเข้า ลักษณะการประมวลผลข้อมูล การเก็บข้อมูลและการนำข้อมูลไปใช้ สามารถแบ่งได้ เป็น 3 ประเภท ดังนี้

ก. คอมพิวเตอร์แบบอนาลอก (Analog Computer)

ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

คอมพิวเตอร์แบบอนาลอก(Analog Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถรับข้อมูลเข้ามาเป็นแบบอนาลอก (Analog) มีลักษณะเป็นปริมาณหรือจำนวนซึ่งมีหน่วยวัดแบบต่อเนื่อง เช่น ความเร็วของรถยนต์ อุณหภูมิของอากาศ ความดังของเสียง ความเข้มของแสง ข้อมูลประเภทนี้ไม่สามารถวัดออกมาเป็นจำนวนนับทีละ 1 หน่วยได้ แต่วัดออกมาเป็นค่าต่อเนื่องแบบทศนิยม คอมพิวเตอร์แบบนี้เหมาะสำหรับงานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การแพทย์และวิศวกรรมศาสตร์ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาลอก มี ข้อดีและข้อเสีย ดังตารางต่อไปนี้

ตาราง แสดงการเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาลอก
(Analog Computer)
ข้อดี
1เหมาะกับงานที่ใส่ข้อมูลเข้าไป แล้วต้องการผลลัพธ์ทันที
2. ผลลัพธ์ที่แสดงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีความผิดพลาด
3. ไม่มีความผิดพลาดในการปัดเศษทศนิยม
4. การสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ ประกอบน้อย ค่าใช้จ่ายไม่สูงมาก

ข้อเสีย
1. เหมาะสำหรับงานที่มีวัตถุประสงค์เป็น พิเศษ

2. ปรับปรุงไปใช้กับงานอื่น ๆ ได้ยาก
3. มีความสึกหรอในการใช้สูง
4. ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณขึ้นอยู่กับการสร้างเครื่อง5. เก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนน้อย6. การคำนวณตัวเลขภายในเครื่องมีความยุ่งยากมาก
ข. คอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Computer)

ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

คอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล(Digital Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานโดยสามารถรับข้อมูลประเภทที่ไม่ต่อเนื่อง เป็นจำนวนนับที่วัดเป็นหน่วยได้โดยตรง ข้อมูลที่ใช้เก็บเป็นรหัสตัวเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 มีความแม่นยำในการประมวลผลและการจัดเก็บข้อมูลไม่จำกัดเวลา เช่น จำนวนนักศึกษาในมหาวิทยาลัย จำนวนประชากร รายได้ จึงนิยมใช้คอมพิวเตอร์แบบดิจิตอลประยุกต์กับงานทั่ว ๆ ไป เช่น ด้านธุรกิจ ด้านการศึกษา เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอลมี ข้อดีและข้อเสีย ดังตารางต่อไปนี้
ตาราง แสดงข้อดีและข้อเสียของคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Computer)
ข้อดี
ข้อเสีย
1. มีอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์เป็น มาตรฐานเดียวกัน2. มีความคล่องตัวในการใช้งาน3. มีความสึกหรอในการใช้งานต่ำ ประหยัดค่าใช้จ่าย4. มีความเร็วในการประมวลผลสูง5. ออกแบบงานเพื่อประยุกต์ใช้กับคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอลได้ง่าย6. เหมาะสมกับงานที่ใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง การหาข้อมูลทางสถิติ ทางธุรกิจ
1. มีความผิดพลาดในการปัดเศษทศนิยม2. ข้อมูลที่นำเข้าและแสดงผลออกมาเป็นตัวอักขระเป็นส่วนใหญ่3. เสียค่าใช้จ่ายในการสร้างเครื่องมือและยากในการเขียนโปรแกรมควบคุมการ ทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. คอมพิวเตอร์แบบไฮบริด (Hybrid Computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

คอมพิวเตอร์แบบไฮบริด (Hybrid Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นำหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์แบบอนาลอก (Analog Computer) และแบบดิจิตอล (Digital Computer) มาทำงานร่วมกัน ลักษณะสำคัญ คือสามารถรับข้อมูลประเภทที่มีหน่วยวัดต่อเนื่อง (Analog) มาประมวลผลหรือแปลงเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล (Digital) แลกเปลี่ยนกันได้ โดยผ่านอุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ การวัดคลื่นสมองของผู้ป่วยในโรงพยาบาล ซึ่งเป็นหน่วยวัดแบบต่อเนื่อง จากนั้นแปลงเป็นสัญญาณให้เป็นข้อมูลตัวเลขที่ส่งให้คอมพิวเตอร์ทำการคำนวณในรูปแบบของข้อมูลดิจิตอลและแสดงผลลัพธ์ออกมาเป็นตัวเลขที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลทางการแพทย์ได้ เป็นต้น ซึ่งโดยทั่วไปเครื่องคอมพิวเตอร์แบบไฮบริดจะสร้างขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะด้าน เช่น คอมพิวเตอร์ทางด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอุตสาหกรรม เป็นต้น
จำแนกตามวัตถุประสงค์การใช้งาน
สามารถจำแนกคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้งาน ได้ 2 ประเภท ดังนี้
ก. คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ (General Purpose Computer)
คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ (General Purpose Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานได้หลาย ๆ ด้าน ตัวอย่างเช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานด้านธุรกิจในปัจจุบัน สามารถทำงานได้หลาย ๆ ด้านขึ้นอยู่กับโปรแกรมต่าง ๆ ที่นำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้จัดการพิมพ์เอกสาร คำนวณ นำเสนอผลงาน ใช้ในการวาดภาพ ใช้การเชื่อมโยงติดต่อสื่อสาร เป็นต้น ตัวอย่างเช่น เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC)
ข. คอมพิวเตอร์เฉพาะงาน (Special Purpose Computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

คอมพิวเตอร์เฉพาะงาน (Special Purpose Computer) คือ คอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อทำงานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง ทำงานด้วยโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาโดยเฉพาะเท่านั้น ไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานด้านอื่น ๆ ได้ เช่น คอมพิวเตอร์ควบคุมยานอวกาศ คอมพิวเตอร์ควบคุมเครื่องบิน คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ คอมพิวเตอร์ควบคุมเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
จำแนกตามขนาดของคอมพิวเตอร์ คือ การแบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ตามขนาดของหน่วยความจำและความสามารถในการประมวลผล รวมถึงประสิทธิภาพในการทำงานโดยรวมของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
ก. คอมพิวเตอร์แบบวางตักหรือแบบหิ้ว ( Laptop or Portable Computer) คอมพิวเตอร์แบบวางตักหรือแบบหิ้ว ( Laptop or Portable Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีความสามารถในการทำงานเทียบเท่าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ทำงานได้ทั้งในลักษณะเครื่องเดี่ยว ๆ (Stand Alone) หรือนำไปเชื่อมต่อเป็นระบบเครือข่าย (Local Area Network : LAN) มีอุปกรณ์ครบทุกอย่างภายในเครื่องเดียว มีน้ำหนักเบาสามารถพกพาติดตัวไปได้โดยสะดวก เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภท “Note Book Computer” ก็จัดอยู่ในประเภทนี้ด้วย ปัจจุบันราคาค่อนข้างแพงกว่าเครื่องไมโคร-คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) ทั่วไป คือประมาณ 50,000 -150,000 บาท
ข. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางครั้งเรียกว่า คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานอเนกประสงค์ทั่ว ๆ ไป ปัจจุบันไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงมาก มีความสามารถเทียบเท่าเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ แต่ราคาไม่แพงมากนักคือ ประมาณ 30,000 - 80,000 บาท สามารถซื้อมาใช้ภายในบ้านได้ ปกติไมโครคอมพิวเตอร์จะมีอุปกรณ์สำหรับการนำข้อมูลเข้า การประมวลผล และการแสดงผลประกอบเป็น 1 ชุด มีขนาดเล็กทำให้เคลื่อนย้ายได้โดยสะดวก ปกติเป็นเครื่องที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานเพียงคนเดียว จึงเรียกว่า “Personal Computer หรือ PC” เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในสำนักงานธุรกิจทั่วไป คอมพิวเตอร์ที่ใช้ภายในบ้าน คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในหน่วยงานราชการทั่วไป เป็นต้น นอกจากนั้นยังสามารถนำไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาต่อเชื่อมเป็นเครือข่ายภายหน่วยงานได้ เรียกว่า Local Area Networt (LAN) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานได้
ค. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer or Minis)
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

มินิคอมพิวเตอร์(Minicomputer or Minis) คือ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดตั้งโต๊ะไปจนถึงขนาดเท่ากับตู้เก็บเอกสาร มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลและประมวลผลด้วยความเร็วสูงกว่าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ และมีราคาสูงกว่าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้หลาย ๆ คนในเวลาเดียวกัน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมเครื่องจักรในโรงงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานธุรกิจขนาดกลาง เป็นต้น

ง. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)

ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainframe Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมินิคอมพิวเตอร์ ภายในระบบงานของเครื่องเมนเฟรมควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติเป็นส่วนใหญ่ เชื่อมต่อกันอุปกรณ์รับและแสดงผลได้เป็นจำนวนมากและหลายอุปกรณ์ ราคาสูงมาก บางเครื่องอาจมีราคาหลายล้านบาทขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ มักใช้เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางขององค์กรเพื่อกระจายและเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างสาขา อาทิเช่น คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางของธนาคาร บริษัทประกันภัย การรถไฟ สายการบิน มหาวิทยาลัย เป็นต้น
จ. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี ข้อเสีย

ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ในด้านธุรกิจจะใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเช่นเดียวกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่มักใช้กับองค์กรที่มีขนาดใหญ่มาก เช่น การควบคุมสาขาของบริษัททั่วโลก หรือใช้สำหรับงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีความต้องการประมวลผลข้อมูลจำนวนมากและต้องการความเร็วสูง เช่น การวิจัยทางด้านนิวเคลียร์ การพยากรณ์อากาศ การวิจัยบรรยากาศของโลก การวิจัยทางด้านอวกาศ เป็นต้น