แผนการสอน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ภาษาไทย

คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ประเมินค่าเรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้องและ

มีเหตุผลประกอบ ด้วยการคิดใคร่ครวญอย่างมีเหตุผล และฝึกฝนการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อจะได้
รับสื่อต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีเหตุผล และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ในชีวติ ประจำวัน
๔. สาระการเรยี นรู้

๑. ความหมายของวิจารณญาณ
๒. การอา่ นอย่างมีวิจารณญาณ
๓. ประเภทของสารทอี่ ่าน
๔. ขน้ั ตอนการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
๕. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน

๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร

๒. ความสามารถในการคิด

๖. ชน้ิ งาน/ภาระงาน

ใบงานเรื่อง การอา่ นอย่างมวี ิจารณญาณ
๗. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน

๑. ครูนำคำขวัญเนื่องในงานสัปดาห์หนังสอื ว่า “รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคอื หนังสอื ”
ใหน้ ักเรยี นอา่ นบนกระดาน และให้นักเรียนทกุ คนมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็ ว่า การอ่านหนงั สือมผี ลดี
อยา่ งไร

๒. ครูพยายามให้นักเรียนสรุปได้ว่า คุณค่าของการเลือกอ่านหนังสือที่ดี จะช่วยเสริมสร้างความรู้
ความคิดแก่ผู้อ่าน และสามารถนำความรนู้ ้ันไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในชีวติ ได้

ขั้นสอน
๓. ให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า การอ่านที่ดีมีลักษณะอย่างไร และวิจารณญาณ
กบั การอ่านมีความสมั พนั ธก์ นั อย่างไร โดยครกู ระตุน้ ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเหน็
๔. ครูอธบิ ายความหมายของคำว่า วิจารณญาณ ใหน้ กั เรียนฟัง (เพิ่มเตมิ กรณีที่นกั เรียนยังไม่สามารถ
อธบิ ายไดช้ ดั เจน) จากนัน้ ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความรู้เร่ือง วจิ ารณญาณในการฟงั และการอ่าน
๕. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ตามความสมัครใจ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านบทความที่ครู
นำมาแจกให้กล่มุ ละ ๓ เร่ือง แล้วชว่ ยกนั วิเคราะห์ว่าสารทอ่ี ่านน้นั เป็นสารที่มีเนอ้ื หาประเภทใด พร้อมทั้งเขียน
เหตผุ ลวา่ เพราะเหตใุ ดจึงเป็นสารประเภทน้นั
๖. ให้นกั เรยี นจำแนกประเภทของสารทอี่ า่ น แล้วเขยี นเปน็ แผนภาพความคิด

สารให้ความรู้

สารจรรโลงใจ ประเภทของสาร

สารโน้มน้าวใจ

๗. ครูอธิบายให้นกั เรยี นเข้าใจว่าปัจจุบนั นกั เรียนบริโภคข้อมูลข่าวสารจากแหลง่ ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย

ผู้รับสารจึงต้องรับสารอย่างระมัดระวัง คิดวิเคราะห์ก่อนที่จะรับข้อมลู ข่าวสารน้ัน ๆ ซึ่งนักเรียนสามารถนำ

ความรเู้ รอ่ื ง ขนั้ ตอนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ มาปรบั ใชไ้ ด้

๘. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องการรับสารทางอินเทอร์เน็ต ว่านักเรียนมีวิธีการรับสารนั้นอย่างมี

วิจารณญาณอยา่ งไรบ้าง

๙. ครูมอบหมายให้นักเรียนอ่านบทความในอินเทอร์เนต็ แลว้ คัดเลือกบทความโดยวิเคราะห์ประเภท

ของสาร คือ สารให้ความรู้ สารโน้มน้าวใจ และสารจรรโลงใจ อย่างละ ๑ บทความ แล้วส่งมาให้ครูทาง

ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-mail) โดยอ้างอิงแหล่งขอ้ มูลน้ันด้วย พร้อมเขยี นใหเ้ หตผุ ลดว้ ยว่า เหตุใดบทความ

ทส่ี ่งมานัน้ มเี น้อื หาประเภทนน้ั ๆ อยา่ งไร (เปน็ การตรวจสอบความเข้าใจผู้เรยี น)

*** ครูควรมหี รือสร้าง e-mail ส่วนตวั เพือ่ ให้นกั เรียนสง่ งานได้

๑๐. ใหน้ ักเรียนทำใบงานที่ ๑๗ เร่อื ง การอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ แลว้ รว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

ขัน้ สรปุ

๑๑. ให้นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้

๘. สือ่ การเรยี นรู้

๑. คำขวญั

๒. บทความ

๓. ใบงาน

๙. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

รายการประเมนิ วิธีการวดั ผล เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารวัด

ดา้ นความรู้ (K)

- อธิบายความหมายของ - ตรวจใบงาน - แบบการประเมนิ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ น

การอา่ นอยา่ งมี การอา่ นอย่างมี เกณฑ์

วิจารณญาณ วิจารณญาณ

รายการประเมิน วธิ ีการวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารวัด
ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ น
ด้านกระบวนการ (P) เกณฑ์

- เขยี นแผนภาพ -สังเกตพฤติกรรมการ - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่าน
เกณฑ์
ความคิดประเภทของ เข้ารว่ มกจิ กรรม การเข้าร่วมกิจกรรม
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
สารที่อ่าน เกณฑ์

ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)

- คณุ ลักษณะอันพึง - สังเกตความใฝ่เรยี นรู้ - แบบประเมิน

ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึง

ประสงค์

สมรรถนะที่สำคัญ

- สมรรถนะที่สำคญั - สงั เกตความสามารถใน - แบบประเมนิ

การสือ่ สารและ สมรรถนะทสี่ ำคัญ

ความสามารถในการคดิ

เกณฑ์การประเมนิ เรอ่ื ง การอา่ นอยา่ งมีวจิ ารณญาณ

เกณฑก์ ารประเมิน ดเี ยีย่ ม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)

การอ่านอยา่ งมี วิเคราะห์สารได้ วเิ คราะห์สารได้ วิเคราะห์สารได้ วิเคราะหส์ ารได้
วิจารณญาณ ถูกตอ้ งเกอื บทุกข้อ
ถูกตอ้ งทุกข้อ ถกู ต้องทกุ ข้อ ถูกต้องทุกขอ้ แต่ไม่สามารถอธบิ าย
เหตผุ ลที่
มคี วามรวดเร็ว บางข้ออาจใช้เวลาใน แตต่ อ้ งใช้เวลา หนกั แนน่ และอาจ
ตอ้ งมผี แู้ นะนำ
และแมน่ ยำ สามารถ การพิจารณาบา้ งแต่ พอสมควรและ

อธิบายเหตุผลได้ กส็ ามารถอธิบายเหตุ สามารถอธิบาย

ผลได้ เหตผุ ลได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ดเี ยยี่ ม = ๓ คะแนน
ดี = ๒ คะแนน
ผา่ น = ๑ คะแนน
ไมผ่ ่าน = ๐ คะแนน

แบบการประเมินเรื่อง การวิเคราะห์เรือ่ งและประเมินเรื่องทฟ่ี งั และดู
คำชี้แจง : ใหพ้ จิ ารณาพฤตกิ รรมตอ่ ไปนี้ แล้วใหร้ ะดบั คะแนนทตี่ รงกบั การปฏบิ ัตขิ องนักเรยี นตามความเปน็
จริง

เลขที่ ชอื่ -สกุล การวิเคราะหเ์ รือ่ ง คะแนน การแปลผล
และประเมินเรอ่ื งที่ฟงั และดู
ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน
(๓) (๒) (๑) (๐)

ลงชอ่ื ............................................... ผปู้ ระเมิน
(นางสาวสุภาพร ธานา)
............ / ............ / ...........

เกณฑก์ ารประเมินผลคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

ใฝเ่ รียนรู้

ตัวชีว้ ัดท่ี ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้

พฤตกิ รรมบ่งชี้ ดเี ยี่ยม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไมผ่ ่าน (๐)

๔.๑.๑ ตง้ั ใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เขา้ เรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไมต่ ้งั ใจเรียน

๔.๑.๒ เอาใจใส่และ ตงั้ ใจเรยี น เอาใจใส่ ต้งั ใจเรียน เอาใจใส่ ตง้ั ใจเรยี น เอาใจใส่

มคี วามเพียรพยายาม และมีความเพียร- และมีความเพยี ร- และมีความเพียร-

ในการเรยี นรู้ พยายามในการเรยี นรู้ พยายามในการเรยี นรู้ พยายามในการเรยี นรู้

๔.๑.๓ สนใจเข้ารว่ ม มสี ่วนรว่ มในการเรยี นรู้ มีสว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ มีส่วนร่วมในการเรยี นรู้

กิจกรรมการเรยี นรู้ และเข้ารว่ มกิจกรรมการ และเขา้ รว่ มกจิ กรรมการ และเข้าร่วมกิจกรรมการ

ตา่ ง ๆ เรียนรู้ตา่ ง ๆ เรียนรูต้ า่ ง ๆ เรียนรู้ต่าง ๆ บางครั้ง

ทัง้ ภายในและภายนอก ทง้ั ภายในและภายนอก

โรงเรียนเปน็ ประจำ โรงเรียนบอ่ ยครง้ั

และเปน็ แบบอยา่ งที่ดี

ตัวชว้ี ัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน

ด้วยการเลือกใช้สือ่ อยา่ งเหมาะสม บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เปน็

องคค์ วามรู้ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้

พฤติกรรมบง่ ช้ี ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไมผ่ ่าน (๐)

๔.๒.๑ ศกึ ษาคน้ ควา้ หา ศกึ ษาค้นคว้า ศกึ ษาค้นควา้ ศึกษาค้นควา้ ไมศ่ ึกษาคน้ ควา้

ความรจู้ ากหนงั สอื หาความรู้จากหนงั สอื หาความรจู้ ากหนังสือ หาความรจู้ ากหนังสือ หาความรู้

เอกสาร ส่งิ พิมพ์ เอกสาร ส่งิ พิมพ์ เอกสาร สิ่งพมิ พ์ เอกสาร สิง่ พมิ พ์

สื่อเทคโนโลยตี ่าง ๆ สอื่ เทคโนโลยี สือ่ เทคโนโลยี ส่อื เทคโนโลยี

แหล่งเรยี นรู้ทง้ั และสารสนเทศ และสารสนเทศ แหล่งเรียนร้ทู ั้งภายใน

ภายในและภายนอก แหลง่ เรียนรู้ทัง้ ภายใน แหล่งเรียนรูท้ ั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน

โรงเรยี น และเลือก และภายนอกโรงเรียน และภายนอกโรงเรยี น เลือกใช้สอื่ ไดอ้ ย่าง

ใช้สอ่ื ได้อย่าง เลือกใช้ส่ือได้อย่าง เลือกใช้ส่ือได้อย่าง เหมาะสม มีการบันทกึ

เหมาะสม เหมาะสม มกี ารบันทึก เหมาะสม มกี ารบันทึก ความรู้

๔.๒.๒ บันทกึ ความรู้ ความรวู้ เิ คราะหข์ อ้ มูล ความร้วู เิ คราะหข์ อ้ มลู

วเิ คราะห์ตรวจสอบ สรปุ เป็นองค์ความรู้ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้

จากส่งิ ทเี่ รียนรู้ แลกเปลี่ยนเรยี นรดู้ ้วย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

สรุปเป็นองค์ความรู้ วธิ กี ารทห่ี ลากหลายและ กบั ผู้อนื่ ได้ และนำไปใช้

๔.๒.๓ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เผยแพร่แกบ่ คุ คล ในชวี ิตประจำวนั ได้

ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ ทวั่ ไป นำไปใช้

เพอื่ นำไปใชใ้ น ในชวี ติ ประจำวันได้

ชวี ิตประจำวนั

แบบมาตรประเมินค่าเพอื่ ประเมนิ ผลคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
คำช้แี จง : ใหพ้ จิ ารณาพฤตกิ รรมตอ่ ไปนี้ แล้วใหร้ ะดับคะแนนท่ตี รงกับการปฏบิ ตั ขิ องนักเรียนตามความเป็น
จรงิ

เลข ชอ่ื -สกลุ ตวั ชว้ี ัดที่ ๔.๑ ตวั ชีว้ ดั ที่ ๔.๒ คะแนน การ

ท่ี แปลผล

ดี ดี ผา่ น ไม่ ดี ดี ผ่าน ไม่

เยีย่ ม (๒) (๑) ผา่ น เย่ียม (๒) (๑) ผ่าน

(๓) (๐) (๓) (๐)

ลงชื่อ ............................................... ผ้ปู ระเมิน
(นางสาวสุภาพร ธานา)
............ / ............ / ...........

เกณฑ์การประเมินสมรรถนะทสี่ ำคัญ

ตวั ชวี้ ัด เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ดีเยย่ี ม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไม่ผ่าน (๐)

๑. ความสามารถในการสอื่ สาร

๑.๑ พดู ถ่ายทอด พดู ถ่ายทอดความรู้ พูดถา่ ยทอดความรู้ พูดถา่ ยทอดความรู้ พดู ถา่ ยทอดความรู้

ความรู้ความเข้าใจ ความ เข้าใจจาก ความเขา้ ใจ จาก ความ เข้าใจจาก ความเขา้ ใจจาก

จากสารทอ่ี ่าน ฟัง สารทีอ่ ่าน ฟัง หรอื สารท่อี ่าน ฟัง หรอื สารท่อี ่าน ฟงั หรือ สารที่อา่ น ฟัง หรือ

หรือดู ด้วยภาษา ดดู ้วยภาษาของ ดู ดว้ ยภาษาของ ดู ด้วยภาษาของ ดตู ามแบบ

ของตนเอง พร้อม ตนเอง พรอ้ มยก ตนเอง พรอ้ มยก ตนเอง

ยกตัวอย่าง ตัวอยา่ งประกอบ ตวั อย่างประกอบ

ประกอบได้ สอดคลอ้ งกบั แตไ่ มส่ อดคล้องกบั

เร่อื งท่ถี ่ายทอด เรอ่ื งทีถ่ ่ายทอด

๑.๒ เขยี นถา่ ยทอด เขยี นถา่ ยทอด เขียนถา่ ยทอด เขยี นถา่ ยทอด เขยี นถา่ ยทอด

ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ

จำกสารที่ อา่ น ฟงั จำกสารท่อี ่าน ฟงั จำกสารทอี่ ่านฟัง จำกสารทอี่ ่านฟัง จำกสารท่ีอ่านฟงั

หรอื ดตู ามท่ี หรอื ดู ตามท่ี หรือดูตามท่ี หรอื ดตู ามท่ี หรอื ดตู ามที่

กำหนดได้ กำหนดได้อย่าง กำหนดได้อย่าง กำหนดได้อย่าง กำหนดไมไ่ ด้

ถูกตอ้ ง ครบถว้ น มี ถูกตอ้ งครบถ้วน มี ถกู ตอ้ งครบถว้ น มี

ข้อบกพร่องในการ ข้อบกพรอ่ งในการ ขอ้ บกพร่องในการ

ใช้ภาษา วรรคตอน ใชภ้ าษา วรรคตอน ใชภ้ าษา วรรคตอน

และการเขยี นคำ และการเขียนคำ และการเขียนคำ

ไม่เกิน ๒ แห่ง ตงั้ แต่ ๓ แหง่ แต่ ตงั้ แต่ ๖ แห่งข้ึนไป

ไมเ่ กิน ๕ แห่ง

๒. ความสามารถในการคิด

๒.๑ ระบหุ ลกั การ ระบหุ ลักการสำคญั ระบุหลกั การสำคัญ ระบุหลกั การหรอื ระบหุ ลกั การสำคัญ

สำคัญหรือ แนวคิด หรือแนวคดิ ใน หรอื แนวคดิ ใน แนวคิดทีม่ ี อยู่ใน หรือ แนวคดิ ใน

ในเนื้อหาความรู้ เนื้อหาความรู้หรอื เนอ้ื หาความรูห้ รือ เน้ือหาความรู้หรือ เนื้อหาความรู้ หรอื

ข้อมลู ทพี่ บเห็นใน ขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่พบ ข้อมลู ต่าง ๆ ทพ่ี บ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ทพี่ บ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่