ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.4 ppt

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.4 ppt

ครู ชำนาญการ at โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม

More Related Content

  1. 1. บทที่ 19 ความหลากหลายทางชีวภาพ โดย...ครูปินัชยา นาคจารูญ
  2. 2. ความหลากหลายทางชีวภาพ(Biodiversity) การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง
  3. 3. ระดับของความหลากหลายทางชีวภาพ โดย...ครูปินัชยา นาคจารูญ
  4. 4. ความหลากหลายทางพันธุกรรม(genetic diversity) ลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆที่ปรากฏให้เห็นโดยทั่วไป ทั้งในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันและระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
  5. 5. ความหลากหลายทางพันธุกรรม(genetic diversity)
  6. 6. ความหลากหลายทางพันธุกรรม(genetic diversity)
  7. 7. ความหลากหลายทางพันธุกรรม(genetic diversity)
  8. 8. ความหลากหลายทางพันธุกรรม(genetic diversity)
  9. 9. ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (Species Diversity) วัดได้จากจานวนชนิดของสิ่งมีชีวิต  รวมทั้งโครงสร้างอายุและเพศของประชากรด้วย
  10. 10. ความหลากหลายของชนิดหรือชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (Species Diversity)
  11. 11. ความหลากหลายของระบบนิเวศ(Ecological diversity) ขึ้นอยู่กับความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในประชากร และความรุนแรงของความแปรปรวนของสิ่งแวดล้อมอีกส่วนหนึ่ง
  12. 12. การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ โดย...ครูปินัชยา นาคจารูญ
  13. 13. การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ โดย...ครูปินัชยา นาคจารูญ
  14. 14. การจาแนกหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต ลาดับการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต (biological classification) อาณาจักร(kingdom)ไฟลัม(phylum) คลาส(class) ออร์เดอร์ (order) แฟมิลี (family) จีนัส(genus) และสปีชีส์ (species)
  15. 15. กาเนิดของชีวิต โดย...ครูปินัชยา นาคจารูญ
  16. 16. กาเนิดของชีวิต ยังไม่มีนักวิทยาศาสตร์ท่านใดสามารถพิสูจน์ได้อย่างชัดเจน หลุยส์ พาสเตอร์(Louis Pasteur)ได้ทาการวิจัยและพิสูจน์ได้ว่า สิ่งมีชีวิตกาเนิดมาจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
  17. 17. กาเนิดของชีวิต เอไอ โอพาริน(A.I.Oparin)ได้เสนอแนวคิดว่าสิ่งมีชีวิตไม่สามารถเกิดได้ ขึ้นเองในช่วงเวลาสั้นๆเพียงขั้นตอนเดียว แต่ต้องใช้เวลานานและซับซ้อน สันนิษฐานว่ากรดนิวคลิอิกชนิดแรกที่เกิดขึ้นคือRNA แล้วการสังเคราะห์ DNAจึงเกิดขึ้นภายหลัง
  18. 18. กาเนิดของชีวิต
  19. 19. กาเนิดของชีวิต
  20. 20. กาเนิดของชีวิต สแตนเลย์มิลเลอร์ (StanleyMiller)แสดงให้เห็นว่าสารประกอบ เช่นยูเรีย สามารถเกิดขึ้นได้ภายในชุดการทดลองที่คาดว่าเป็นสภาวะของโลกในระยะเวลานั้น คือไม่มีออกซิเจนแต่มีแก๊สมีเทนแอมโมเนียม น้าและแก๊สไฮโดรเจน
  21. 21. อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต โดย...ครูปินัชยา นาคจารูญ
  22. 22. อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต วิทเทเคอร์(R.H.WHITAKER)จาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็น5 อาณาจักร อาณาจักรโมเนอราอาณาจักรโปรติสตาอาณาจักรฟังไจอาณาจักรพืช และ อาณาจักรสัตว์
  23. 23. อาณาจักรมอเนอรา (KingdomMonera) โดย...ครูปินัชยา นาคจารูญ
  24. 24. แบ่งเป็น2 ไฟลัมใหญ่คือ ไฟลัมชิโซไฟตา(PhylumSchizophyta) คือพวกแบคทีเรีย ไฟลัมไซยาโนไฟตา(PhylumCyanophyta)คือพวกไซยาโนแบคทีเรีย
  25. 25. อาณาจักรมอเนอรา(KingdomMonera) ได้แก่ พวกแบคทีเรียมีผนังเซลล์เป็นสารพวกเพปทิโดไกลแคน ที่รู้จักมีประมาณ5,000สปีชีส์ แต่คาดว่าน่าจะถึง4 ล้านสปีชีส์ เป็นพวกโปรคาริโอตเซลล์ (ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส)
  26. 26. เพปทิโดไกลแคน
  27. 27. 1.1 ผนังเซลล์ (Cell Wall)  เป็นส่วนที่อยู่นอกของเยื่อหุ้มเซลล์  พบในเซลล์พืช สาหร่าย เห็ด รา แบคทีเรียแต่ไม่พบในสัตว์  มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงให้แก่พืช ประกอบด้วยเซลลูโลส  อาจพบสารอื่นๆ เช่น เพคทิน ซูเบอริน ลิกนิน และคิวติน
  28. 28. ลักษณะรูปร่างและการดารงชีวิต เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดประมาณ1 – 5 ไมโครเมตร มีรูปร่างหลายแบบเช่นทรงกลมเรียกค็อกคัส ทรงแท่งเรียกบาซิลลัส และทรงเกลียวเรียกสไปริลลัม มีทั้งสร้างอาหารเองได้และสร้างเองไม่ได้
  29. 29. ลักษณะรูปร่างและการดารงชีวิต
  30. 30. ลักษณะรูปร่างและการดารงชีวิต
  31. 31. ลักษณะรูปร่างและการดารงชีวิต
  32. 32. การจาแนกกลุ่มของแบคทีเรีย 2.1 ซับคิงดอมอาร์เคียแบคทีเรีย ได้แก่อาร์เคียแบคทีเรีย เป็นพวกที่ผนังเซลล์ไม่มีเพปทิโดไกลแคน ทนสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ เช่นเค็มจัด (ยูริอาร์เคียโอตา) ร้อนจัดเป็นกรดสูง (ครีนาร์เคียโอตา)
  33. 33. ซับคิงดอมอาร์เคียแบคทีเรีย
  34. 34. 2.2 ซับคิงดอมยูแบคทีเรีย 1) กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย(Proteobacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดเช่น E.coli ที่พบในลาไส้ มีความหลากหลายเช่นสามารถสังเคราะห์แสงได้ หรือตรึงแก๊สไนโตรเจนได้เช่นไรโซเบียมในปมรากถั่ว ที่ก่อโรคเช่นซาโมเนลลา และ วิบริโอซึ่งทาให้อาหารเป็นพิษท้องร่วง
  35. 35. 2.2 ซับคิงดอมยูแบคทีเรีย
  36. 36. 2.2 ซับคิงดอมยูแบคทีเรีย
  37. 37. 2) กลุ่มคลาไมเดีย(Chlamydias) เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในสัตว์ ทาให้เกิดโรคทางพันธุกรรมเช่นโรคหนองใน
  38. 38. 3) กลุ่มสไปโรคีท(Spirochetes) เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปร่างทรงเกลียว ยาวประมาณ0.25มม. บางชนิดดารงชีวิตอิสระ บางชนิดเป็นปรสิตก่อโรคซิฟิลิส ฉี่หนูเป็นต้น
  39. 39. 3) กลุ่มสไปโรคีท(Spirochetes)
  40. 40. 3) กลุ่มสไปโรคีท(Spirochetes)
  41. 41. 4) กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก เป็นแบคทีเรียที่พบได้ทั่วไป บางชนิดสามารถสร้างกรดแลกติกได้ เช่นแลคโตบาซิลลัสซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร บางชนิดใช้ทายาปฏิชีวนะเช่น Streptomycessp. บางชนิดก็ก่อโรคเช่นโรคแอนแทรกซ์ โรควัณโรคและเรื้อน บางกลุ่มไม่มีผนังเซลล์เช่นไมโคพลาสมาก่อโรคปอดบวมในคนและวัว
  42. 42. Streptomycessp
  43. 43. Streptomycessp
  44. 44. 4) กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก
  45. 45. 4) กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก
  46. 46. 5) ไซยาโนแบคทีเรีย(Cyanobacteria) เป็นแบคทีเรียสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เพราะมีสารสีพวกคลอโรฟิลล์ แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน เชื่อกันว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่ทาให้ออกซิเจนเพิ่มขึ้นและก่อให้เกิดโลกในปัจจุบัน เป็นกลุ่มผู้ผลิตที่สาคัญบางชนิดสามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนได้ ผนังเซลล์เป็น celluloseและ pectin
  47. 47. 5) ไซยาโนแบคทีเรีย(Cyanobacteria)
  48. 48. อาณาจักรมอเนอรา(KingdomMonera) 1. ซับคิงดอมอาร์เคียแบคทีเรีย- อาร์เคียแบคทีเรีย=ชอบร้อนชอบเค็ม 2. ซับคิงดอมยูแบคทีเรีย 2.1โพรีโอ– แกรมลบไรโซเบียม 2.2คลาไมเดีย– แกรมลบ หนองใน 2.3สไปโรคีท– แกรมลบ ซิฟิลิส ฉี่หนู 2.4แกรมบวก - แลคโตบาซิลลัส,ยาปฏิชีวนะ(สเตรปโตมายซิส), แอนแทรกซ์, วัณโรค,ปอดบวม(ไมโคพลาสมา) 2.5ไซยาโนแบคทีเรีย– สังเคราะห์ด้วยแสงได้,ตรึงไนโตรเจนได้
  49. 49. การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย ส่วนใหญ่สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่าTransverseBinaryFission บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้3 รูปแบบคือConjugation, TransformationและTransduction
  50. 50. การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย
  51. 51. การจาแนกBacteria 4.1ลักษณะทางสัณฐานวิทยาได้แก่ รูปร่าง 4.2ตามอาหารที่ได้รับแบ่งเป็น พวก Autotrophและ Heterotroph 4.3การติดสีของผนังเซลล์ [ Gramstain] แบ่งเป็นแกรม+ และแกรม -
  52. 52. การจาแนกBacteria
  53. 53. การจาแนกBacteria 4.4การหายใจความต้องการใช้อากาศหรือO2 4.5ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ: อาหาร สภาพแวดล้อม 4.6ลักษณะทางแอนติเจน
  54. 54. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 5.1แบคทีเรียมีribosomeชนิด70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNAโดยเป็น singlecircularDNA
  55. 55. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
  56. 56. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 5.2ผนังเซลล์ (cellwall) ประกอบด้วยpeptidoglycan 5.3Capsuleเป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ ไม่เหมาะสมและทนต่อการทาลายของเม็ดเลือดขาว
  57. 57. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
  58. 58. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 5.4Pililมีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็กช่วยให้เกาะยึด ติดกับผิววัสดุและ Sexpilli ใน Conjugation
  59. 59. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
  60. 60. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
  61. 61. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 5.5Mesosomeเป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปใน cytoplasm จะพบบริเวณที่จะมีการแบ่งเซลล์
  62. 62. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 5.6Flagellaเป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่
  63. 63. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 5.7Plasmidเป็นDNAที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรียลักษณะของ พลาสมิดเป็นDNAวงแหวนและเป็นเกลียวคู่
  64. 64. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
  65. 65. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
  66. 66. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 5.8 Endosporeเป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรียบางชนิดเป็นโครงสร้างที่ทา ให้แบคทีเรียมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
  67. 67. ความสาคัญของแบคทีเรีย ด้านการเกษตรเช่นใช้เป็นปุ๋ย การทดสอบคุณภาพน้า ทางด้านการแพทย์เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ และใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเช่นผักดองปลาส้มนมเปรี้ยวเนยแข็ง
  68. 68. ความสาคัญของแบคทีเรีย ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช  เป็นผู้ผลิตอาหารและ O2 มี PROTEINสูง ใช้ทาอาหารเสริม
  69. 69. โทษของแบคทีเรีย ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย ทาให้เกิดโรคต่างๆใน คนเช่นไทฟอยด์ อหิวาตกโรคปอดบวมวัณโรคคอตีบ ในสัตว์ เช่นแอนแทรกซ์บาดทะยักและพืชเช่นโรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
  70. 70. ความสาคัญของแบคทีเรีย