ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ข้อสอบ

1. เศรษฐกิจพอเพียงนั้น ภาษาอังกฤษ คือ

 Sufficiency Economy

 Sufficiencience Economy

 Sufficiency Economic

 Sufficiency Economiw

2. Self-Sufficiency นั้นหมายความอย่างไร ตามความหมายของรัชกาลที่ 9

 ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ยืมคนอื่นบ้าง อยู่ได้ด้วยตนเอง

 ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่น อยู่ได้ด้วยตนเอง

 ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่น อยู่ได้ด้วยครอบครัว

 ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่น อยู่ได้ด้วยสังคม

3. Self-Sufficient Economy มีความหมายอย่างไร

 การที่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างเดือดร้อน ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น

 การที่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างไม่เดือดร้อน ต้องพึ่งพาผู้อื่น

  การที่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างไม่เดือดร้อน ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น

 การที่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างเดือดร้อน ต้องพึ่งพาผู้อื่น

4. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน หรือในภาษาอังกฤษ คืออะไร

 Sustainably Development

 Sustainable Developmy

 Sustainable Develops

 Sustainable Development

5. หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ก็คือการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานอะไร

 การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

 การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

 การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความไม่มี
เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

 การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในสังคม

6. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน กรอบแนวความคิด คือ

  พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง
บูรณาการ

 พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง
ระบบ

 พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงปิด

 พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถน ามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงเปิด

7. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน คุณลักษณะคือ

 เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นระบบ

 เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นบันได

 เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน

 เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นยั่งยืน

8. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้นประกอบด้วยกี่คุณลักษณะ

 4 คุณลักษณะ

 2 คุณลักษณะ

 5 คุณลักษณะ

 3 คุณลักษณะ

9. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงต้องอาศัยทั้งเงื่อนไขอะไรเป็นพื้นฐาน

 ความรู้และคุณธรรม

 ความรู้และจริยธรรม

 ความรู้และจรรยาบรรณ

 ความรู้และประสบการณ์

10. ผลจากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ก็คืออะไร

 การพัฒนาที่เสมอและยั่งยืน

 การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน

 การพัฒนาที่สมดุลและมั่งคั่ง

 การพัฒนาที่สมดุลและมั่นคง

11. เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่นำไปสู่ความสามารถแบบใดบ้าง

 ครอบครัว

 สังคม

 พึ่งตนเอง

 ประเทศชาติ

12. แนวพระราชดำริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรโดยแบบใด

 แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นระบบ

 แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นบัญชี

 แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นรูปธรรม

 แนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นขั้นตอน

13. ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐานเทียบได้กับ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ที่มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรโดยแบบใด

 มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้ำ ต้องพึ่งน้ำฝนและประสบความเสี่ยงจากการที่น้ าไม่พอเพียง

 มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ ต้องพึ่งน้ำฝนและประสบความเสี่ยงจากการที่น้ำไม่พอเพียง

  มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้ำ ไม่ต้องพึ่งน้ำฝนและประสบความเสี่ยงจากการที่น้ำไม่
พอเพียง

 มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้ำ ต้องพึ่งน้ำฝนและประสบความเสี่ยงจากการที่น้ำพอเพียง

14. ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองค์กร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 ก็คือ

 การสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือบริษัท หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกันในลักษณะ เครือข่ายวิสาหกิจ

 การสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกันในลักษณะ เครือข่ายวิสาหกิจ

 การสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือหมู่บ้าน หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกันในลักษณะ เครือข่ายวิสาหกิจ

 การสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือต าบล หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกันในลักษณะ
เครือข่ายวิสาหกิจ

15. ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า อันครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 คือ

 ส่งเสริมให้หมู่บ้านหรือเครือข่ายวิสาหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ในประเทศ

 ส่งเสริมให้ท้องถิ่นหรือเครือข่ายวิสาหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ในประเทศ

 ส่งเสริมให้ชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ในประเทศ

 ส่งเสริมให้ชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ระหว่างประเทศ

16. รัชกาลที่ 9 ได้ทรงเน้นนย้นแนวทางการพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานในการพึ่งตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ การ รู้จักความพอประมาณ การคนนึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนอย่างไร

 ทรงเตือนสติประชาชนคนไทยยึดทางสายกลาง

 ทรงเตือนสติประชาชนคนไทยมีพรหมวิหาร 4

 ทรงเตือนสติประชาชนคนไทยมีอิทธิบาท 4

 ทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาท

17. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีเป้าหมายหลักคืออะไร

 สร้างเครือข่ายเรียนรู้ ให้มีการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นกรอบความคิด เป็นแนวทางในการปฏิบัติ

 .สร้างเครือข่ายองค์ความรู้ ให้มีการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นกรอบความคิด เป็นแนวทางในการปฏิบัติ

 สร้างเครือข่ายสังคม ให้มีการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นกรอบความคิด เป็นแนวทางในการปฏิบัต

 สร้างเครือข่ายการพัฒนา ให้มีการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นกรอบความคิด เป็นแนวทางในการปฏิบัติ

18. วัตถุประสงค์ของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ก็คือ

 สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้ประชาชนทุกคนสามารถนำหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ให้ได้อย่างเหมาะสม

 สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้ประชาชนทุกคนสามารถนำหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ให้ได้อย่างเหมาะสม

 สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้ประชาชนทุกคนสามารถนำหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ให้ได้อย่างดี

 สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงให้ประชาชนทุกคนสามารถนำหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ให้ได้ตามสถานการณ

19. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงจะเป็นลักษณะเครือข่ายและระดมพลังจากทุกภาคส่วนแบ่งเป็น 2 เครือข่ายก็คือ

 เครือข่ายด้านประชาสังคมและสังคม, เครือข่ายธุรกิจเอกชน

 เครือข่ายด้านประชาชาติและชุมชน, เครือข่ายธุรกิจเอกชน

 เครือข่ายด้านประชาสังคมและชุมชน, เครือข่ายธุรกิจเอกชน

 เครือข่ายด้านประชาสังคมและชุมชน, เครือข่ายธุรกิจรัฐวิสาหกิจ

20. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น โดยความพอเพียง หมายถึง

 ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี
ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน

 ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี
ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน

 ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี
ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน

 ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมี
ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน