พร บ ดิจิทัล 2562 มี กี่ มาตรา

พิมพ์โดย: Open Development Thailand

“รัฐบาลดิจิทัล” หมายความว่า การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงาน ภาครัฐและการบริการสาธารณะ โดยปรับปรุงการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการทำงาน ให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน ในการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐต่อสาธารณชน และสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ทรัพยากรข้อมูล (2)

  • บริการภาครัฐ
  • กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
  • การบริการกฎหมายด้านรัฐประศาสนศาสตร์
  • นโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ

ตัวอย่างทรัพยากรข้อมูล - พระราชบัญญัติ การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562

ข้อมูลเพิ่มเติม

ฟิลด์ค่า
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ (ช่วงข้อมูล)
  • ไทย
หน่วยงาน/ส่วนงานออกกฎหมาย
  • สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ภาษา
  • ภาษาอังกฤษ
  • ไทย
ประเภทเอกสารที่เป็นทางการพระราชบัญญัติ
ชื่อเรื่องแบบย่อ พรบ. รัฐบาลดิจิทัล
หัวข้อเรื่อง
  • บริการภาครัฐ
  • กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
  • การบริการกฎหมายด้านรัฐประศาสนศาสตร์
  • นโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ
ใบอนุญาต Other (Public Domain)
ลิขสิทธิ์No
ข้อจำกัดการใช้งานและเข้าถึง

This law is under the public domain.

สถานะลงนามและมีผลบังคับใช้
วันที่บันทึก (ร่าง) 19 พฤษภาคม ค.ศ. 2019
วันที่นำไปใช้/วันที่ประกาศใช้/วันที่ลงนาม 19 พฤษภาคม ค.ศ. 2019
วันที่มีผลบังคับใช้ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 2019
อ้างอิงสิ่งพิมพ์ราชกิจจานุเบกษา หน้า 57 เล่ม 136 ตอนที่ 67 ก 22 พฤษภาคม 2562 Published in the Government Gazette, Vol. 136, Part 67 a, Page 57, dated 22nd May B.E. 2562 (2019)
เชื่อมโยงไปยังแหล่งที่มาhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/067/T_0057.PDF (Translation version) https://www.dga.or.th/wp-content/uploads/2021/02/6.pdf
ติดต่อ

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

คำสำคัญDigital Government,Digitality,Digitization,Public Administration and Services Delivery
วันที่อัพโหลด เมษายน 10, 2020, 05:03 (UTC)
แก้ไขเมื่อ กันยายน 9, 2021, 09:23 (UTC)

ตัวชี้วัดการพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล > การประเมินตัวชี้วัดของส่วนราชการระดับจังหวัด > เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง > พ.ร.บ.การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562

พ.ร.บ.การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562

10 มกราคม 2563    


พ.ร.บ.การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562


เอกสารประกอบ

 

พร บ ดิจิทัล 2562 มี กี่ มาตรา

1. เกิดการบูรณาการร่วมกันและลดปัญหาการทำงานซ้ำซ้อนระหว่างหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐจะมีการทำงานที่บูรณาการกันมากขึ้น เนื่องจากกฎหมายกำหนดให้ต้องเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐและการทำงานให้มีความสอดคล้องกัน รวมทั้งมีแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลเพื่อกำหนดกรอบและทิศทางการบริหารงานภาครัฐและการจัดทำบริการสาธารณะในรูปแบบดิจิทัล [อ้างอิง มาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 12 และมาตรา 13]

2. ลดขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการเนื่องจากมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเกิดความสะดวกและลดภาระในการปฏิบัติงานที่ซ้ำซ้อน เนื่องจากมีการนำระบบดิจิทัลมาที่เหมาะสมมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานและการให้บริการประชาชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพรวมทั้งเกิดการทำงานอย่างเต็มศักยภาพ ตลอดจนสามารถเรียกใช้ข้อมูลภาครัฐที่ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปแบบดิจิทัลมาใช้เพื่อสนับสนุนการทำงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ [อ้างอิง มาตรา 4 มาตรา 12 มาตรา 13 และมาตรา 15]

3. มีธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐเป็นกรอบในการบริหารจัดการข้อมูล หน่วยงานของรัฐมีระบบบริหารจัดการข้อมูลของภาครัฐและข้อมูลของประชาชนที่อยู่ในการควบคุมหรือครอบครองของหน่วยงานของรัฐให้มีความมั่นคงปลอดภัย เนื่องจากมีธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐเป็นกรอบในการกำกับดูแลและการบริหารจัดการ รวมทั้งกำหนดสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารจัดการข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ [อ้างอิง มาตรา 7 มาตรา 8 และมาตรา 12]

4. ภาครัฐโปร่งใส และประชาชนมีส่วนร่วม หน่วยงานของรัฐมีระบบการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ เนื่องจากกฎหมายนี้กำหนดให้ต้องเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการหรือข้อมูลเปิดภาครัฐผ่านรูปแบบหรือช่องทางดิจิทัล ขณะเดียวกันประชาชนสามารถใช้ข้อมูลเปิดภาครัฐในการมีส่วนร่วม ติดตาม และตรวจสอบการทำงานของภาครัฐได้ด้วย [อ้างอิง มาตรา 17 และมาตรา 18]

5. ลดภาระค่าใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ กฎหมายฉบับนี้มีวัถตุประสงค์สำคัญประการหนึ่ง โดยกำหนดให้การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล จะต้องเป็นไปเพื่อรักษาวินัยการเงินการคลังและเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ ให้เกิดความคุ้มค่าและเป็นไปตามเป้าหมาย โดยมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินความคุ้มค่าของการดำเนินการ รวมทั้งต้องพัฒนาให้มีกลไกการใช้ข้อมูลเพื่อลดความซ้ำซ้อนและเกิดความสอดคล้องกับแผนงานและโครงการต่าง ๆ ของหน่วยงานของรัฐด้วย [อ้างอิง มาตรา 4 (5)]

6. เจ้าหน้าที่ของรัฐได้รับการพัฒนาหรือยกระดับทักษะด้านดิจิทัล กฎหมายฉบับนี้กำหนดให้คณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลมีหน้าที่และอำนาจที่สำคัญประการหนึ่งในการกำหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล ขณะเดียวกันยังกำหนดให้ สพร. มีหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนทางวิชาการเพื่อยกระดับทักษะความรู้ความสามารถด้านดิจิทัลให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ นอกจากนี้ยังกำหนดให้หน่วยงานของรัฐต่าง ๆ มีหน้าที่ต้องส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลแก่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานอีกด้วย [อ้างอิง มาตรา 7 (4) มาตรา 10 (6) และมาตรา 12 (6)]

7. สร้างความพึงพอใจให้กับประชาชนผู้รับบริการจากภาครัฐ เมื่อการดำเนินการต่าง ๆ บรรลุเจตนารมณ์ตามกฎหมายฉบับนี้ ตลอดจนสามารถพัฒนาหน่วยงานของรัฐให้ยกระดับสู่การเป็น “รัฐบาลดิจิทัล” ประโยชน์สุดท้ายย่อมเกิดแก่ประชาชน กล่าวคือเมื่อได้รับความสะดวก รวดเร็ว ไม่สร้างภาระเกินจำเป็นจากบริการภาครัฐ ประชาชนย่อมเกิดความพึงพอใจ และเกิดความรู้สึกที่ดีต่อกันระหว่างภาครัฐในฐานะผู้ให้บริการและประชาชนในฐานะผู้รับบริการ [อ้างอิง วัตถุประสงค์ของกฎหมายในมาตรา 4] 

-------------------------------------------------

อ่านข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม

พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 (Government digital 2019)

-------------------------------------------------