แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

หลายท่านคงได้มีโอกาสนำเสนองานวิชาการมาบ้างแล้ว นะครับ แต่คิดว่าอีกหลายท่านคงอยากได้เกร็ดความรู้เรื่องเทคนิคการนำเสนอ   ดังนั้นผมขออนุญาต อ.ลักขณา  ไทยเครือ  จาก มช  นำมาถ่ายทอดสู่พันธมิตรทางวิชาการ   โดยขอแบ่งเป็นตอนๆ นะครับ ดังนี้

 ขนาดตัวอักษร

1) กะขนาดโดยลองจากการวางบนพื้นJeff Radel แนะนำให้ใช้กระดาษขนาด 4 x 6 นิ้ว มาร่างข้อความที่ผู้นำเสนอจะนำเสนอ แล้ววางกระจายบนพื้นห้อง ผู้นำเสนอเดินผ่านแล้วลองอ่านดู ถ้าอ่านได้ถือว่าขนาดดี แต่ถ้ายืนบนเก้าอี้แล้วยังสามารถอ่านได้ถือว่าดีกว่า2) กะขนาดโดยลองจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ลองขึ้นบทความที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ แล้วถอยห่างจอประมาณ 1.80 เมตร(6 ฟุต ) ถ้าอ่านได้ชัดเจนดี ถือว่าขนาดดี3) กะขนาดโดยลองจากสไลด์ถ้ามีสไลด์เก่า ๆ ที่เคยนำเสนอแล้วหรือของผู้อื่นที่เคยทำหรือของผู้นำเสนอเองที่ทำเสร็จแล้ว ให้หยิบตรงมุมใดมุมหนึ่งของสไลด์ ยื่นออกไปจนสุดแขนแล้วอ่านดูว่าได้หรือไม่ อีกวิธีคือเอาสไลด์มาสลับสับเปลี่ยนไปมาแล้วลองจัดเรียงใหม่ให้ถูกต้อง โดยยื่นสไลด์แต่ละแผ่นไปสุดแขนแล้วอ่านข้อความดู ถ้าเรียงได้ถูกต้องถือว่าดี  แบบตัวอักษรขนาดตัวอักษรยังขึ้นกับชนิดตัวอักษรที่เลือก ถ้าเป็นภาษาอังกฤษ ตัว TimeNew Roman จะสวยสำหรับงานพิมพ์ แต่ในความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนเห็นว่าCodial หรือ Arial จะชัดเจนกว่าเวลานำเสนอ (ขนาดขอบและความหนาของเส้น)ถ้าเป็นภาษาไทยอาจจะเป็น Codia New สำหรับขนาดตัวอักษรที่เห็นชัดเจนจะเป็นตัวหนา (Bold) ขนาด 18-24 ถ้าเป็นหัวข้ออาจถึงขนาด 36-48 สำหรับหมายเหตุท้ายตารางหรือหมายเหตุตัวย่อที่ใช้ต่าง ๆ อาจเล็กลงมาถึง 15 –18 ได้ อ.ลักขณา นิยมใช้ขนาดตัวอักษรคละกัน โดยหัวข้อที่พึ่งนำเสนอครั้งแรกมีขนาดใหญ่ 36-48 ถ้ายังไม่จบมีเนื้อหาในแผนถัดไปจะใช้ขนาดเล็กลง 18-24 แล้วย้ายขึ้นไปอยู่บรรทัดแรกชิดขอบซ้ายและมีเส้นขีดด้านล่างแบ่งขอบเขตเนื้อหาใช้วงเล็บต่อท้ายหัวข้อว่า (ต่อ) หรือ (cont.) เพื่อให้ผู้ฟังรู้ว่ายังเป็นเรื่องเดิมอยู่ส่วนพื้นที่ที่เหลือจะได้ลงรายละเอียดในเนื้อหาเพิ่มขึ้น ส่วนหัวข้อรองจะมีขนาด30-42 (ตัวอย่างที่ สไลด์ที่ ) แล้วแต่ความเหมาะสมว่ามีหัวข้อรองกี่ระดับ แต่ไม่นิยมที่จะมีเกิน 2-3 ระดับ เพราะจะทำให้ตัว เล็กลงเรื่อย ๆ จนอ่านไม่ได้ อีกวิธีหนึ่งอาจจะใช้การย่อหน้าและสีแตกต่างกันเข้าช่วยโดยคงขนาดเดิมไว้

         การมีสไลด์ที่ดูดีสวยงามถือเป็นสิ่งสำคัญมาก และนี้คือ เทคนิคการออกแบบ Power Point ดีๆ ที่นำมาฝากกัน ใครที่ต้องการจะออกแบบ Power Point แต่นึกไม่ออกว่าจะทำยังไง ก็ลองเอาเทคนิคพวกนี้ไปปรับใช้กันได้เลย

ไม่ว่าจะเป็นงานประชุม งานเขียน งานขาย งานโฆษณานั้นล้วนต้องใช้ PowerPointในการพรีเซนต์ทั้งสิ้น  เวลาที่เราต้องทำการพรีเซนต์งานต่างๆ ทั้งตอนเมื่อสมัยเรียนจนมาถึงเวลาตอนทำงาน เราก็ยังคงใช้โปรแกรม PowerPoint ในการ Presentation กันอยู่ตลอดเวลา แต่รู้ไหมว่าการที่จะทำให้งานที่เราพรีเซนต์ออกมาให้สมบูรณ์แบบที่สุด ไม่ใช่แค่เพียงตอนที่เรากำลังพูดนำเสนองานเท่านั้น แต่สไลด์งานบน PowerPoint ก็มีส่วนสำคัญที่จะช่วยทำให้งานของเราน่าสนใจ สามารถดึงดูดผู้อ่านให้คล้อยตามและยังทำให้ผู้อ่านเข้าใจสิ่งที่เรานำเสนอได้ง่ายยิ่งขึ้นอีกด้วย ซึ่งเราก็มีเทคนิคการทำ PowerPoint ในการนำเสนอข้อมูลงานไม่ให้น่าเบื่อ ดูน่าสนใจ เข้าใจง่าย และดูมีความเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้นมาฝากกันค่ะ

ไม่ควรใส่ข้อความเกิน 6 บรรทัด

         ในแต่ละสไลด์ที่พรีเซนต์ถ้ามีตัวหนังสือเต็มหน้าไปหมด คงไม่น่าอ่านใช่มั้ยล่ะ การกะระยะและขนาดตัวหนังสือที่พอดี อ่านง่าย ชัดเจนจะทำให้สไลด์ดูดีมากยิ่งขึ้น

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

จุด Bullet เชยไปแล้ว

         ลองหลีกเลี่ยงการใช้จุด Bullet กันดีมั้ย เริ่มจากใส่หัวข้อสไลด์ที่ดึงดูดให้น่าสนใจด้วยรูปแบบต่างๆ และใส่ข้อความของเราแบบสไลด์ต่อสไลด์แทนการใช้จุด Bullet หลายๆ จุดกันดีกว่า

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

เลือกใช้แบบอักษรที่เหมาะสม

         การเลือกรูปแบบอักษรถือว่าเป็นสำคัญอย่างหนึ่ง ควรใช้แบบอักษรที่มาตรฐาน และถ้าหากเราใช้พื้นหลังเป็นสีดำ ข้อความก็ควรจะเป็นตัวหนาและเป็นสีที่ตัดกันเพื่อสะดวกในการอ่านมากขึ้น

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

ขนาดของตัวอักษร

เวลาดูในจอคอมพิวเตอร์ก็ดูพอดีแล้วนะ ทำไมเวลาขึ้นจอพรีเซนต์ทำไมมันเล็กจัง? หลายคนเจอปัญหานี้ วิธีแก้คือ เวลาที่เรากำหนดขนาดตัวอักษร จำไว้ว่าตัวอักษรที่พอดีคือขนาดที่คนหลังสุดของห้องสามารถอ่านได้ก็เพียงพอแล้ว

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

ความคมชัดระหว่างข้อความและพื้นหลัง

         หากภาพพื้นหลังของเราดูลายตา อาจจะทำให้คนอื่นมองไม่เห็นข้อความของเราก็ได้ เพื่อให้มองเห็นข้อความของเราชัดเจน พื้นหลังควรเป็นสีเรียบ ไม่ฉูดฉาด และสีของข้อความควรเป็นสีที่ตัดกับพื้นหลัง หรืออาจจะมีการเพิ่มลูกเล่นโดยการใส่กรอบข้อความเพื่อให้ข้อความดูโดดเด่นน่าสนใจมากขึ้น

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

ในแต่ละสไลด์ควรใช้ไม่เกิน 5 สี

Less is More บางครั้งการใช้สีมากเกินความจำเป็นอาจจะทำให้สไลด์ของเราดูรกตา แล้วดึงดูดความสนในจากเนื้อหาที่เราต้องการพรีเซนต์ เลือกใช้ความเข้มและอ่อนของข้อความเน้นความสำคัญเช่นหัวข้อ และเนื้อหาตามลำดับ 

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

เน้นข้อความโดยใช้สีตัดกัน

         เหมือนกับการทำข้อความให้เป็นตัวหนาหรือตัวเอียงนั่นแหละ แต่วิธีดีนี้มีข้อดีตรงที่ ถ้าเราเลือกใช้สีที่สะดุดตาและต้องเป็นสีที่ต่างจากข้อความปกติ สำหรับข้อความที่เราต้องการจะเน้น เปรียบเหมือนการทำไฮไลท์ข้อความ

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

รูปภาพช่วยสื่ออารมณ์

        ภาพประกอบจำเป็นมั้ยนะ เอาเป็นว่าการเลือกภาพมาประกอบกับข้อความของเราจะทำให้สไลด์ของเราดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้น และช่วยทำให้ผู้ชมเข้าใจสิ่งที่เราต้องการจะสื่อมากขึ้นอีกด้วย

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

รูปเดียวก็เพียงพอ

         ในหนึ่งสไลด์ก็ไม่ควรใส่รูปภาพเยอะเกินไป เพราะอาจทำให้ความสำคัญของแต่ละภาพลดลงและที่สำคัญคือความเชื่อมโยงระหว่างภาพที่ต้องคำนึงถึงด้วย การออกแบบที่ดีควรมีภาพเดียวต่อหนึ่งสไลด์และมีข้อความประกอบสักเล็กน้อยก็เพียงพอแล้ว

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

การมีสไลด์ที่ดูดีสวยงามถือเป็นสิ่งสำคัญมาก และนี้คือ เทคนิคการออกแบบ Power Point ดีๆ ที่นำมาฝากกัน ใครที่ต้องการจะออกแบบ Power Point แต่นึกไม่ออกว่าจะทำยังไง ก็ลองเอาเทคนิคพวกนี้ไปปรับใช้กันได้เลยCredit: https://visage.co/11-design-tips-beautiful-presentations/#modal-single-610

Previous

Next

โทรขอคำปรึกษา

ADD LINE

You might also enjoy

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

“6 วิธีรับมือกับภาวะ Burnout ตอนทำวิจัย”

“6 วิธีรับมือกับภาวะ Burnout ตอนทำวิจัย”ภาวะหมดไฟ หรือ Burnout คือภาวะที่จิตใจของเรามีการสะสมความเครียดแบบเรื้อรังจนนำไปสู่ความอ่อนล้าทางร่างกายและอารมณ์ มองความสามารถตัวเองในเชิงลบ ไปจนถึงรู้สึกว่าตัวเองไม่ประสบความสำเร็จไม่ว่าจะเรื่องใดก็ตาม ไม่มีแรงจูในในการทำงาน

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

“5 สกิลที่แนะนำให้เรียนออนไลน์เพิ่มเติม”

“5 สกิลที่แนะนำให้เรียนออนไลน์เพิ่มเติม”ในยุคสมัยที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทกับชีวิตผู้คนส่วนใหญ่มากขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีมากขึ้นเรื่อยๆ เราเองก็ต้องพัฒนาทักษะของตนเองให้เพิ่มมากขึ้นเพื่อเตรียมพร้อมกับการแข่งขันในอนาคต เรามี 5 สกิลติดตัวที่เป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการทำงานส่วนตัวจนถึงระดับองค์กร ซึ่งสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองหรือมีเป็นคอร์สให้เรียนออนไลน์ได้มาแนะนำให้เพื่อนๆ ค่ะ5 สกิลที่แนะนำให้เรียนเพิ่มเติมเพื่อเตรียมพร้อมกับอนาคต

แต่ละสไลด์ในการนำเสนอควรมีตัวอักษรกี่บรรทัด

“7 วิธีง่ายๆ ช่วยโฟกัสการอ่านหนังสือ”

“7 วิธีง่ายๆ ช่วยโฟกัสการอ่านหนังสือ”เพื่อนๆ เป็นกันไหม? อยากจะอ่านหนังสือให้ให้สำเร็จ แต่ก็ฟุ้งซ่านจากสิ่งต่างๆ มากมาย เช่น โซเชียลมีเดีย กิจกรรมที่ชื่นชอบ

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย