นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร

    1. ประเภทของนโยบายการคลัง  จำแนกตามลักษณะปัญหาเศรษฐกิจ
  1. นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) คือ นโยบายการคลังโดยเพิ่มงบประมาณรายจ่ายและลดภาษี หรือการตั้งนโยบายขาดดุล การดำเนินนโยบายการคลังดังกล่าว ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว การจ้างงานและรายได้ประชาชาติจะเพิ่มสูงขึ้น รัฐบาลจะใช้นโยบายดังกล่าวในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีไม่เพียงพอ ที่จะทำให้เกิดภาวการณ์จ้างงานเต็มที่ได้
  2. นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy) คือ นโยบายการคลังที่ลดงบประมาณรายจ่ายและเพิ่มภาษี หรือการตั้งงบประมาณเกินดุล เพื่อให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลง อันจะนำไปสู่การลดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ
    1. การใช้นโยบายการคลังในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ

การใช้นโยบายการคลังที่ใช้ขจัดช่วงห่างเงินเฟ้อ

นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร
นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร

นโยบายการคลังที่ใช้ในการแก้ปัญหาเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น คือ การลดการใช้จ่ายของรัฐบาล / การเพิ่มอัตราภาษี  ซึ่งมาตรการทั้งสองประการที่นำมาใช้ จะส่งกระทบต่อความต้องการใช้จ่ายมวลรวม  (DAE) แตกต่างกัน พิจารณาได้ ดังนี้

นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร


นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร


นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร

นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร

นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร

นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร


ก่อนจะไปทำความรู้จักนโยบายการคลัง ทุกท่านจะต้องเข้าทำความเข้าใจโครงสร้างพื้นฐานของระบบการเงิน (Financial infrastructure) ก่อน เนื่องจากเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ทำให้สภาวะเศรษฐกิจมีความสมบูรณ์แบบ พูดง่ายๆ ก็คือ นโยบายการคลังเป็นข้อกำหนดที่รัฐสร้างขึ้นมาเพื่อช่วยให้เศรษฐกิจขับเคลื่อนไปได้อย่างราบรื่น โดยเงินภาษีที่เราจ่ายกันทุกปีก็เป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักของนโยบายการคลังเช่นกัน อย่างไรก็ตาม เพื่อทำความเข้าใจนโยบายการคลังให้มากขึ้น ลองมาดูปัจจัยอื่นๆ ที่มีความสำคัญต่อนโยบายการคลังและช่วยกระตุ้นสภาวะเศรษฐกิจได้

นโยบายการคลังมีลักษณะอย่างไร

ในบทความวันนี้ เราจะมาหาคำตอบกันว่านโยบายการคลังคืออะไร แล้วรัฐบาลสามารถนำเสนออะไรผ่านนโยบายการคลังได้บ้าง พร้อมองค์ประกอบสำคัญต่างๆ ของนโยบายการคลัง ที่ทำให้นโยบายการคลังแตกต่างจากนโยบายการเงิน

อธิบายเกี่ยวกับนโยบายการคลัง

นโยบายการคลัง (Fiscal policy) คือ นโยบายที่รัฐใช้ในการควบคุมหรือขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เพื่อทำให้เศรษฐกิจมีการเติบโตและมีความมั่นคง โดยการนำเงินภาษีที่เก็บจากประชาชนมาเป็นเครื่องมือในการออกนโยบายการคลัง หลักการนโยบายการคลังเริ่มต้นใช้ในสหราชอาณาจักรจากไอเดียของนักเศรษฐศาสตร์อย่าง John Maynard Keynes ซึ่งเป็นแนวคิดที่ส่งผลต่อปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ, ภาวะเงินเฟ้อ, อุปสงค์และอุปทาน และอัตราการจ้างงาน เป็นต้น

หลักการสำคัญของนโยบายการคลังนั้นไม่เพียงแค่เพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจให้ดีขึ้น แต่ยังช่วยป้องกันสภาวะเศรษฐกิจจากวิกฤติต่างๆ (เช่น ภาวะเศรษฐกิจถดถอย หรือการควบคุมอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ) และสร้างสเถียรภาพทางเศรษฐกิจ

คำว่านโยบายการเงินและการคลังเป็นเรื่องที่หลาย ๆ คนอาจได้ยินอยู่บ่อยและพอจะเข้าใจว่าคืออะไร แต่หากจะอธิบายรายละเอียดปลีกย่อย และเปรียบเทียบหลักการใช้นโยบายทั้งสองรูปแบบแล้ว เราอาจจำเป็นต้องเรียนรู้ วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ และรับมือกับการเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาของนโยบายการเงินการคลังที่การตัดสินใจมาจากธนาคารกลางแห่งประเทศไทย

 

นโยบายการเงิน

คือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงิน ได้แก่ ปริมาณเงิน (Money supply) อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate) และอัตราดอกเบี้ย (Interest rate) ทำโดยการปรับลดเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจที่จะมีผลต่อการกำหนดทิศทางของอัตราแลกเปลี่ยนให้แข็งค่าหรืออ่อนค่า และการปรับลด – เพิ่มของอัตราดอกเบี้ย ตอบสนองต่อภาวะเงินเฟ้อ หรือเงินฝืด ซึ่งเป็นหน้าที่ของธนาคารกลาง หรือธนาคารแห่งประเทศไทยในการกำหนดทิศทางของการดำเนินนโยบาย

 

ยกตัวอย่างเช่น
1. อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate) กำหนดให้คงที่ หรือ อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว มีผลทำให้ค่าเงินแข็งค่าหรืออ่อนค่า เช่น กรณีค่าเงินบาทอ่อนค่า ก็จะทำให้สามารถส่งออกสินค้าได้มากขึ้น เนื่องจากเงินสกุลอื่นจะมีมูลค่ามากขึ้น สามารถซื้อของจากประเทศไทยได้มากขึ้น
2. อัตราดอกเบี้ย (Interest rate) กำหนดให้ปรับลด หรือเพิ่มอัตราดอกเบี้ย เช่น กรณีเมื่อมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนักลงทุนก็จะกู้เงินมาลงทุนมากขึ้น เนื่องจากดอกเบี้ยต่ำ ตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์การลงทุนจะก่อให้เกิดการกระตุนเศรษฐกิจ ผ่านภาคการผลิตและการบริโภค เป็นต้น

 

นโยบายการคลัง

คือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้ และรายจ่ายของรัฐบาล รายได้ส่วนใหญ่ของรัฐบาลมาจากการเก็บภาษี (Tax) ประเภทต่าง ๆ เช่น ภาษีสรรพาสามิต ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นต้น นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการปรับสมดุลทางเศรษฐกิจอย่างหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

 

เมื่อรัฐบาลตัดสินใจเพิ่มหรือลดภาษี ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ ยกตัวอย่างเช่น การขึ้นอัตราภาษีมีผลให้เงินสดที่อยู่ในมือเราลดลง เนื่องจากรายได้ส่วนหนึ่งต้องนำไปจ่ายภาษีมากขึ้น เงินที่เหลือจะใช้จ่ายก็จะลดลง ทำให้เศรษฐกิจชะลอตัว

 

นโยบายการคลังสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท เช่น เดียวกับนโยบายการคลัง ได้แก่
1. นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) คือ การที่รัฐบาลใช้จ่ายมากกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือที่เรียกว่า “งบประมาณขาดดุล” (deficit budget) กรณีนี้จะใช้เมื่อเศรษฐกิจถดถอย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เปรียบเสมือนการอัดฉีดเงินเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ
2. นโยบายการคลังแบบหดตัว (contractionary fiscal policy) คือ การที่รัฐบาลจ่ายน้อยกว่ารายได้ภาษีที่จัดเก็บได้ หรือการเพิ่มภาษีเพื่อดูดเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ อาจจะเรียกว่า งบประมาณเกินดุล (surplus budget) จะใช้ก็ต่อเมื่อยามที่เกิดปัญหาเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจ

 

ดังนั้น นโยบายการเงินการคลังที่ตัดสินใจโดยธนาคารแห่งประเทศไทยนั้นสำคัญอย่างยิ่ง กระทบต่อค่าครองชีพ เสถียรภาพของเศรษฐกิจ คุณภาพความเป็นอยู่ของประชากรในประเทศ เราในฐานะพลเมืองที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายเหล่านี้ไม่ว่าจะในเชิงบวกหรือลบ จำเป็นต้องคอยติดตามการตัดสินใจและดำเนินนโยบายเพื่อปรับตัวเข้ากับความเป็นไปได้ที่กำลังจะเกิดขึ้น หลังนโยบายนั้นถูกบังคับใช้

ลักษณะของนโยบายการคลังมีอะไรบ้าง

นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) คือ นโยบายเกี่ยวกับการใช้จ่ายและรายได้ของรัฐ เป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดแนวทาง เป้าหมาย และการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ นโยบายการคลังประกอบด้วย นโยบายภาษีอากร นโยบายด้านรายจ่าย นโยบายการก่อหนี้และบริหารหนี้สาธารณะ และนโยบายในการบริหารเงินคงคลัง

นโยบายการคลังเกี่ยวข้องกับสิ่งใด

นโยบายการคลัง (Fiscal policy) คือ นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้ และรายจ่ายของรัฐบาล รายได้ส่วนใหญ่ของรัฐบาลมาจากการเก็บภาษี (Tax) ประเภทต่างๆ เช่น ภาษีสรรพาสามิต ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นต้น นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการปรับสมดุลทางเศรษฐกิจอย่างหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการรักษา ...

นโยบายการคลังแบบหดตัวมีลักษณะอย่างไร

นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy) คือ นโยบายการคลังที่ลดงบประมาณรายจ่ายและเพิ่มภาษี หรือการตั้งงบประมาณเกินดุล เพื่อให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลง อันจะนำไปสู่การลดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ

Fiscal Policy คือข้อใด

นโยบายการคลัง, Example: แสดงโดยงบประมาณรายรับ-รายจ่ายของรัฐบาล อันได้แก่ การตัดสินใจเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐ หรือการลดลงในการเก็บภาษี เพื่อกระตุ้นให้เกิด การเพิ่มขึ้นของอุปสงค์รวม ถือเป็นนโยบายการคลังแบบหลวม ส่วนการเพิ่มการเก็บภาษีหรือลดการใช้จ่ายภาครัฐ ถือเป็นนโยบายการคลังแบบเคร่งครัด [สิ่งแวดล้อม]