อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD

อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD

เชื่อถึงยุคนี้แล้วสำหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์คงมีน้อยคนนักที่จะไม่รู้จักกับ SSD อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นที่เก็บข้อมูลที่กำลังมาแรงในยุคนี้ หลายคนอยากจะทราบรายละเอียดของ SSD ให้มากกว่านี้ว่ามันคืออะไรกันแน่ และมีกี่แบบ การเลือกซื้อแบบที่ถูกและเข้ากับคอมพิวเตอร์ของเราได้ ต้องเลือกซื้อแบบไหน บทความนี้จะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ SSD กันให้มากยิ่งขึ้น

อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD

SSD คืออะไร

SSD ย่อมาจาก Solid State Drive ทำหน้าที่เป็นที่เก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่นๆชนิดหนึ่ง คล้ายกับ HDD แต่รูปแบบการทำงานของ SSD จะต่างกันออกไป SSD จะทำงานในรูปแบบ Flash Memory ที่ต่างจาก HDD ที่ทำงานอยู่บนจานแม่เหล็กที่ต้องหมุนตลอดเวลาในขณะที่ใช้งาน

SSD ถูกสร้างมาเพื่อทดแทนการใช้งาาน HDD ซึ่งใช้ชิปวงจรรวมที่ประกอบรวมเป็น หน่วยความจำ เพื่อจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรเหมือนฮาร์ดดิสก์ เทคโนโลยีของโซลิดสเตตไดรฟ์ถูกสร้างมาเพื่อทดแทนฮาร์ดดิสก์จึงทำให้มีอินเทอร์เฟส อินพุต/เอ้าพุต เหมือนกันและสามารถใช้งานแทนกันได้ และเนื่องจาก SSD ถูกสร้างด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์จึงไม่มีชิ้นส่วนจักรกลใดๆที่มีการเคลื่อนที่ (หลักการของ ฮาร์ดดิสก์ และ ฟรอปปี้ดิสก์ คือใช้จานแม่เหล็กหมุน) ส่งผลให้ความเสียหายจากแรงกระแทกของ SSD นั้นน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ (หรือทนต่อการแรงสั่นสะเทือนได้ดี) โดยการเปรียบเทียบจากการที่ SSD ไม่ต้องหมุนจานแม่เหล็กในการอ่านข้อมูลทำให้อุปกรณ์กินไฟน้อยกว่า และใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูล (access time) และเวลาในการหน่วงข้อมูล (latency) น้อยกว่าเนื่องจากสามารถเข้าถึงข้อมูลในตำแหน่งต่างๆ ได้รวดเร็วและทันทีโดยไม่ต้องรอการหมุนจานแม่เหล็กให้ถึงตำแหน่งของข้อมูล

SSD แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆได้แก่

  1. NOR Flash คือ หน่วยความจำจะถูกเชื่อมต่อกันแบบขนาน ทำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างอิสระ อ่านข้อมูลเร็วมาก แต่ มีความจุต่ำ และราคาแพงมาก
  2. NAND Flash คือ หน่วยความจำแบบเข้าถึงข้อมูลทีละบล็อก ทำให้มีความจุสูง ราคาถูก) เป็นระบบเดียวกับ FlashDrive ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้มีราคาถูกกว่า ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท
    Single-Level Cell (SLC) ในแต่ละเซลเก็บข้อมูลได้ 1 บิต ทำงานเร็ว กินพลังน้อย และมีอายุการใช้งานนาน (เขียนได้ 1 แสนครั้งโดยประมาณ) แต่มีราคาสูง
    Multi-Level Cell (MLC) 1 เซลเก็บข้อมูลได้มากกว่า 1 บิต (ปัจจุบัน 1 เซลเก็บได้ 2 บิต และอยู่ในระหว่างการพัฒนาให้เก็บได้มากขึ้นเรื่อยๆความเร็วต่ำกว่า ใช้พลังงานมากกว่า SLC เขียนได้ ไม่เกิน 1 หมื่นครั้ง แต่มีราคาถูก)

การเชื่อมต่อ SSD

SSD ที่เราใช้งานและเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กันอยู่ ใหญ่ๆแล้วจะมีไมกี่ชนิด ที่นิยมกันในตอนนี้ได้แก่

SATA SSD

อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD

SATA จะเป็นรุปแบบเอา SSD มาไว้ในกล่องขนาด 2.5-inch Serial ATA โดยใช้การเชื่อมต่อผ่านสาย SATA III มีความเร็วในการอ่านเขียนน้อยกว่าการเชื่อมต่อแบบอื่นอยู่ที่ประมาณ 500-600/500-600 MB/s นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าที่ไม่มีช่องให้เสียบ SSD แบบ M.2 สามารถใช้แทน HDD ได้เลย

SSD M.2

SSD M.2 เป็นการเชื่อมต่อที่มี Notched pins 12-66 ที่เสียบลงเข้ากับเมนบอร์ดที่มีช่องเสียบ M.2 หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่แปลงช่องเสียบไปยังช่องทางอื่นๆไม่ว่าจะเป็น USB, PCI, PCIe และอื่นๆ โดยการเชื่อมต่อแบบ M.2 จะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆด้วยกันได้แก่

  1. M.2 SATA ถึงแม้จะเป็นการเชื่อมต่อแบบ M.2 แต่ยังคงใช้ module แบบ SATA3 ซึ่งความเร็วสูงสุดที่ 6.0 Gb/s  ซึ่งจะมีความเร็วไม่ต่างจาก SATA SSD มากนัก โดยปกติแล้ว M.2 SATA จะใช้ type แบบ M Key
    อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD
  2. M.2 NVMe การเชื่อมต่อ M.2 แบบ PCIe ใช้ module ของ PCI Express เข้ามาเพื่อช่วยในเรื่องของความเร็วในการรับส่งข้อมูลให้มากขึ้น เพราะ PCIe เป็น module ที่มีความเร็วมากกว่า SATA และ M.2 PCIe จะใช้ type แบบ B Key แต่ในบางครั้งเอาอาจเห็น type แบบ M Key แต่จะได้ความเร็วได้แก่ x2 ในขณะที่ B key ได้แบบ x4
    อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD

SSD PCIe

อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD

SSD แบบ PCIe เป็นการเอา SSD มาในรูปแบบของ PCIe เสียบเข้าไปใน PCI Express โดยตรง ซึ่งความเร็วจะได้มากสุดตามแต่ Interface เวอร์ชันของ PCIe และ จำนวน X (PCIe lane) ของ slot ที่ใช้งาน

อธิบาย ข้อ แตก ต่าง ระหว่าง ฮาร์ดดิสก์ แบบ SATA กับ SSD

PCIe VersionLine CodeBandwidth x1Bandwidth x16
1.08b/10b 2 GT/s 32 GT/s
2.08b/10b 4 GT/s 64 GT/s
3.0128b/130b 8 GT/s 126 GT/s
4.0128b/130b 16 GT/s 252 GT/s

ทั้งนี้ทั้งนั้นต่อให้ความเร็วของช่องเสียบแบบ PCIe จะมีความเร็วแค่ไหน ก็ต้องขึ้นอยู่กับ SSD ที่ใช้งานด้วยแต่ช่องทางของ PCIe เป็นช่องทางที่ทำความเร็วได้สูงสุดของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพื้นฐาน

  • SSD

ฮาร์ดดิสก์แบบ SSD คืออะไร

SSD คืออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่งที่ใช้กับคอมพิวเตอร์หรือโน๊ตบุ๊คเพื่อจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรเหมือนกับฮาร์ดดิส SSD นั้นย่อมาจาก Solid State Drive ซึ่งมีลักษณะการทำงานคล้ายกับ Flash Drive โดยใช้หน่วยความจำแบบ Flash Memory Chips ซึ่งเปลี่ยนมาจากจานแม่เหล็กของฮาร์ดดิสทำให้มีเร็วและเสถียรกว่า SSD ถูกสร้างมาเพื่อทดแทน ...

SATA กับ NVMe ต่างกันอย่างไร

SSD M.2 SATA : มีความเร็วในการอ่าน/เขียนเหมือนกันกับ SSD SATA แต่มีขนาดที่เล็กลง SSD M.2 NVMe : มีความเร็วที่มากกว่าตัว M.2 SATA ซึ่งช่องทาง PCI Express หรือตัวย่อ PCIe ที่เราคุ้นเคยกันนั่นเอง โดยตัว SSD นี้จะมีความเร็วในการอ่าน/เขียนสูงสุดประมาณ 30 Gb/s.

SSD SATA คืออะไร

SATA SSD. SATA จะเป็นรุปแบบเอา SSD มาไว้ในกล่องขนาด 2.5-inch Serial ATA โดยใช้การเชื่อมต่อผ่านสาย SATA III มีความเร็วในการอ่านเขียนน้อยกว่าการเชื่อมต่อแบบอื่นอยู่ที่ประมาณ 500-600/500-600 MB/s นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าที่ไม่มีช่องให้เสียบ SSD แบบ M.2 สามารถใช้แทน HDD ได้เลย

Flash Memory Storage ดีกว่า HDD อย่างไร

การทำงานของ SSD จะเป็นการอ่าน/เขียนข้อมูลในเซลส์หน่วยความจำขึ้นเป็นบล็อคๆ ในลักษณะที่ทำให้สามารถลดโอกาสการเกิดข้อผิดพลาดขณะที่เขียน ในขณะที่ HDD จำเป็นต้องเขียนหน่วยความจำในลักษณะที่ยาวและเรียงตามลำดับเวลา ทำให้เมื่อมีข้อมูลมากขึ้นเรื่อยๆ การเข้าถึงไฟล์ก็จะช้าลงเรื่อยๆ และเกิดข้อผิดพลาดได้ง่ายกว่า ตัว SSD จะไม่มีข้อ ...