แนวข้อสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน ระดับ 1

แนวข้อสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาผู้ประกอบอาหารไทย

1 ระบบคุณภาพกับการผลิตอาหาร

2 ถาม – ตอบ คุณสมบัติและคุณภาพของอาหาร

3 คุณสมบัติและคุณภาพของอาหาร +แนวข้อสอบ

5 แนวข้อสอบวิชาอาหารและโภชนาการ

7 การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส

8 ความปลอดภัยของอาหารและบรรจุภัณฑ์

9 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร

11 ถาม – ตอบ ความปลอดภัยด้านอาหาร

MP3-P050  เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

1.พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดกี่วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ก.30 วัน

ข.120 วัน

ค. 90  วัน

ง. 180  วัน

ตอบ  ข.120 วัน

2.พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้ไว้ ณ วันที่เท่าใด

ก.20 กันยายน พ.ศ. 2545

ข.21 กันยายน พ.ศ. 2545

ค.22 กันยายน พ.ศ. 2545

ง. 23 กันยายน พ.ศ. 2545

ตอบ   ข. 21 กันยายน พ.ศ. 2545

3.“การพัฒนาฝีมือแรงงาน” หมายความว่าอย่างไร

ก.การฝึกอบรมฝีมือแรงงานก่อนเข้าทำงาน เพื่อให้สามารถทำงานได้ตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน

ข.การฝึกเตรียมเข้าทำงาน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและการฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ

ค.กระบวนการที่ทำให้ผู้รับการฝึกและประชากรวัยทำงานมีฝีมือ ความรู้ความสามารถ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการทำงาน

ง.การที่ผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็นนายจ้างจัดให้ลูกจ้างได้ฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพิ่มเติมในสาขาอาชีพที่ลูกจ้างปฏิบัติงานอยู่ตามปกติ

ตอบ  ค.กระบวนการที่ทำให้ผู้รับการฝึกและประชากรวัยทำงานมีฝีมือ ความรู้ความสามารถ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการทำงาน

4.“มาตรฐานฝีมือแรงงาน” หมายความว่าอย่างไร

ก.ข้อกำหนดทางวิชาการที่ใช้เป็นเกณฑ์วัดระดับฝีมือ ความรู้ความสามารถ และทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ

ข.ข้อกำหนดต่างๆที่ใช้วัดความรู้ความสามารถ และทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ

ค.การทดสอบฝีมือ ความรู้ความสามารถและทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์กำหนดของมาตรฐานฝีมือแรงงาน

ง.การฝึกเตรียมเข้าทำงาน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและการฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ

ตอบ  ค.การทดสอบฝีมือ ความรู้ความสามารถและทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์กำหนดของมาตรฐานฝีมือแรงงาน

5.พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ มีกี่หมวด กี่มาตรา

ก. 7 หมวด  56  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล

ข. 8 หมวด  56  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล

ค. 9 หมวด  56  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล

ง. 9 หมวด  65  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล

ตอบ  ค.9  หมวด  56  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล

หมวด ๑ การดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน

หมวด ๒ มาตรฐานฝีมือแรงงาน

หมวด ๓ กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน

หมวด ๔ สิทธิและประโยชน์ของผู้ดำเนินการฝึก

หมวด ๕ คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

หมวด ๖ นายทะเบียนและพนักงานเจ้าหน้าที่

หมวด ๗ การเพิกถอนการเป็นผู้ดำเนินการฝึก การพักใช้และการเพิกถอนใบอนุญาต

หมวด ๘ การอุทธรณ์

หมวด ๙ บทกำหนดโทษ

บทเฉพาะกาล

6.ผู้รับสนองพระบรมราชโองการพ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ คือใคร

ก.พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร

ข.นายชวน หลีกภัย

ค. นายอภิสิทธิ์  เวชชาชีวะ

ง. นายสมัคร  สุทรเวช

ตอบ  ก.  พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร

7.เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คืออะไร

ก.บทบัญญัติที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมการฝึกอาชีพ พ.ศ. ๒๕๓๗ ยังไม่เอื้ออำนวยเพียงพอต่อการพัฒนาฝีมือแรงงานในภาวะปัจจุบัน

ข.เพื่อให้การพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับกาลสมัย

ค.ให้นายจ้างหรือสถานประกอบกิจการมีส่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานมากขึ้นและให้มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ง.ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

8.ใครคือผู้รักษาการตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕

ก.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

ข.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ค.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

ง.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ตอบ   ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

9.ให้ผู้ซึ่งจัดให้มีการฝึกเตรียมเข้าทำงานตามสาขาอาชีพที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา ๗ จัดทำรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกเสนอต่อใคร

ก.นายทะเบียน

ข.คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ค.ผู้ดำเนินการฝึก

ง.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ตอบ  ก.นายทะเบียน

10.ข้อใดคือข้อบังคับหรือระเบียบที่เกี่ยวกับการฝึกที่ผู้ดำเนินการฝึกจะต้องจัดให้มี

ก.ระยะเวลาการฝึก ค. เบี้ยเลี้ยงระหว่างรับการฝึก

ข.วันฝึก เวลาฝึก และเวลาพัก ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

มาตรา ๑๐ ผู้ดำเนินการฝึกจะต้องจัดให้มีข้อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการฝึกเป็นภาษาไทยและอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้

ค. กระบวนการที่ทำให้ผู้รับการฝึกและประชากรวัยทำงานมีฝีมือความรู้ความสามารถ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการทำงาน

ง.การที่ผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็นนายจ้างจัดให้ลูกจ้างได้ฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพิ่มเติมในสาขาอาชีพที่ลูกจ้างปฏิบัติงานอยู่ตามปกติ

3. “มาตรฐานฝีมือแรงงาน” หมายความว่าอย่างไร

ก. ข้อกำหนดทางวิชาการที่ใช้เป็นเกณฑ์วัดระดับฝีมือความรู้ความสามารถ และทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ 

ข. ข้อกำหนดต่างๆที่ใช้วัดความรู้ความสามารถและทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ 

ค. การทดสอบฝีมือความรู้ความสามารถและทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์กำหนดของมาตรฐานฝีมือแรงงาน

ง. การฝึกเตรียมเข้าทำงานการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและการฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ

4. เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คืออะไร

ก. บทบัญญัติที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมการฝึกอาชีพพ.ศ. ๒๕๓๗ ยังไม่เอื้ออำนวยเพียงพอต่อการพัฒนาฝีมือแรงงานในภาวะปัจจุบัน

ข.เพื่อให้การพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับกาลสมัย

ค.ให้นายจ้างหรือสถานประกอบกิจการมีส่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานมากขึ้นและให้มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ข้อใดคือข้อบังคับหรือระเบียบที่เกี่ยวกับการฝึกที่ผู้ดำเนินการฝึกจะต้องจัดให้มี

ข. วันฝึก เวลาฝึก และเวลาพัก

ค.เบี้ยเลี้ยงระหว่างรับการฝึก

6. เมื่อผู้ดำเนินการฝึกประสงค์จะโอนการประกอบกิจการให้แก่บุคคลอื่นให้ผู้ดำเนินการฝึกแจ้งเป็นหนังสือให้นายทะเบียนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่ากี่วันก่อนถึงวันโอน

7. ถ้าการฝึกเกิดจากการร้องขอของลูกจ้างและมีการตกลงกันเป็นหนังสือนายจ้างอาจจัดให้ลูกจ้างได้รับการฝึกในเวลาใด

8. เพื่อเป็นการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานให้คณะกรรมการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพต่างๆ เสนอต่อใครเพื่อให้ความเห็นชอบ

ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ค. กรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ง. อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

9. “กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน” จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์อย่างไร

ก. เป็นทุนหมุนเวียนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ข. เป็นทุนสำหรับผู้ฝึกพัฒนาฝีมือแรงงาน

ค.เป็นทุนหมุนเวียนใช้จ่ายสำหรับผู้เข้ารับการฝึกพัฒนาฝีมือแรงงาน

10. ผู้ประกอบกิจการรายใดไม่จ่ายเงินสมทบภายในเวลาที่กำหนดหรือจ่ายไม่ครบตามสัดส่วนจำนวนผู้รับการฝึกอบรมกับจำนวนลูกจ้างต้องจ่ายเงินเพิ่มในอัตราร้อยละเท่าใดต่อเดือนของเงินสมทบที่ยังไม่ได้นำส่ง

11. ข้อใดคือสิทธิและประโยชน์ที่ผู้ดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงานในศูนย์ฝึกอบรมฝีมือแรงงานที่จัดตั้งขึ้นตามมาตรา๑๙ พึงได้รับเพิ่มเติม

ก.สิทธิที่จะได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อใช้ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน

ข.สิทธิที่จะได้รับการหักค่าไฟฟ้าและค่าประปาเป็นจำนวนสองเท่าของจำนวนเงินที่ผู้ดำเนินการฝึกได้เสียไปเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษีเงินได้

ค. สิทธิที่จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้เป็นกรณีพิเศษ

12. คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน มีกี่คน

13. ใครเป็นประธานในคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ก. ปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ง. อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

14. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานจะต้องเป็นผู้ซึ่งมีประสบการณ์ทางด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานมาแล้วไม่น้อยกว่ากี่ปี

15. คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี

16.  ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

ก.ผู้ประกอบกิจการธุรกิจพาณิชยกรรมที่มีลูกจ้างถึง 100 คนขึ้นไป มีหน้าที่ส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน แต่ต่อมาภายหลังมีลูกจ้างเฉลี่ยไม่ถึง 100 คนในปีนั้น ไม่ต้องส่งเงินสมทบฯแม้ไม่ได้ฝึกอบรมฝีมือแรงงานในปีนั้น

ข. ผู้ประกอบกิจการธุรกิจอุตสาหกรรมโดยไม่ต้องเสียภาษี มีลูกจ้างถึง 100 คนขึ้นไป  ไม่เข้าข่ายส่งเงินสมทบฯ

ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.

ง. ผิดทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.

17.  ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

ก.องค์กรที่จัดตั้งโดยไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงผลกำไรทางธุรกิจที่มีลูกจ้างถึง 100 คนขึ้นไป  ไม่เข้าข่ายส่งเงินสมทบฯ

ข. นายจ้างซึ่งประกอบกิจการเพาะปลูกประมง ป่าไม้ เลี้ยงสัตว์และนาเกลือซึ่งใช้ลูกจ้างตลอดปีและมีลักษณะงานอื่นรวมอยู่ด้วยต้องอยู่ในข่ายต้องส่งเงินสมทบฯ

ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.

ง. ผิดทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.

18.  คำว่า “ลูกจ้าง”สามารถยื่นขอรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายได้ตามพ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานพ.ศ. 2545 คือ

ก.ลูกจ้างที่รับการฝึกอบรมและมีชื่ออยู่ในทะเบียนลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานแต่ต่อมาได้ลาออกไปแล้วในปีนั้น

ข.ลูกจ้างที่รับการฝึกอบรมซึ่งเป็นแรงงานที่ต่างด้าวและไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน

ค.ลูกจ้างแรงงานไทยที่รับการฝึกอบรมแล้ว และไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนลูกจ้าง

19.  ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

ก. การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน คือ การที่นายจ้างฝึกอบรมให้บุคคลซึ่งเป็นลูกจ้างของตน

ข. การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน คือ การที่นายจ้างฝึกอบรมให้บุคคลซึ่งเป็นลูกจ้างของตน และลูกจ้างของบริษัทในเครือ

ค. การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน คือ การที่นายจ้างฝึกอบรมให้บุคคลซึ่งยังไม่เป็นลูกจ้างของตน

ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.

20.  ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

ก. การฝึกยกระดับฝีมือแรงงานต้องขอยื่นหลักสูตรต่อนายทะเบียนหลังเสร็จสิ้นฝึกเท่านั้นทั้งนี้หลักสูตรต้องไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง

ข. การฝึกยกระดับฝีมือแรงงานต้องขอยื่นหลักสูตรต่อนายทะเบียนก่อนฝึกเท่านั้น ทั้งนี้หลักสูตรต้องไม่น้อยกว่า 6ชั่วโมง