มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย pdf

วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ THE ENGINEERING INSTITUTE OF THAILAND UNDER H.M. THE KING’S PATRONAGE มาต

Views 322 Downloads 57 File size 4MB

Report DMCA / Copyright

DOWNLOAD FILE

Recommend Stories

Citation preview

วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ THE ENGINEERING INSTITUTE OF THAILAND UNDER H.M. THE KING’S PATRONAGE

มาตรฐาน การติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556

Thai Electrical Code 2013 คณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สนับสนุนโดย การไฟฟ้านครหลวง และ การไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค

มาตรฐาน วสท. EIT Standard 2001-50

แก้ ไขครัง้ ที่ 4 พิมพ์ ครัง้ ที่ 1 สิงหาคม 2550 ISBN 974-7197-30-8

ราคา xxx.-บาท

มาตรฐาน การติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรั บประเทศไทย พ.ศ.2556 Thai Electrical Code 2013 คณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สนับสนุนโดย การไฟฟ้านครหลวง และ การไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค

(สงวนลิขสิทธิ์) มาตรฐาน วสท. EIT Standard 2001-50

แก้ ไขครัง้ ที่ 4 พิมพ์ ครัง้ ที่ 1 มิถุนายน 2550 ISBN 974-7197-30-8

ราคา xxx.-บาท

คํานํา-1

คํานํา สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ได้ นํากฎการ เดินสายและติดตังอุ ้ ปกรณ์ไฟฟ้า พ.ศ. 2538 ของการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และแนวปฏิบตั ิใน การเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า พ.ศ. 2537 ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) มาพิจารณา เพื่อรวมเป็ นมาตรฐานเดียวกันโดยได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคแล้ ว กฎและแนวทางปฏิบตั ิทั้งสองมาตรฐานนี ้มีทั้งส่วนที่เหมือนกันและแตกต่าง ทั้งนี ้อาจเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ คือ ความแตกต่างทางด้ านระบบแรงดันไฟฟ้า ด้ าน มาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้า ด้ านการออกแบบ ด้ านระเบียบและแนวนโยบาย ด้ านสภาพภูมิศาสตร์ และความแตกต่างของผู้ใช้ ไฟฟ้า มาตรฐานฉบับนีบ้ ังคับใช้ เฉพาะผู้ใช้ ไฟเท่านั้น มิได้ บังคับครอบคลุมการออกแบบหรื อ ติดตั้งของการไฟฟ้าฯ มาตรฐานฉบับนี ้เหมาะสําหรับผู้ที่ได้ รับการอบรม หรื อผู้ที่มีความรู้ทางด้ าน การออกแบบหรื อติดตั้งระบบไฟฟ้าเป็ นอย่างดีเท่านั้น ผู้ใช้ มาตรฐานฯ ควรใช้ อย่างระมัดระวัง และมีวิจารณญาณ กรณีที่ไม่มั่นใจควรขอคําปรึ กษาจากผู้เชี่ยวชาญในการตัดสินใจ วสท.ไม่ รั บผิดชอบต่อทรั พย์ สินส่วนบุคคลใดๆ รวมทัง้ การบาดเจ็บหรื อความเสียหายอื่ นๆ ที่เป็ นผล สืบเนื่องทั้งโดยตรงหรื อโดยอ้ อมที่เกิดจากการเผยแพร่ การใช้ หรื อการปฏิบัติตามมาตรฐานฯ และไม่ได้ รับประกันความถูกต้ องหรื อความครบถ้ วนสมบูรณ์ของข้ อมูลใดๆ ในมาตรฐานฯ ฉบับ นี ้ มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทยฉบับนี ้ได้ จดั ทําขึ ้นเพื่อให้ เป็ นมาตรฐาน เดีย วทั้งประเทศ เพื่ อ แก้ ปัญ หาในอดีต ที่ ผ่านมาที่ วิศวกรออกแบบ รั บ เหมา ควบคุม งานใช้ มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งต่างมาตรฐานกัน รวมทั้งการอบรมการสอนทางด้ านนีก้ ็ใช้ มาตรฐานต่างกัน ทําให้ เกิดปั ญหาทางด้ านการทําความเข้ าใจร่ วมกันและเกิดผลเสียกับประเทศ มาก มาตรฐานการติดตังทางไฟฟ ้ ้ าสําหรับประเทศไทยฉบับนี ้เป็ นสมบัติร่วมกันที่วิศวกรในสาย งานนี ้ควรได้ มาช่วยกันพัฒนาและใช้ ร่วมกันเพื่อให้ เกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้ ไฟฟ้า สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ขอขอบคุณการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วน ภูมิ ภ าค กรมโยธาธิ ก ารและผัง เมื อ ง สมาคมวิ ศ วกรที่ ป รึ ก ษาเครื่ อ งกลและไฟฟ้ าไทย และ สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่ องกลไทย ที่ได้ ส่งผู้แทนเป็ นคณะอนุกรรมการจัดทํามาตรฐาน หากมีข้อเสนอแนะประการใดเกี่ยวกับมาตรฐานฉบับนี ้ โปรดแจ้ งให้ วสท. ทราบ ด้ วยเพื่อจะได้ แก้ ไขปรับปรุงในโอกาสต่อไป

วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คํานํา-2

คํานําในการพิมพ์ ปรั บปรุ ง พ.ศ.2556 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 ฉบับปรับปรุ งครัง้ ที่ 1 พ.ศ.2551 ได้ ใช้ งานมาแล้ วระยะหนึ่งนั้น ปั จจุบนั เทคโนโลยีด้านวัสดุ อุปกรณ์ และการติดตั้ง เปลี่ ย นแปลงไป โดยเฉพาะมาตรฐานการผลิ ต สายไฟฟ้ าที่ จัด ทํ า โดยสํ า นัก งานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก.11-2553 ประกอบกับมีข้อบกพร่องบางประการที่ตรวจพบ ทําให้ มี ความจําเป็ นที่จะต้ องมีการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฯ นี ้ขึ ้น เนื่องจากมาตรฐานฯ นี ้พิมพ์ขึ ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2545 มีการปรับปรุ งครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ.2551 และปั จจุบนั เป็ นฉบับ พ.ศ. 2556 จึงอาจทําให้ หลายหน่วยงานที่อ้างอิงมาตรฐานฯ นี ้ เกิดความสับสนว่าการอ้ างอิงที่ระบุไว้ แต่เดิมนันยั ้ งคงสามารถใช้ กับมาตรฐานฯฉบับใหม่นี ้ได้ หรื อไม่ คณะอนุกรรมการฯ จึงมีความเห็นว่า ในการอ้ างอิงนั้นให้ ยดึ ถือชื่อ “มาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย” เป็ นหลักโดยให้ ถือว่า พ.ศ. ที่ตอ่ ท้ ายมาตรฐานฯ นั้นเป็ นเพียง ส่วนเสริ มที่ใช้ แสดงปี ที่จดั ทําเท่านั้น ในการอ้ างอิงให้ ถือตามฉบับล่าสุด นอกจากจะระบุไว้ เพื่อ จุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึง่ โดยเฉพาะเท่านั้น คณะอนุกรรมการปรั บปรุ งมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฯ นี ้ ประกอบด้ วยผู้แทนจาก หลายหน่วยงานเช่น การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรมโยธาธิ การและผังเมือง สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่ องกลไทย และสมาคมวิศวกรที่ปรึ กษาเครื่ องกลและไฟฟ้าไทย คณาจารย์จากสถาบันอุดมศึกษา ผู้ผลิต และผู้เชี่ยวชาญอิสระ เป็ นต้ น ทั้งนี ้เพื่อให้ ครอบคลุมผู้ ที่เกี่ยวข้ องอย่างครบถ้ วน สมาคมวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ จึ ง ขอขอบคุ ณ คณะอนุกรรมการ คณะทํางานฯ และผู้สนับสนุนทุกท่าน ที่ได้ เสียสละเวลามาช่วยงานจนสําเร็ จ ลุล่วงไปได้ และหากพบข้ อผิดพลาดประการใด โปรดแจ้ งให้ วสท. ทราบด้ วยเพื่อจะได้ แก้ ไข ปรับปรุง ต่อไป วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ .2556

1

คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประจําปี พ.ศ.2554-2556 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.

นายอาทร ดร.ประศาสน์ นายเกษม ผศ.ประสิทธิ์ นายโสภณ นายภูเธียร นายอุทิศ นายสุพฒ ั น์ นายประสิทธิ์ นายไชยวุธ นายปราการ นายพงษ์ ศกั ดิ์ รศ.ศุลี รศ.ธนบูรณ์ นายเกียรติ นายพิชญะ นายเชิดศักดิ์ ดร.ธงชัย นายโสภณ นายทวีป นายชาญณรงค์ ดร.ธนะศักดิ์ นายลือชัย นายสุกิจ นายบุญมาก ผศ.ถาวร

สินสวัสดิ์ จันทราทิพย์ กุหลาบแก้ ว พิทยพัฒน์ ศิลาพันธ์ พงษ์ พิทยาภา จันทร์ เจนจบ เพ็งมาก เหมวราพรชัย ชีวะสุทโธ กาญจนวตี หาญบุญญานนท์ บรรจงจิตร ศศิภานุเดช อัชรพงศ์ จันทรานุวฒ ั น์ วิทรู าภรณ์ มีนวล สิกขโกศล อัศวแสงทอง สอนดิษฐ์ ไชยเวช ทองนิล เกียรติบญ ุ ศรี สมิทธิลีลา อมตกิตติ์

ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานฯ รองประธานฯ รองประธานฯ กรรมการ

2 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37.

ดร.เจน นายสมศักดิ์ นายพงศ์ศกั ดิ์ นายกิตติพงษ์ นายสุธี ดร.ประดิษฐ์ นายกิตติศกั ดิ์ นายสุจิ นายภาณุวฒ ั น์ นายเตชทัต น.ส.นพดา

ศรี วฒ ั นะธรรมา วัฒนศรี มงคล ธรรมบวร วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ปิ่ นไพสิฐ เฟื่ องฟู วรรณแก้ ว คอประเสริ ฐศักดิ์ วงศาโรจน์ บูรณะอัศวกุล ธีรอัจฉริ ยกุล

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาฯ

3

คณะอนุกรรมการปรับปรุ งมาตรฐาน การติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรั บประเทศไทย พ.ศ. 2556 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.

ผศ.ประสิทธิ์ นายโสภณ นายไชยวุธ นายประสิทธิ์ นายสุกิจ นายเกียรติ นายพิชญะ รศ.ธนบูรณ์ นายภาณุวฒ ั น์ นายสมชาย นายคมสัน นายสันติ นายลือชัย นายพงศ์ศกั ดิ์ นายกิตติพงษ์ นายพงศ์สนั ติ์ นายบุญถิ่น นายกิตติศกั ดิ์ นายดนตร์ นายสุธี นายสมศักดิ์ นายเตชทัต นายกฤษฎา น.ส.เทพกัญญา น.ส.นพดา นายศิวเวทย์ น.ส.ปรัทญา

พิทยพัฒน์ ศิลาพันธ์ ชีวะสุทโธ เหมวราพรชัย เกียรติบญ ุ ศรี อัชรพงศ์ จันทรานุวฒ ั น์ ศศิภานุเดช วงศาโรจน์ หอมกลิน่ แก้ ว อินกัน นําสินวิเชษฐ์ ชยั ทองนิล ธรรมบวร วีระโพธิ์ประสิทธิ์ จุลวงศ์ เอมย่านยาว วรรณแก้ ว บุนนาค ปิ่ นไพสิฐ วัฒนศรี มงคล บูรณะอัศวกุล สุทธิประภา ขัติแสง ธีรอัจฉริ ยกุล อัครพันธุ์ นาวิก

ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

4 คณะทํางานปรั บปรุ งมาตรฐานประจําบท ที่ปรึกษา 1. ผศ.ประสิทธิ์ 2. นายไชยวุธ 3. นายโสภณ 4. นายประสิทธิ์ 5. รศ.ศุลี

พิทยพัฒน์ ชีวะสุทโธ ศิลาพันธ์ เหมวราพรชัย บรรจงจิตร

คณะทํางานบทที่ 1, 2 และ 3 1. นายกิตติพงษ์ 2. นายสุกิจ 3. นายสุธี 4. นายพงศ์สนั ติ์ 5. น.ส.เทพกัญญา 6. นายศิวเวทย์

วีระโพธิ์ประสิทธิ์ เกียรติบญ ุ ศรี ปิ่ นไพสิฐ จุลวงศ์ ขัติแสง อัครพันธุ์

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

เกียรติบญ ุ ศรี จุลวงศ์ หอมกลิน่ แก้ ว นําสินวิเชษฐ์ ชยั ธีรอัจฉริ ยกุล อัครพันธุ์

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

ทองนิล วรรณแก้ ว จุลวงศ์ อัศวชาญชัยกุล อัชรพงศ์ วัฒนศรี มงคล บูรณะอัศวกุล

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน

คณะทํางานบทที่ 4 1. นายสุกิจ 2. นายพงศ์สนั ติ์ 3. นายสมชาย 4. นายสันติ 5. น.ส.นพดา 6. นายศิวเวทย์

คณะทํางานบทที่ 5 1. นายลือชัย 2. นายกิตติศกั ดิ์ 3. นายพงศ์สนั ติ์ 4. นายสนธยา 5. นายเกียรติ 6. นายสมศักดิ์ 7. นายเตชทัต

5 8. น.ส.นพดา 9. นายศิวเวทย์

ธีรอัจฉริยกุล อัครพันธุ์

คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

วรรณแก้ ว จุลวงศ์ บุนนาค บูรณะอัศวกุล กุศลส่ง ธีรอัจฉริยกุล อัครพันธุ์

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

คณะทํางานบทที่ 6 1. นายกิตติศกั ดิ์ 2. นายพงศ์สนั ติ์ 3. นายดนตร์ 4. นายเตชทัต 5. นายกุศล 6. น.ส.นพดา 7. นายศิวเวทย์

คณะทํางานบทที่ 7 1. รศ.ธนบูรณ์ 2. นายกิตติพงษ์ 3. นายพงศ์ศกั ดิ์ 4. นายพงศ์สนั ติ์ 5. นายปานโชค 6. นายคมสัน 7. นายสมศักดิ์ 8. นายบุญถิ่น 9. นายศิวเวทย์

ศศิภานุเดช วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ธรรมบวร จุลวงศ์ เอื ้อธนาภา อินกัน วัฒนศรี มงคล เอมย่านยาว อัครพันธุ์

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

คณะทํางานบทที่ 8, และ 9 1. นายสุธี 2. นายพงศ์สนั ติ์ 3. นายกิตติพงษ์ 4. นายสมศักดิ์ 5. นายพิชญะ 6. นายภาณุวฒ ั น์ 7. นายเอกชัย

ปิ่ นไพสิฐ จุลวงศ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ วัฒนศรี มงคล จันทรานุวฒ ั น์ วงศาโรจน์ ประสงค์

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน

6 8. นายกฤษฎา 9. นายศิวเวทย์

สุทธิประภา อัครพันธุ์

คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

คณะทํางานบทที่ 10, และ 14 1. นายบุญถิ่น 2. นายพงศ์ศกั ดิ์ 3. นายกิตติศกั ดิ์ 4. นายปรัชญา 5. นายกฤษฎา 6. นายศิวเวทย์

เอมย่านยาว ธรรมบวร วรรณแก้ ว ไตรทิพย์ชวลิต สุทธิประภา อัครพันธุ์

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

คณะทํางานบทที่ 11, 12 และ 13 1. นายพงศ์ศกั ดิ์ 2. นายบุญถิ่น 3. นายเกียรติ 4. นายปรัชญา 5. นายกิตติศกั ดิ์ 6. นายกฤษฎา 7. นายศิวเวทย์

ธรรมบวร เอมย่านยาว อัชรพงศ์ ไตรทิพย์ชวลิต วรรณแก้ ว สุทธิประภา อัครพันธุ์

หัวหน้ าคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะทํางานและเลขานุการ

7

คณะอนุกรรมการจัดทํามาตรฐาน การติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรั บประเทศไทย พ.ศ. 2545 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28.

รศ.ดร.ชํานาญ นายโสภณ นายภูเธียร นายไชยวุธ นายสุกิจ นายเกียรติ นายสมศักดิ์ นายชัยวัธน์ นายวงศวัฒน์ นายพงษ์ ศกั ดิ์ นายทวีโชค นายประสิทธิ์ นายกิตติพงษ์ นายพงศ์สนั ต์ นายสุธี นายกวี นายสมศักดิ์ นายสิทธิโชค นายบุญถิ่น นายพงศ์ศกั ดิ์ นายศิวเวทย์ นายกิตติศกั ดิ์ นายเสริมพงษ์ นายลือชัย น.ส.นพดา น.ส.ธัญญา น.ส.พุทธพร น.ส.มาลี

ห่อเกียรติ ศิลาพันธ์ พงษ์ พิทยาภา ชีวะสุทโธ เกียรติบญ ุ ศรี อัชรพงศ์ นิติศฤงคาริน ปั ตตพงศ์ พิลาสลักษณาการ หาญบุญญานนท์ เพชรเกษม เหมวราพรชัย วีระโพธิ์ประสิทธิ์ จุลวงศ์ ปิ่ นไพสิฐ จงคงคาวุฒิ วัฒนศรี มงคล วัชรเสมากุล เอมย่านยาว ธรรมบวร อัครพันธุ์ วรรณแก้ ว สิมะโชคดี ทองนิล ธีรอัจฉริยกุล พิณพาทย์ ศรี ยะพันธ์ ด่านสิริสนั ติ

ประธานอนุกรรมการ รองประธาน อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ เจ้ าหน้ าที่ประสานงานวิชาการ

8

คณะกรรรมการปรับปรุ งมาตรฐาน การติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรั บประเทศไทย พ.ศ. 2545 รายนามคณะที่ปรึกษา 1. นายภูเธียร พงษ์ พิทยาภา 2. นายโสภณ ศิลาพันธ์ นิติศฤงคาริน 3. นายสมศักดิ์ 4. นายประสิทธ์ เหมวราพรชัย 5. นายสุทิน อัญญมณี รายนามคณะกรรมการประจํามาตรฐาน 1. รศ.ดร.ชํานาญ ห่อเกียรติ 2. นายไชยวุธ ชีวะสุทโธ พิทยพัฒน์ 3. ผศ.ประสิทธิ์ 4. นายลือชัย ทองนิล 5. นายสุกิจ เกียรติบญ ุ ศรี 6. นายเกียรติ อัชรพงศ์ วัฒนศรี มงคล 7. นายสมศักดิ์ หาญบุญญานนท์ 8. นายพงษ์ ศกั ดิ์ 9. นายบุญมาก สมิทธิลีลา 10. นายวิวฒ ั น์ กุลวงศ์วิทย์ 11. นายมงคล วิสทุ ธิใจ 12. น.ส.เทพกัญญา ขัติแสง

ประธาน ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

9 รายนามคณะกรรมการปรั บปรุ งมาตรฐาน 1. นายวิวฒ ั น์ กุลวงศ์วิทย์ พิทยพัฒน์ 2. ผศ.ประสิทธิ์ 3. นายชัยวัธน์ ปั ตตพงศ์ 4. นายวงศวัฒน์ พิลาสลักษณาการ 5. นายทวีโชค เพชรเกษม 6. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ 7. นายสุธี ปิ่ นไพสิฐ 8. นายกวี จงคงคาวุฒิ 9. นายสิทธิโชค วัชรเสมากุล 10. นายบุญถิ่น เอมย่านยาว ธรรมบวร 11. นายพงศ์ศกั ดิ์ 12. นายเสริ มพงษ์ สิมะโชคดี 13. นายมานะ เกสรคุปต์ 14. นายพงษ์ สนั ต์ จุลวงศ์ 15. นายกุศล กุศลส่ง 16. ดร.นาตยา คล้ ายเรื อง วรรณแก้ ว 17. นายกิตติศกั ดิ์ 18. นายศิวเวทย์ อัครพันธุ์ 19. นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล 20. น.ส.นพดา ธีรอัจฉริยกุล 21. น.ส.ธัญญา พิณพาทย์ 22. น.ส.พุทธพร ศรี ยะพันธ์ 23. น.ส.มาลี ด่านสิริสนั ติ 24. น.ส.สโรชา มัฌชิโม

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ เจ้ าหน้ าที่ประสานงานวิชาการ เจ้ าหน้ าที่ประสานงานวิชาการ

1

สารบัญ หน้ า บทที่ 1

บทที่ 2

นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-1

ตอน ก. นิยามที่ใช้ งานทัว่ ไป ตอน ข. นิยามที่ใช้ สําหรับการติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงดันที่ระบุเกิน 1,000 โวลต์ ขึ ้นไป ตอน ค. ข้ อกําหนดทัว่ ไปสําหรับการติดตั้งทางไฟฟ้า 1.101 การต่อทางไฟฟ้า (Electrical Connection) 1.102 ที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านสําหรับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า 1.103 เครื่ องห่อหุ้มและการกั้นส่วนที่มีไฟฟ้า 1.104 สถานที่ซงึ่ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าอาจได้ รับความเสียหายทางกายภาพได้ 1.105 เครื่ องหมายเตือนภัย 1.106 ส่วนที่มีประกายไฟ 1.107 การทําเครื่ องหมายระบุเครื่ องปลดวงจร ตอน ง. ระยะห่างทางไฟฟ้า (Electrical Clearance) ในการติดตั้ง สายไฟฟ้า 1.108 การวัดระยะห่างทางไฟฟ้า 1.109 ระยะห่างทางไฟฟ้า

1 -1

มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9

มาตรฐานสายไฟฟ้า มาตรฐานตัวนําไฟฟ้า มาตรฐานเครื่ องป้องกันกระแสเกิน และสวิตช์ตดั ตอน มาตรฐานหลักดิน และสิง่ ที่ใช้ แทนหลักดิน มาตรฐานช่องเดินสาย และรางเคเบิล มาตรฐานหม้ อแปลง มาตรฐานบริ ภณ ั ฑ์และเครื่ องประกอบอื่นๆ มาตรฐานระดับการป้องกันสิง่ ห่อหุ้มเครื่ องอุปกรณ์ มาตรฐานเต้ ารับ-เต้ าเสียบ

1-1 1–8 1 – 18 1 – 19 1 – 23 1 – 25 1 – 25 1 – 25 1 – 25 1 – 25 1 – 26 1 – 26

2-1 2–1 2–1 2–1 2–3 2–4 2-5 2–5 2–5 2–6

2 หน้ า 2.10 2.11 2.12

บทที่ 3

ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย 3.1 3.2 3.3 3.4

3.5

บทที่ 4

มาตรฐานแผงสวิตช์สําหรับระบบแรงตํ่า โคมไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน วงจรย่อย สายป้อน การป้องกันกระแสเกินสําหรับวงจรย่อยและสายป้อน ตัวนําประธาน (Service Conductor) ตอน ก. สําหรับระบบแรงตํ่า ตอน ข. สําหรับระบบแรงสูง บริ ภณ ั ฑ์ประธานหรื อเมนสวิตช์ (Service Equipment) ตอน ก. สําหรับระบบแรงตํ่า ตอน ข. สําหรับระบบแรงสูง

การต่ อลงดิน 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9

วงจรและระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่ต้องต่อลงดิน วงจรและระบบไฟฟ้าที่ห้ามต่อลงดิน การต่อลงดินของระบบประธาน การต่อลงดินของวงจรที่มีบริภณ ั ฑ์ประธานชุดเดียวจ่ายไฟให้ อาคาร 2 หลังหรื อมากกว่า ตัวนําที่ต้องมีการต่อลงดินของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ การต่อลงดินสําหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก การต่อลงดินของเครื่ องห่อหุ้มและ/หรื อช่องเดินสายที่เป็ นโลหะ ของตัวนําประธานและของบริภณ ั ฑ์ประธาน การต่อลงดินของเครื่ องห่อหุ้มและ/หรื อช่องเดินสายที่เป็ นโลหะ ของสายตัวนํา การต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ หรื อชนิดที่มีการ เดินสายถาวร

2–6 2–6 2–6

3–1 3–1 3–4 3–7 3–8 3–9 3 – 10 3 – 10 3 – 10 3 – 13

4–1 4–1 4–1 4–2 4–2 4–3 4–3 4–3 4–3 4–4

3 หน้ า 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 4. 15 4.16 4.17 4.18 4.19 4.20 4.21 4.22 4.23 4.24 4.25 4.26 4.27 4.28

บทที่ 5

การต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ทกุ ขนาดแรงดัน การต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ซงึ่ ไม่ได้ รับกระแสไฟฟ้าโดยตรง การต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่มีสายพร้ อมเต้ าเสียบ ระยะห่างจากตัวนําระบบล่อฟ้า วิธีตอ่ ลงดิน การต่อฝาก ชนิดของสายต่อหลักดิน ชนิดของสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า วิธีการติดตั้งสายดิน ขนาดสายต่อหลักดินของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ขนาดสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า จุดต่อของสายต่อหลักดิน (เข้ ากับหลักดิน) การต่อสายดินเข้ ากับสายหรื อบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า การต่อสายดินเข้ ากับกล่อง วิธีการต่อสายต่อหลักดิน (เข้ ากับหลักดิน) การป้องกันการยึดติด (สายต่อหลักดินและสายดิน) ความสะอาดของผิวของสิง่ ที่จะต่อลงดิน ความต้ านทานระหว่างหลักดินกับดิน (Resistance to Ground) การต่อลงดินของเครื่ องมือวัด มิเตอร์ และรี เลย์

ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ 5.1 5.2 5.3 5.4

5.5

ข้ อกําหนดการเดินสายสําหรับระบบแรงตํ่า ข้ อกําหนดการเดินสายสําหรับระบบแรงสูง การเดินสายเปิ ดหรื อเดินลอย (Open Wiring) บนวัสดุฉนวน การเดินสายในท่อโลหะหนา (Rigid Metal Conduit) ท่อโลหะ หนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit) และท่อโลหะ บาง (Electrical Metallic Tubing) การเดินสายในท่อโลหะอ่อน (Flexible Metal Conduit)

4–4 4–5 4–5 4–6 4–6 4–8 4 – 10 4 – 11 4 – 11 4 – 11 4 – 11 4 – 12 4 – 12 4 – 13 4 – 14 4 – 14 4 – 14 4 – 14 4 – 14 5–1 5–1 5–6 5–7

5–9 5 – 10

4 หน้ า 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 5.11 5.12 5.13 5.14 5.15 5.16 5.17

5.25 5.26

บทที่ 6

การเดินสายในท่อโลหะอ่อนกันของเหลว (Liquidtight Flexible Metal Conduit) การเดินสายในท่ออโลหะอ่อน (Electrical Nonmetallic Tubing) การเดินสายในท่ออโลหะแข็ง (Rigid Nonmetallic Conduit) การเดินสายในท่ออโลหะอ่อนกันของเหลว (Liquidtight Flexible Nonmetallic Conduit) การเดินสายในช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิว (Surface Metal Raceway) การเดินสายในช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิว (Surface Nonmetallic Raceway) การเดินสายในรางเดินสาย (Wireways) การติดตั้งบัสเวย์ (Busways) หรื อบัสดัก (Bus Duct) การเดินสายบนผิวหรื อเดินสายเกาะผนัง (Surface Wiring) การเดินสายในรางเคเบิล (Cable Trays) กล่องสําหรับงานไฟฟ้า (Box) ข้ อกําหนดสําหรับแผงสวิตช์ (Switchboard) และแผงย่อย (Panelboard) ข้ อ 5.18-5.24 ว่ าง สายไฟฟ้า สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ (Mineral Insulated Cable)

บริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า 6.1 6.2 6.3

โคมไฟฟ้าและเครื่ องประกอบการติดตั้ง สวิตช์ เต้ ารับ (Receptacle) และเต้ าเสียบ (Plug) มอเตอร์ วงจรมอเตอร์ และเครื่ องควบคุม ตอน ก. ทัว่ ไป ตอน ข. สายสําหรับวงจรมอเตอร์ ตอน ค. การป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ และวงจรย่อย

5 – 11 5 – 12 5 – 13 5 – 14 5 – 15 5 – 16 5 – 17 5 – 18 5 – 19 5 – 20 5 – 22 5 – 22 5 – 28 5 – 32

6-1 6–1 6–2 6–3 6–3 6–4 6–6

5 หน้ า

6.4

6.5

บทที่ 7

ตอน ง. การป้องกันกระแสลัดวงจรระหว่างสายและป้องกัน การรั่วลงดินของวงจรย่อยมอเตอร์ ตอน จ. การป้องกันกระแสลัดวงจรและป้องกันการรั่วลงดิน ของสายป้อนในวงจรมอเตอร์ ตอน ฉ. วงจรควบคุมมอเตอร์ ตอน ช. เครื่ องควบคุมมอเตอร์ ตอน ซ. เครื่ องปลดวงจร ตอน ฌ. มอเตอร์ สําหรับระบบแรงสูง ตอน ญ. การป้องกันส่วนที่มีไฟฟ้า ตอน ฎ. การต่อลงดิน หม้ อแปลง ห้ องหม้ อแปลง และลานหม้ อแปลง ตอน ก. ทัว่ ไป ตอน ข. ข้ อกําหนดจําเพาะสําหรับหม้ อแปลงชนิดต่างๆ ตอน ค. ห้ องหม้ อแปลง ตอน ง. ลานหม้ อแปลงอยูภ่ ายนอกอาคาร (Outdoor Yard) คาปาซิเตอร์ ตอน ก. คาปาซิเตอร์ แรงดันไม่เกิน 1,000 โวลต์ ตอน ข. คาปาซิเตอร์ แรงดันเกิน 1,000 โวลต์

บริเวณอันตราย 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 7.6 7.7

ทัว่ ไป บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1, ประเภทที่ 2 และ ประเภทที่ 3 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 ระบบที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง บริ เวณอันตราย โซน 0, โซน 1 และ โซน 2 ,มาตรฐานที่ 2 (IEC)

6 – 10 6 – 15 6 – 15 6 – 16 6 – 17 6 – 19 6 – 21 6 – 21 6 – 22 6 – 22 6 – 24 6 – 26 6 – 29 6 30 6 – 30 6 – 32

7–1 7–1 7–2 7 – 10 7 – 25 7 – 35 7 – 40 7 – 45

6 หน้ า บทที่ 8

สถานที่เฉพาะ 8.1 8.2 8.3 8.4

บทที่ 9

โรงมหรสพ ป้ายโฆษณา สถานบริ การ โรงแรม

8-1 8–1 8–4 8–5 8–9

อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9–1

อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษ

9–1 9 – 11

9.1 9.2

บทที่ 10 บริภณ ั ฑ์ เฉพาะงาน 10.1 10.2

10.3

เครื่ องเชื่อมไฟฟ้า สระนํ ้า อ่างนํ ้าพุ และการติดตั้งอื่นที่คล้ ายกัน ตอน ก.ทัว่ ไป ตอน ข.สระชนิดติดตั้งถาวร ตอน ค.อ่างนํ ้าพุ ลิฟต์ ตู้สง่ ของ บันไดเลื่อนและทางเดินเลื่อน ตอน ก. ทัว่ ไป ตอน ข. ตัวนํา ตอน ค. การเดินสาย ตอน ง. การติดตังตั ้ วนํา ตอน จ. เคเบิลเคลื่อนที่ ตอน ฉ. เครื่ องปลดวงจรและการควบคุม ตอน ช. การป้องกันกระแสเกิน ตอน ซ. ห้ องเครื่ อง ตอน ฌ. การต่อลงดิน ตอน ญ. การป้องกันความเร็ วเกิน

บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า 11.1

ทัว่ ไป

10 – 1 10 – 1 10 – 4 10 – 4 10 – 8 10 – 15 10 – 18 10 – 18 10 – 19 10 - 21 10 – 22 10 – 24 10 – 25 10 – 26 10 – 27 10 – 28 10 – 28

11 – 1 11 – 1

7 หน้ า 11.2 11.3 11.4

มาตรฐานที่กําหนดใช้ การทนไฟของสายไฟฟ้า การรับรองบริ ภณ ั ฑ์

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวิต 12.1 12.2 12.3 12.4 12.5 12.6 12.7 12.8 12.9

ทัว่ ไป ขอบเขต การจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินสําหรับวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต เมนสวิตช์และสวิตช์ตา่ งๆ ระบบการเดินสายไฟฟ้า การแยกระบบการเดินสาย ข้ อกําหนดเฉพาะมอเตอร์ สบู นํ ้าดับเพลิง ข้ อกําหนดการทนไฟของระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตต่างๆ การรับรองความพร้ อมสมบูรณ์ของระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวติ

บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผิวดิน (Sub-Surface Building) 13.1 13.2 13.3 13.4 13.5 13.6 13.7 13.8 13.9

ทัว่ ไป ขอบเขต ระบบการเดินสายไฟฟ้า การแยกระบบการเดินสาย เมนสวิตช์และสวิตช์ตา่ งๆ การจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินสําหรับระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก อุปกรณ์ป้องกัน การต่อลงดิน ท่อระบายอากาศ

บทที่ 14 การติดตัง้ ไฟฟ้าชั่วคราว 14.1 14.2 14.3

ขอบเขต ข้ อกําหนดการเดินสายชัว่ คราว เงื่อนเวลาการกําหนดระบบไฟฟ้าชัว่ คราว

11 – 1 11 – 2 11 – 4 12 – 1 12 – 1 12 – 1 12 – 2 12 – 3 12 – 4 12 – 5 12 – 5 12 – 6 12 – 7

13 – 1 13 – 1 13 – 1 13 – 2 13 – 3 13 – 3 13 – 4 13 – 4 13 – 4 13 – 5

14 – 1 14 – 1 14 – 1 14 – 1

8 หน้ า 14.4 14.5 14.6 14.7

ภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ภาคผนวก ค. ภาคผนวก ง. ภาคผนวก จ. ภาคผนวก ฉ. ภาคผนวก ช. ภาคผนวก ซ. ภาคผนวก ฌ. ภาคผนวก ญ. ภาคผนวก ฎ. ภาคผนวก ฏ. ภาคผนวก ฐ.

ทัว่ ไป การต่อลงดิน การป้องกันกระแสรั่วลงดินสําหรับบุคคล การกั้น คําศัพท์ อังกฤษ-ไทย คําศัพท์ ไทย-อังกฤษ ระยะในการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ากับระบบอื่น ๆ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60898 หรื อ IEC 898 เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60947-2 หรื อ IEC 947-2 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ แนะนํา ประเภทของเครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่เกี่ยวกับการป้องกันไฟดูด (IEC 60536) ตารางเปรี ยบเทียบระหว่ าง NEMA Enclosure และ IP Class Protection (IEC Standard) ดีมานด์ แฟกเตอร์ สาํ หรั บเครื่ องปรั บอากาศแบบส่ วนกลาง (Central) และโหลดของเครื่องปรั บอากาศแต่ ละชนิด วิธีการหาขนาดสายดินของวงจรย่ อย จํานวนสูงสุดของสายไฟฟ้าขนาดเดียวกันในท่ อร้ อยสาย Utilization Categories for Contactors and Motor-starters แรงดันตก

14 – 1 14 – 3 14 – 3 14 – 4 ก–1 ข–1 ค–1 ง–1 จ–1 ฉ–1 ช–1 ซ–1 ฌ–1 ญ–1 ฎ-1 ฏ–1 ฐ–1

9

ตาราง หน้ า ตารางที่ 1-1 ตารางที่ 1-2 ตารางที่ 1-3 ตารางที่ 1-4

ตารางที่ 1-5

ตารางที่ 2-1 ตารางที่ 3-1 ตารางที่ 3-2 ตารางที่ 3-3 ตารางที่ 3-4 ตารางที่ 3-5 ตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-2 ตารางที่ 5-1 ตารางที่ 5-2 ตารางที่ 5-3 ตารางที่ 5-4

ความลึก (Depth) ตํ่าสุดของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านกับบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ระบบแรงตํ่า ความลึก (Depth) ตํ่าสุดของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านกับบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ระบบแรงสูง ระดับความสูงของส่วนที่มีไฟฟ้าและไม่มีที่กั้น ระยะห่างตํ่าสุดตามแนวนอนระหว่างสายไฟฟ้ากับสิง่ ก่อสร้ าง เมื่อ สายไฟฟ้าไม่ได้ ยดึ ติดกับสิง่ ก่อสร้ าง (เมตร) (Minimum Horizontal Clearance) ระยะห่างตํ่าสุดตามแนวดิง่ ระหว่างสายไฟฟ้ากับพื ้น แหล่งนํ ้า อาคารหรื อสิง่ ก่อสร้ างอื่นๆ (เมตร) (Minimum Vertical Clearance) ความหมายตัวเลขกํากับระดับชั้นการป้องกันหลังสัญลักษณ์ IP ดีมานด์แฟกเตอร์ สําหรับโหลดแสงสว่าง ดีมานด์แฟกเตอร์ สําหรับโหลดเต้ ารับในสถานที่ไม่ใช่ที่อยูอ่ าศัย ดีมานด์แฟกเตอร์ สําหรับเครื่ องใช้ ไฟฟ้าทัว่ ไป พิกดั สูงสุดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินและโหลดสูงสุดตามขนาด เครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้า (สําหรับการไฟฟ้านครหลวง) ขนาดสายไฟฟ้า เซฟตีสวิตช์ คัตเอาต์ และคาร์ ทริ ดจ์ฟิวส์สําหรับ ตัวนําประธาน (สําหรับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) ขนาดตํ่าสุดของสายต่อหลักดินของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ขนาดตํ่าสุดของสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ความลึกในการติดตั้งใต้ ดนิ สําหรับระบบแรงตํ่า ระยะห่างสําหรับการจับยึดสายไฟในแนวดิง่ พื ้นที่หน้ าตัดสูงสุดรวมของสายไฟทุกเส้ นคิดเป็ นร้ อยละเทียบกับ พื ้นที่หน้ าตัดของท่อ การเดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร

1 – 20 1 – 22 1 – 23

1 – 28

1 – 29 2–6 3–5 3–5 3–6 3 – 12 3 – 12 4 – 12 4 – 13 5–3 5–4 5–5 5–8

10

หน้ า ตารางที่ 5-5 ตารางที่ 5-6 ตารางที่ 5-7 ตารางที่ 5-8 ตารางที่ 5-9 ตารางที่ 5-20

ตารางที่ 5-21

ตารางที่ 5-22

ตารางที่ 5-23

ตารางที่ 5-24

การเดินสายเปิ ดบนลูกถ้ วยภายนอกอาคาร ความหนาตํ่าสุดของช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิว (Surface Metal Raceway) ระยะห่างตํ่าสุดระหว่างที่มีไฟฟ้าเปลือยกับส่วนทีมีไฟฟ้าเปลือย และระหว่างส่วนที่มีไฟฟ้าเปลือยกับดิน (มม.) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสเนื่องจากจํานวนสายที่นํากระแสในช่อง เดินสายไฟฟ้าเดียวกันมากกว่า 1 กลุม่ วงจร ระยะจับยึด/รองรับ ของการติดตั้งเอ็มไอเคเบิล ตารางที่ 5-10 – 5.19 ว่ าง ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มี/ไม่มีเปลือก นอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิ ตัวนํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในช่องเดินสายในอากาศ ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดง หุ้มฉนวน มีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC หรื อ 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินเกาะผนังในอากาศ ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนพีวีซี มอก.11-2553 สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 450/750 โวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินบนฉนวนลูก ถ้ วยในอากาศ ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มีเปลือก นอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิ ตัวนํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 30 ºC ร้อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 300/500 โวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC หรื อ 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินใน อากาศ

5–8 5 – 16 5 – 26 5 – 29 5 – 33

5 – 35

5 – 36

5 – 38

5 – 39

5 – 40

11

หน้ า ตารางที่ 5-25 ขนาดกระแสของสายอ่อน (flexible cord) ตัวนําทองแดงหลาย แกนหุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 300/500 โวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC หรื อ 90 ºC อุณหภูมิ โดยรอบ 40 ºC เดินในอากาศ 5 – 41 ตารางที่ 5-26 ขนาดกระแสของสายเคเบิลอ่อน (flexible cord) ตัวนําทองแดงหุ้ม ฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 450/750 โวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในอากาศ

5 – 42

ตารางที่ 5-27 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์พอ ลิเอทิลีน มีเปลือกนอกสําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินร้ อย 5 – 43 ในท่อในอากาศ ตารางที่ 5-28 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าแกนเดียวตัวนําทองแดงหุ้มฉนวน ครอส ลิงกด์พอลิเอทิลีน สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโล โวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินบนฉนวน ลูกถ้ วยในอากาศ

5 – 44

ตารางที่ 5-29 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์พอลิเอทิลีน มีเปลือกนอก ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 5 – 45 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 30 ºC ร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดินโดยตรง ตารางที่ 5-30 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มีเปลือก นอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิ ตัวนํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลแบบระบาย อากาศไม่มีฝาปิ ด หรื อรางเคเบิลแบบบันได

5- 46

ตารางที่ 5-31 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตัวนํ าทองแดงหุ้มฉนวนพี วีซี มี เปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลชนิดด้ านล่างทึบ มี/ไม่มี ฝาปิ ด 5 – 47

12

หน้ า ตารางที่ 5-32 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์พอ ลิเอทิลีน มีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วางบน รางเคเบิลแบบระบายอากาศ ไม่มีฝาปิ ด หรื อรางเคเบิลแบบบันได ตารางที่ 5-33 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์พอ ลิเอทิลีน มีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วางบน รางเคเบิลชนิดด้ านล่างทึบ มี/ไม่มี ฝาปิ ด ตารางที่ 5-34 ขนาดกระแสของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ตัวนําและเปลือก (Sheath) ทองแดง หุ้ม/ไม่ห้ มุ พีวีซี โดยเปลือกทองแดงสามารถสัมผัสได้ อุณหภูมิเปลือก 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC ตารางที่ 5-35 ขนาดกระแสของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ตัวนําและเปลือก (Sheath) ทองแดง โดยเปลือกทองแดงไม่สามารถให้ บคุ คลสัมผัส หรื อไม่สามารถ สัมผัสกับวัสดุตดิ ไฟได้ อณ ุ หภูมิเปลือก 105 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC

5 – 49

5 – 50

5 – 52

5 – 53

ตารางที่ 5-36 ขนาดกระแสของสายเคเบิล ตัวนําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนครอสลิ งกด์พอลิเอทิลนี เปลือกนอกพีวีซี มีชีลด์ ขนาดแรงดัน (U0/U) ตั้งแต่ 3.6/6 กิโลโวลต์ ถึง 18/30 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 90 ºC อุณหภูมิ โดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลแบบระบายอากาศ หรื อบนราง 5 – 54 เคเบิลแบบบันได ตารางที่ 5-37 ขนาดกระแสของสายเคเบิล ตัวนําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนครอสลิ งกด์พอลิเอทิลนี เปลือกนอกพีวีซี มีชีลด์ ขนาดแรงดัน (U0/U) ตั้งแต่ 3.6/6 กิโลโวลต์ ถึง 18/30 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 90 ºC อุณหภูมิ โดยรอบ 40 ºC (เดินร้ อยในท่อในอากาศ) และ 30 ºC (ร้ อยท่อฝั ง ดิน)

5 – 55

13

หน้ า ตารางที่ 5-38 ขนาดกระแสสายเคเบิลตัวนํ าทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนครอส ลิงกด์พอลิเอทิลีน มี เปลือกนอก อุณหภูมิตัวนํ า 90 ºC อุณหภูมิ โดยรอบ 30 ºC ขนาดแรงดัน (U0/U) 3.6/6 ถึง 18/30 กิโลโวลต์ 5 – 56 เดินใน duct bank ไม่เกิน 8 ท่อ ตารางที่ 5-39 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าเครื่ องเชื่อม (ตัวนําทองแดง) ตาม มอก. 5 – 57 448-2525 ตารางที่ 5-40 ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว วางบนราง 5 – 58 เคเบิล เป็ นกลุม่ มากกว่า 1 วงจร ตารางที่ 5-41 ตัวคูณปรั บค่าขนาดกระแสสําหรั บสายเคเบิลหลายแกน วางบน รางเคเบิลแบบระบายอากาศ แบบด้ านล่างทึบ หรื อแบบบันได เมื่อ 5 – 60 วางเป็ นกลุม่ มากกว่า 1 วงจร ตารางที่ 5-42 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าอลูมิเนียมหุ้มฉนวนพีวีซีตาม มอก.2932541 ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 450/750 โวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินบนฉนวนลูกถ้ วยในอากาศ ตารางที่ 5-43 ตัวคูณปรับค่าอุณหภูมิโดยรอบที่แตกต่างจาก 40 ºC ใช้ กบั ค่า ขนาดกระแสของเคเบิล เมื่อเดินในอากาศ

5 – 61 5 – 62

ตารางที่ 5-44 ตัวคูณปรับค่าอุณหภูมิโดยรอบแตกต่างจาก 30 ºC ใช้ กบั ค่าขนาด 5 – 63 กระแสของเคเบิล เมื่อเดินใต้ ดนิ ตารางที่ 5-45 ตัวคูณปรั บค่าสําหรั บสายเคเบิลแกนเดียว หรื อหลายแกน ขนาด แรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ ฝั งดินโดยตรง เมื่อวางเป็ น 5 – 64 กลุม่ มากกว่า 1 วงจร วางเรี ยงกันแนวระดับ ตารางที่ 5-46 ตัวคูณปรับค่าสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว หรื อหลายแกน ขนาด แรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ ร้ อยท่อฝั งดินโดยตรง เมื่อ วางเป็ นกลุม่ มากกว่า 1 วงจร วางเรี ยงกันแนวระดับ ตารางที่ 5-47 รูปแบบการติดตั้งอ้ างอิง

5 – 64 5 – 65

14

หน้ า ตารางที่ 5-48 ข้ อกําหนดการใช้ งานของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดง หุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 ตารางที่ 6-1 ขนาดกระแสของสายสําหรับมอเตอร์ ที่ใช้ งานไม่ตอ่ เนื่อง ตารางที่ 6-2

5 – 67 6–4

ขนาดสายระหว่างเครื่ องควบคุมมอเตอร์ และตัวต้ านทานในวงจร ทุตยิ ภูมิของมอเตอร์ แบบวาวด์โรเตอร์

6–5

พิกดั หรื อขนาดปรับตั้งสูงสุดของเครื่ องป้องกันการลัดวงจรระหว่าง สายและป้องกันการรั่วลงดินของวงจรย่อยมอเตอร์

6 – 11

ตารางที่ 6-4

รหัสอักษรแสดงการล็อกโรเตอร์

6 – 13

ตารางที่ 6-5

ขนาดปรับตั้งสูงสุดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินสําหรับหม้ อแปลง ระบบแรงสูง

6 – 23

ตารางที่ 7-1

ระดับอุณหภูมิสงู สุดที่ผิว บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1

7–6

ตารางที่ 7-2

ระดับอุณหภูมิสงู สุดที่ผิว บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2

7–7

ตารางที่ 7-3

ประเภทของการออกแบบระบบป้องกัน

7 – 10

ตารางที่ 7-4

ประเภทของการออกแบบระบบป้องกัน

7–5

ตารางที่ 7-5

กลุม่ การจําแนกประเภทของกลุม่ ก๊ าซ

7 – 51

ตารางที่ 7-6

การจําแนกประเภทอุณหภูมิพื ้นผิวสูงสุดสําหรับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ากลุม่

7 – 51

ตารางที่ 9-1

ขนาดของเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าแรงตํ่าสําหรับห้ องชุดประเภทอยู่ อาศัย (สําหรับการไฟฟ้านครหลวง)

9–4

ขนาดของเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าแรงตํ่าสําหรับห้ องชุดประเภทอยู่ อาศัย (สําหรับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค)

9–5

ขนาดของเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าแรงตํ่าสําหรับห้ องชุดประเภท สํานักงานหรื อร้ านค้ าทัว่ ไป (สําหรับการไฟฟ้านครหลวง)

9–5

ขนาดของเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าแรงตํ่าสําหรับห้ องชุดประเภท สํานักงานหรื อร้ านค้ าทัว่ ไป (สําหรับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค)

9–6

ค่าโคอินซิเดนต์แฟกเตอร์ สําหรับห้ องชุดประเภทอยูอ่ าศัย

9–9

ตารางที่ 6-3

ตารางที่ 9-2 ตารางที่ 9-3 ตารางที่ 9-4 ตารางที่ 9-5

15

หน้ า ตารางที่ 9-6

ค่าโคอินซิเดนต์แฟกเตอร์ สําหรับห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อ ร้ านค้ าทัว่ ไปและประเภทอุตสาหกรรม

ตารางที่ 10-1 ระยะห่างระหว่างสายไฟฟ้าอากาศกับส่วนต่างๆ ของสระว่ายนํ ้า ตารางที่ 10-2 ดีมานด์แฟกเตอร์ ของสายป้อนวงจรลิฟต์

9–9 10 – 7 10 – 21

ตารางที่ 11-1 การทดสอบตาม BS 6378 ตารางที่ 11-2 การทดสอบตาม IEC 60332-1

11 – 2

ตารางที่ 11-3 การทดสอบตาม IEC 60332-3

11 - 3

11 – 3

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-1

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป นิยามและข้ อกํ าหนดทั่วไปที่ระบุไว้ ในมาตรฐานเล่มนี ้ มี จุดมุ่งหมายเพื่อสื่อความ หมาย ใช้ เรี ยกชื่อและอธิบายลักษณะรู ปแบบหรื อการกระทํา เพื่อให้ ผ้ ใู ช้ มาตรฐานได้ เข้ าใจขอบเขตและ ลักษณะอุปกรณ์หรื อการกระทําที่กําหนดไว้ ในมาตรฐาน ประกอบด้ วย 4 ตอน ตอน ก. และ ตอน ข. เป็ นคํานิยามสําหรับการติดตั ้งทางไฟฟ้า สําหรับระบบไฟฟ้าแรงตํ่ากับระบบไฟฟ้าแรงสูง ตอน ค. เป็ นข้ อกําหนดการติดตั้งทางไฟฟ้าทัว่ ไปที่สําคัญ ซึ่งเป็ นข้ อพึงปฏิบตั ิในงานออกแบบและ ติดตั้งเพื่อให้ ระบบไฟฟ้าใช้ งานได้ อย่างมั่นคงและปลอดภัย ทั้งยังได้ คํานึงถึงการตรวจสอบ บํารุ งรักษาให้ สามารถกระทําได้ ทวั่ ถึง และตอน ง. เป็ นข้ อกําหนดระยะห่างทางไฟฟ้าในการ ติดตั้งสายไฟฟ้ าเหนือ พื ้นดิน เพื่อ ใช้ อ้า งอิง ในการออกแบบและติดตั ้งให้ มีระยะห่างจากตัว อาคารหรื อสิ่งก่อสร้ างได้ ระยะที่ปลอดภัย ตอน ก. นิยามทีใ่ ช้ งานทั่วไป 1.1 เข้ าถึงได้ (Accessible) เมื่อใช้ กบั วิธีการเดินสาย หมายถึง ที่ซงึ่ สามารถถอดหรื อเปิ ดได้ โดยไม่ทําให้ โครงสร้ างหรื อส่วนที่เสร็ จแล้ วของอาคารเสียหาย หรื อที่ซึ่งไม่ถูกปิ ดอย่างถาวรด้ วย โครงสร้ างหรื อส่วนที่เสร็ จแล้ วของอาคาร (ดูคําว่า “ซ่อน” และ “เปิ ดโล่ง”) 1.2 เข้ าถึงได้ (Accessible) เมื่อใช้ กบั บริ ภณ ั ฑ์ หมายถึง ที่ซงึ่ อนุญาตให้ เข้ าไปใกล้ ได้ โดยไม่มี การกันด้ ้ วยประตูซงึ่ ถูกล็อก หรื อติดกุญแจอยู่ พื ้นยก หรื อวิธีอื่น (ดูคําว่า “เข้ าถึงได้ งา่ ย”) 1.3 เข้ าถึงได้ ง่าย (Accessible, Readily) หมายถึง ที่ซงึ่ สามารถเข้ าถึงได้ อย่างรวดเร็ วเพื่อ ปฏิบตั ิการ เปลี่ยนหรื อตรวจสอบ โดยไม่ทําให้ ผ้ เู ข้ าถึงต้ องปี นข้ ามหรื อเคลื่อนย้ ายสิ่งกีดขวาง หรื อใช้ บนั ไดหยิบยกได้ หรื อใช้ เก้ าอี ้ ฯลฯ 1.4 ขนาดกระแส (Ampacity) หมายถึง ปริ มาณกระแส ซึ่งตัวนํายอมให้ ไหลผ่านอย่างต่อเนื่องในภาวะการใช้ งาน โดยไม่ทําให้ พิกดั อุณหภูมิเกินค่าที่กําหนด มีหน่วยเป็ นแอมแปร์ 1.5 เครื่ องใช้ ไฟฟ้า (Appliance) หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์สําหรับประโยชน์ใช้ สอยทัว่ ไปนอกจาก ในโรงงานอุตสาหกรรม โดยปกติสร้ างขึ ้นเป็ นขนาดมาตรฐานสากล โดยติดตั้งหรื อประกอบเข้ า

1-2

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

เป็ นหน่วยเดียว เพื่อใช้ งานในหน้ าที่เดียวหรื อหลายหน้ าที่ เช่น เครื่ องซักผ้ า เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องผสมอาหาร เครื่ องทอด และอื่นๆ 1.6 รั บรอง (Approved) หมายถึง เป็ นที่ยอมรับของเจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอํานาจ 1.7 แอสคาเรล (Askarel) หมายถึง สารไม่ติดไฟประเภทไฮโดรคาร์ บอน ซึ่งประกอบขึ ้น จากคลอรี นใช้ เป็ นฉนวนทางไฟฟ้า หมายเหตุ เนือ่ งจากเป็ นสาร PCB ซึ่งเป็ นสารพิษ ปั จจุบนั ห้ามใช้

1.8 เต้ าเสียบ (Attachment Plug) หมายถึง อุปกรณ์ที่สอดเข้ าไปในเต้ ารับแล้ วทําให้ เกิด การต่อระหว่างตัวนําของสายอ่อนที่ตดิ เต้ าเสียบกับตัวนําที่ตอ่ อย่างถาวรกับเต้ ารับ 1.9 อัตโนมัติ (Automatic) หมายถึง การทํางานได้ โดยกลไกของตัวเอง เมื่อมีการกระตุ้นอัน ไม่ ใ ช่ ก ารกระทํ า ของบุ ค คล เช่ น มี ก ารเปลี่ ย นแปลงกระแส แรงดัน อุ ณ หภู มิ หรื อ การ เปลี่ยนแปลงทางกล 1.10 การต่ อฝาก (Bonding) หมายถึง การต่อถึงกันอย่างถาวรของส่วนที่เป็ นโลหะให้ เกิดเป็ น ทางนําไฟฟ้าที่มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า และสามารถนํากระแสที่อาจเกิดขึ ้นได้ อย่างปลอดภัย 1.11 สายต่ อฝาก (Bonding Jumper) ต้ องการต่อถึงกันทางไฟฟ้า

หมายถึง ตัวนําที่ใช้ ตอ่ ระหว่างส่วนที่เป็ นโลหะที่

1.12 ระบบสายต่ อฝาก (Bonding Jumper, System) หมายถึง การต่อกันระหว่างตัวนําที่ ต่อลงดินของวงจร กับสายต่อฝากด้ านแหล่งจ่าย หรื อกับสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ หรื อกับทั้งสอง อย่าง ของระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก 1.13 สายต่ อฝากของบริ ภัณฑ์ (Bonding Jumper, Equipment) หมายถึง สายต่อฝาก ระหว่างสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ตั้งแต่สองส่วนขึ ้นไป 1.14 สายต่ อฝากประธาน (Bonding Jumper, Main) หมายถึง สายต่อฝากที่ตอ่ ระหว่างตัวนําที่มีการต่อลงดินกับตัวนําต่อลงดิน (สายดิน) ที่ตําแหน่งด้ านไฟเข้ าของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน 1.15 วงจรย่ อย (Branch Circuit) หมายถึง ตัวนําวงจรในวงจรระหว่างอุปกรณ์ป้องกันกระแส เกินจุดสุดท้ ายกับจุดจ่ายไฟ ซึง่ อาจแบ่งออกได้ ดงั นี ้ วงจรย่ อยสําหรั บเครื่ องใช้ ไฟฟ้า (Branch Circuit, Appliance) หมายถึง วงจรย่อยที่จ่าย ไฟฟ้าให้ จดุ จ่ายไฟที่มีเครื่ องใช้ ไฟฟ้ามาต่อมากกว่า 1 จุดขึ ้นไป เช่น วงจรไม่มีการต่อจากสาย ดวงโคม

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-3

วงจรย่ อยสําหรั บจุดประสงค์ ท่ วั ไป (Branch Circuit, General Purpose) หมายถึง วงจร ย่อยที่จ่ายไฟฟ้าให้ กบั จุดจ่ายไฟเพื่อใช้ สําหรับแสงสว่างและเครื่ องใช้ ไฟฟ้า วงจรย่ อยเฉพาะ (Branch Circuit, Individual) หมายถึง วงจรย่อยที่จ่ายไฟฟ้าให้ บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยหนึง่ ชิ ้นเท่านั้น 1.16 ตู้ (Cabinet) หมายถึง เครื่ องห่อหุ้มที่ออกแบบให้ ติดตั้งบนพื ้นผิวหรื อติดผนัง โดยมี กรอบ ด้ าน และฝาปิ ดซึง่ เปิ ดได้ 1.17 รางเคเบิล (Cable Trays) หมายถึง รางสําหรับรองรับสายเคเบิล ซึง่ ทําด้ วยวัสดุไม่ติด ไฟ ซึ่งประกอบด้ วยฐานยาวต่อเนื่ องกันโดยมี ขอบตั้งขึ ้น ไม่มีฝาปิ ด โดยรางเคเบิลอาจเป็ น หรื อไม่เป็ นรูพรุน ก็ได้ หรื อเป็ นตะแกรงก็ได้ ทั้งนี ้อาจเป็ น รางเคเบิลขัน้ บันได (Cable ladder) หมายถึง รางสําหรับรองรับสายเคเบิล ลักษณะคล้ าย บันได มีสว่ นประกอบตามแนวขวางยึดกับส่วนประกอบหลักที่เป็ นแนวยาวต่อเนื่องกัน ระบบรางเคเบิลปิ ด (Cable trunking system) หมายถึง ระบบของรางปิ ด ซึง่ ประกอบด้ วย ฐานกับฝาที่เปิ ดได้ รางปิ ดนี ้มุ่งหมายให้ ใช้ สําหรับล้ อมรอบตัวนําหุ้มฉนวน สายเคเบิล สายอ่อน และ/หรื อ ใช้ สํา หรั บอํ า นวยความสะดวกให้ แ ก่ บ ริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าอื่ น ๆ ซึ่งรวมถึง บริ ภัณ ฑ์ ด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นมัด (Bunched) หมายถึง สายเคเบิลอาจกล่าวว่าเป็ นมัด เมื่อมีสายเคเบิลตั้งแต่ 2 เส้ นขึ ้น ไป อยู่ร วมกัน ในท่อ ร้ อยสาย ท่ อ ท่อ เดิน สาย หรื อ รางเคเบิ ล หรื อ กรณี ไ ม่ มี ก ารห่อ หุ้ม จะ หมายถึงสายเคเบิลตั้งแต่ 2 เส้ นขึ ้นไปที่ไม่ได้ แยกกันตามระยะห่างที่กําหนดไว้ 1.18 เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (Circuit Breaker) หมายถึง อุปกรณ์ซงึ่ ถูกออกแบบให้ ปิดและเปิ ด วงจรโดยไม่อตั โนมัติ และให้ เปิ ดวงจรโดยอัตโนมัตเิ มื่อมีกระแสไหลผ่านเกินกําหนด โดยเซอร์ กิต เบรกเกอร์ ไม่เสียหายเมื่อใช้ งานภายในพิกดั ปรั บได้ (Adjustable) เมื่อใช้ กบั เซอร์ กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่สามารถตั ้ง ค่ากระแสต่างๆ เพื่อปลดวงจรได้ ภายในเวลาที่กําหนด ปลดวงจรทันที (Instantaneous Trip) เมื่อใช้ กบั เซอร์ กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์ กิตเบรก เกอร์ ที่ปลดวงจรทันที โดยไม่มีการหน่วงเวลา เวลาผกผัน (Inverse Time) เมื่อใช้ กบั เซอร์ กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่มีการ หน่วงเวลาในการปลดวงจรโดยที่การหน่วงเวลานันจะลดลงเมื ้ ่อกระแสเพิ่มขึ ้น

1-4

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

ปรั บไม่ ได้ (Nonadjustable) เมื่อใช้ กับเซอร์ กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ไม่ สามารถปรับค่ากระแสหรื อเวลาในการปลดวงจร การปรั บตัง้ (Setting) ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ หมายถึง ค่ากระแส และ/หรื อเวลาของเซอร์ กิต เบรกเกอร์ ซึง่ ถูกตั้งไว้ เพื่อปลดวงจร การประสานสัมพันธ์ (Coordination) หมายถึง การบอกตําแหน่งของสภาวะกระแสเกินเพื่อ จํากัดการเกิดไฟฟ้าขัดข้ องของวงจร หรื อบริ ภณ ั ฑ์ โดยการเลือกอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน และ ค่าพิกดั เพื่อปลดวงจร 1.19 ซ่ อน (Concealed) หมายถึง ทําให้ เข้ าถึงไม่ได้ โดยสิ่งก่อสร้าง หรื อส่วนของอาคาร สายไฟฟ้าในช่องเดินสายที่ซอ่ น ถือว่าเป็ นที่ซอ่ น ถึงแม้ วา่ อาจจะเข้ าถึงได้ โดยการดึงออกมา 1.20 ตัวนํา (Conductor) ตัวนําเปลือย (Bare Conductor) หมายถึง ตัวนําที่ไม่มีการหุ้ม หรื อไม่มีฉนวนไฟฟ้าใดๆ ตัวนําหุ้ม (Covered Conductor) หมายถึง ตัวนําที่ห้ มุ ด้ วยวัสดุที่มีสว่ นประกอบหรื อมีความ หนาซึง่ ไม่เป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นฉนวนไฟฟ้าตามมาตรฐานนี ้ ตัวนําหุ้มฉนวน (Insulated Conductor) หมายถึง ตัวนําที่ห้ มุ ด้ วยวัสดุที่มีสว่ นประกอบและมี ความหนาเป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นฉนวนไฟฟ้า เคเบิล (cable) หมายถึง กลุ่มของตัวนํา ตั้งแต่หนึ่งเส้ นขึ ้นไป โดยมีวสั ดุฉนวนและเปลือก ป้องกัน อาจเป็ นตัวนําเดี่ยวหรื อตัวนําชนิด stranded ที่มีฉนวนและมีเปลือก(เคเบิลตัวนําเดี่ยว) หรื อกลุม่ ของตัวนํามีฉนวนแยกจากตัวนําอื่นและมีเปลือก(เคเบิลหลายตัวนํา) ระบบบัสบาร์ (Busbar trunking system) หมายถึง ระบบตัวนําหุ้มซึง่ มีชดุ ประกอบที่ได้ รับ การทดสอบเฉพาะแบบ มี ลัก ษณะประกอบด้ ว ย ตัว นํ า เดี่ ย วที่ แ ยกกัน ด้ ว ยวัส ดุฉ นวน ชุด ประกอบอาจประกอบด้ วยต่อไปนี ้ ชุดบัสบาร์ ที่อาจมีหรื อไม่มี สําหรับชุดจุดแยก หน่วยจุดแยก ที่เหมาะสม หน่วยอุปกรณ์ สลับเฟส อุปกรณ์ ขยาย อุปกรณ์ เคลื่อนไหวได้ อุปกรณ์ ยืดหยุ่น อุปกรณ์ปลายสายป้อน และอะแดปเตอร์ ทั้งนี ้องค์ประกอบอื่น ๆ อาจรวมอยูก่ บั หน่วยจุดแยก 1.21 ข้ อต่ อเปิ ด (Conduit Body) หมายถึง ส่วนแยกต่างหากของระบบท่อร้ อยสายที่จดุ ต่อ ระหว่างส่วนของระบบตังแต่ ้ 2 ส่วนขึ ้นไป หรื อจุดปลายของระบบเพื่อให้ เข้ าถึงระบบสายได้ โดย ฝาครอบที่ถอดได้ กล่อง เช่น ชนิด FS และ FD หรื อกล่องโลหะหล่อ กล่องโลหะแผ่นที่ใหญ่ ไม่ ถือว่าเป็ นข้ อต่อเปิ ด

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-5

1.22 ตัวต่ อสายแบบบีบ (Connector, Pressure) หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ ตอ่ ระหว่างตัวนํา ตั้งแต่ 2 ตัวนําขึ ้นไป หรื อระหว่างตัวนําตั้งแต่ 1 ตัวนําขึ ้นไปกับขั ้วสาย โดยใช้ แรงกดทางกลไม่ใช้ การบัดกรี 1.23 โหลดต่ อเนื่อง (Continuous Load) หมายถึง โหลดที่คาดว่ากระแสสูงสุดที่คงที่ติดต่อ กันตั ้งแต่ 3 ชัว่ โมงขึ ้นไป 1.24 เครื่ องควบคุม (Controller) หมายถึง อุปกรณ์ หรื อกลุม่ ของอุปกรณ์ที่ใช้ ควบคุมกําลัง ไฟฟ้าที่สง่ ไปยังเครื่ องสําเร็ จที่ตอ่ กับเครื่ องควบคุมนั้น 1.25 ตัวนําอะลูมิเนียมหุ้มด้ วยทองแดง (Copper Clad Aluminum Conductor) หมายถึง ตัวนําที่ทําจากแท่งอะลูมิเนียมหุ้มด้ วยทองแดง โดยประสานทองแดงกับแกนอะลูมิเนียมด้ วยวิธี โลหการ และต้ องมีทองแดงอย่างตํ่าร้ อยละ 10 ของพื ้นที่หน้ าตัดของตัวนําเดี่ยว หรื อของแต่ละ เส้ นของตัวนําตีเกลียว 1.26 ด้ านหน้ าไม่ มีไฟ (Dead Front) หมายถึง ด้ านที่ใช้ ปฏิบตั ิงานของบริ ภณ ั ฑ์ ไม่มีสว่ นที่ มีไฟฟ้าเปิ ดโล่งสูบ่ คุ คล 1.27 ดีมานด์ แฟกเตอร์ (Demand Factor) หมายถึง อัตราส่วนระหว่างความต้ องการสูงสุด ของระบบหรื อส่วนของระบบกับโหลดทั้งหมด ที่ตอ่ เข้ ากับระบบหรื อส่วนของระบบที่พิจารณา 1.28 อุปกรณ์ (Device) หมายถึง หน่วยหนึ่งของระบบไฟฟ้า ที่ม่งุ หมายให้ เป็ นทางผ่านของ กระแสไฟฟ้าแต่ไม่ใช้ พลังงานไฟฟ้า 1.29 เครื่ องปลดวงจร (Disconnecting Means) หมายถึง อุปกรณ์หรื อกลุ่มของอุปกรณ์ หรื อสิง่ อื่นที่สามารถปลดตัวนําในวงจรออกจากแหล่งจ่าย 1.30 ทนฝุ่ น (Dustproof) หมายถึง การสร้ างหรื อการป้องกันซึ่งทําให้ ฝนไม่ ุ่ มีผลต่อการทํางานของสิง่ นั้นๆ 1.31 กันฝุ่ น (Dusttight) หมายถึง การสร้ างซึ่งทําให้ ฝนไม่ ุ่ สามารถเข้ าไปข้ างในสิ่งห่อหุ้ม ภายใต้ เงื่อนไขที่กําหนดสําหรับการทดสอบที่กําหนดโดยเฉพาะ 1.32 ใช้ งาน (Duty) ใช้ งานต่ อเนื่อง (Continuous Duty) หมายถึง การใช้ งานที่มีโหลดเกือบคงที่ โดยมีระยะ เวลานานไม่จํากัด

1-6

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

ใช้ งานเป็ นระยะ (Intermittent Duty) หมายถึง การใช้ งานเป็ นช่วงสลับกัน เช่น (1) ช่วงมีโหลด และไร้ โหลด หรื อ (2) ช่วงมีโหลด และพัก หรื อ (3) ช่วงมีโหลด ไร้ โหลด และพัก ใช้ งานเป็ นคาบ (Periodic Duty) หมายถึง การใช้ งานเป็ นระยะซึ่งภาวะโหลดกลับมีขึ ้นอีก อย่างสมํ่าเสมอ ใช้ งานระยะสัน้ (Short-Time Duty) หมายถึง การใช้ งานที่มีโหลดมากเกือบคงที่ โดยมี ระยะเวลาสั ้นและจํากัด ใช้ งานไม่ แน่ นอน (Varying Duty) หมายถึง การใช้ งานซึ่งทั ้งขนาดโหลดและช่วงเวลาที่มี โหลดเปลี่ยนแปลงได้ ไม่แน่นอน 1.33 ป้ายไฟฟ้า (Electric Sign) หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์ที่ยดึ อยูก่ บั ที่ ประจําที่หรื อหยิบยกได้ ที่มี การส่องสว่างทางไฟฟ้าโดยมีข้อความ หรื อสัญลักษณ์ ที่ออกแบบ เพื่อแสดงให้ ทราบหรื อเพื่อ ดึงดูดความสนใจ 1.34 ล้ อม (Enclosed) หมายถึง ล้ อมรอบด้ วยกล่อง ที่ครอบ รั้ว หรื อผนังเพื่อป้องกันบุคคล มิให้ สมั ผัสกับส่วนที่มีแรงดันโดยบังเอิญ 1.35 เครื่ องห่ อหุ้ม หรื อ ที่ล้อม (Enclosure) หมายถึง กล่องหรื อกรอบของเครื่ องสําเร็ จ หรื อรั ว้ หรื อ ผนังที่ล้อมรอบการติดตั ้งเพื่อป้ องกันบุคคลมิให้ สมั ผัสกับส่วนที่มีแรงดัน ไฟฟ้า หรื อเพื่อป้องกันบริ ภณ ั ฑ์ไม่ให้ เสียหาย จ่ ายไฟ, มีไฟ (Energized) หมายถึง เป็ นสภาวะที่มีการต่อทางไฟฟ้ากับแหล่งจ่ายแรงดัน หรื อ เป็ นแหล่งจ่ายแรงดัน ซึ่งไม่จํากัดว่าเป็ นบริ ภณ ั ฑ์ที่ต่อกับแหล่งจ่ายแรงดันเท่านั้น แต่ยงั รวมถึง ต่อคาปาซิเตอร์ และตัวนําที่มีแรงดันเหนี่ยวนําด้ วย 1.36 บริ ภัณฑ์ (Equipment) หมายถึง สิ่งซึง่ รวมทั้งวัสดุ เครื่ องประกอบ อุปกรณ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า ดวงโคม เครื่ องสําเร็ จและสิ่งอื่นที่คล้ ายกัน ที่ใช้ เป็ นส่วนหนึ่งหรื อใช้ ในการต่อเข้ ากับการ ติดตั้งทางไฟฟ้า บริภัณฑ์ ส่ ือสาร (Communication Equipment) หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์อิเล็กทรอนิกส์ซงึ่ ทําหน้ าที่ ด้ านการสื่อสาร คือ ส่งผ่าน เสียง ภาพ และข้ อมูล และรวมถึงบริ ภัณฑ์ไฟฟ้ากํ าลัง (เช่น DC คอนเวอร์ เตอร์ อินเวอร์ เตอร์ และแบตเตอรี่ ) และบริ ภณ ั ฑ์ด้านเทคนิค (เช่น คอมพิวเตอร์ ) 1.37 บริ ภัณฑ์ ทนระเบิด (Explosionproof Equipments) หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์ที่อยู่ในเครื่ อง ห่อหุ้ม ซึ่งสามารถทนการระเบิดของก๊ าซ หรื อไอบางชนิดที่อาจเกิ ดขึน้ ภายใน และสามารถ

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-7

ป้องกันการจุดระเบิดของก๊ าซหรื อไอบางชนิดที่อยู่รอบ ๆ เครื่ องห่อหุ้ม ซึ่งจุดระเบิดโดยการส ปาร์ ก วาบไฟ หรื อการระเบิดของก๊ าซหรื อไอภายใน และบริ ภณ ั ฑ์ที่อยู่ในเครื่ องห่อหุ้มซึง่ ทํางาน ท่ามกลางอุณหภูมิภายนอกที่เป็ นบรรยากาศแวดล้ อมที่ติดไฟได้ โดยบรรยากาศแวดล้ อมนั้นจะ ไม่จดุ ระเบิด 1.38 เปิ ดโล่ ง (Exposed) เมื่อใช้ กับส่ วนที่มีไฟฟ้า หมายถึง สภาพที่บคุ คลสามารถสัมผัส หรื อเข้ าไปใกล้ เกินระยะปลอดภัยโดยพลังเผลอได้ ้ รวมถึงส่วนที่ไม่มีการกั้น ไม่มีการแยกออก หรื อไม่มีการฉนวนอย่างเหมาะสม 1.39 เปิ ดโล่ ง (Exposed) เมื่อใช้ กับวิธีการเดินสาย หมายถึง อยู่บนหรื อติดกับพื ้นผิวหรื อ อยูด่ ้ านหลังของแผงที่ออกแบบให้ เข้ าถึงได้ 1.40 สายป้อน (Feeder) หมายถึง ตัวนําของวงจรระหว่างบริ ภณ ั ฑ์ประธาน หรื อแหล่งจ่าย ไฟของระบบติดตั้งแยกต่างหากกับอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของวงจรย่อยตัวสุดท้ าย 1.41 เครื่ องประกอบ (Fitting) หมายถึง ส่วนประกอบ เช่น แป้นเกลียวกันคลาย บุชชิ่ง หรื อ ส่วนอื่นๆ ของระบบการเดินสายที่ใช้ งานเพื่อวัตถุประสงค์หลักทางกลมากกว่าทางไฟฟ้า 1.42 ลงดิน หรื อการต่ อลงดิน (Ground) หมายถึง การต่อตัวนําไม่ว่าโดยตั้งใจหรื อบังเอิญ ระหว่างวงจรไฟฟ้าหรื อบริ ภณ ั ฑ์กบั ดินหรื อกับส่วนที่เป็ นตัวนําซึง่ ทําหน้ าที่แทนดิน 1.43 ต่ อลงดิน (Grounded) หมายถึง ต่อลงดินหรื อต่อกับส่วนที่เป็ นตัวนําซึง่ ทําหน้ าที่แทนดิน 1.44 ต่ อลงดินอย่ างมีประสิทธิผล (Grounded, Effectively) หมายถึง การต่อลงดินโดยตรง อย่างตั้งใจ หรื อโดยผ่านอิมพีแดนซ์ที่มีคา่ ตํ่าเพียงพอที่จะไม่ทําให้ เกิดแรงดันตกคร่ อมมากจนทํา ให้ เกิดอันตรายต่อบริ ภณ ั ฑ์ที่ตอ่ อยู่ หรื อต่อบุคคล 1.45 ตัวนําที่มีการต่ อลงดิน (Grounded Conductor) หมายถึง ระบบหรื อตัวนําในวงจรที่ ต่อลงดินโดยตั้งใจ ตัวนํานิวทรั ล (Neutral Conductor) หมายถึง ตัวนําไฟฟ้าที่ตอ่ กับจุดนิวทรัลของระบบ ซึง่ มุ่ง หมายให้ นํากระแสภายใต้ สภาวะปกติ 1.46 ตัวนําสําหรั บต่ อลงดินหรื อสายดิน (Grounding Conductor) หมายถึง ตัวนําที่ใช้ ตอ่ บริ ภณ ั ฑ์หรื อวงจรที่ต้องต่อลงดินของระบบการเดินสายเข้ ากับหลักดิน 1.47 ตัว นํา สํา หรั บ ต่ อ ลงดิน หรื อ สายดิน ของบริ ภัณ ฑ์ (Grounding Conductor, Equipment) หมายถึง ตัวนําที่ใช้ ตอ่ ส่วนโลหะที่ไม่นํากระแสของบริ ภณ ั ฑ์ ช่องเดินสาย ที่ล้อม

1-8

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

เข้ ากับตัวนํ าที่มีการต่อลงดินของระบบและ/หรื อตัวนํ าต่อหลักดินที่ บริ ภัณฑ์ ประธาน หรื อที่ แหล่งจ่ายไฟของระบบจ่ายแยกต่างหาก 1.48 ตัวนําต่ อหลักดินหรื อสายต่ อหลักดิน (Grounding Electrode Conductor) หมายถึง ตัวนําที่ใช้ ตอ่ หลักดิน กับตัวนําสําหรับต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ และ/หรื อ กับตัวนําที่มีการต่อลงดิน ของวงจรที่บริ ภณ ั ฑ์ประธาน หรื อที่แหล่งจ่ายไฟของระบบจ่ายแยกต่างหาก 1.49 เครื่ องตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อกระแสรั่ วลงดิน (Ground-Fault Circuit-Interrupter) หรื อเครื่ องตัดไฟรั่ ว (Residual Current Device หรื อ RCD) หมายถึง อุปกรณ์ที่ม่งุ หมาย สําหรับป้องกันบุคคล โดยทําหน้ าที่ตดั วงจรหรื อส่วนของ วงจรภายในเวลาที่กําหนดเมื่อกระแส รั่วลงดินเกินค่าที่กําหนดไว้ แต่น้อยกว่าค่าที่อปุ กรณ์ป้องกันกระแสเกินของวงจรแหล่งจ่ายไฟจะ ทํางาน หมายเหตุ ตามมาตรฐานนีจ้ ะใช้คําว่า “เครื ่องตัดไฟรั่ว” ซึ่ งอาจแตกต่างจาก มอก.909-2548 ซึ่ งใช้คําว่า “เครื ่องตัดวงจรกระแสเหลือ”

1.50 การป้ องกั น กระแสรั่ วลงดิน ของบริ ภัณ ฑ์ (Ground-Fault Protection of Equipment) หมายถึง ระบบที่ม่งุ หมายเพื่อป้องกันบริ ภณ ั ฑ์ไม่ให้ เสียหายเนื่องจากกระแสรั่ว ลงดิน โดยทํ า ให้ เ ครื่ อ งปลดวงจรตัด ตัว นํ า ที่ไ ม่ถ กู ต่อ ลงดิน ในวงจรที่ก ระแส รั่ วลงดิน การ ป้องกันนี ้ต้ องมีระดับกระแสน้ อยกว่าค่าที่อุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินของวงจรแหล่งจ่ายไฟจะ ทํางาน 1.51 กัน้ (Guarded) หมายถึง ป้องกันด้ วยที่ห้ มุ กล่อง ตัวคัน่ ราว รั้ว ฉาก พื ้นยก เพื่อมิให้ บุคคลหรื อวัตถุเข้ าใกล้ หรื อสัมผัสกับจุดที่อาจเป็ นอันตรายได้ 1.52 ระบบแรงสูง (High Voltage System) หมายถึง ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันระหว่างเฟส (Phase to Phase) เกิน 1,000 โวลต์ หรื อแรงดันเทียบดินเกิน 600 โวลต์ 1.53 ช่ องขึน้ ลง (Hoistway) หมายถึง ปล่องขึ ้นลง ทางขึ ้นลง หรื อช่องหรื อที่ว่างในแนวดิ่งที่ ออกแบบให้ ใช้ กบั ลิฟต์ หรื อที่สง่ อาหาร 1.54 อยู่ในสายตา (In Sight From, Within Sight From, Within Sight) เมื่อมาตรฐานนี ้ กําหนดว่าบริ ภณ ั ฑ์หนึ่งอยู่ในสายตาจากบริ ภณ ั ฑ์อื่น หมายถึง ระยะที่ต้องมองเห็นได้ ระหว่าง บริ ภณ ั ฑ์ที่กําหนดกับบริ ภณ ั ฑ์อื่นและต้ องมีระยะห่างไม่เกิน 15 เมตร

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-9

1.55 พิกัดตัดวงจร หรื อพิกัดตัดกระแส (Interrupting Rating) หมายถึง กระแสสูงสุด ณ แรงดัน ที ่กํ า หนด ที ่อ ุป กรณ์ถ กู ประสงค์ใ ห้ ต ดั วงจรที ่ภ าวะที ่กํ า หนดในมาตรฐานการ ทดสอบ บริ ภณ ั ฑ์ที่ป ระสงค์จ ะให้ ต ดั กระแสที่ไ ม่ใช่ก ระแสลัดวงจร อาจมีพิก ัดตัด วงจรเป็ นอย่า งอื่น เช่น พิกัดแรงม้ า หรื อพิกัดกระแสล็อกโรเตอร์ พิกัดกระแสลัดวงจร (Short-Circuit Current Rating) หมายถึง กระแสลัดวงจรแบบสมมาตร ณ แรงดันไฟฟ้าระบุ ซึ่งเครื่ องสําเร็ จหรื อระบบยังสามารถต่ออยู่ได้ โดยไม่มีความเสียหายเกิน กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ 1.56 แยกออก (Isolated) หมายถึง บุคคลเข้ าถึงได้ ยาก นอกจากจะใช้ เครื่ องมือพิเศษ 1.57 จุดจ่ ายไฟแสงสว่ าง (Lighting Outlet) หมายถึง จุดจ่ายไฟที่ตอ่ เข้ าโดยตรงกับขั้วรับ หลอด ดวงโคม หรื อต่อกับปลายสายอ่อนที่อีกด้ านหนึง่ ต่อกับขั ้วรับหลอดในดวงโคมแขวน 1.58 สถานที่ (Location) โรงรถ (Garage) หมายถึง อาคารหรื อส่วนของอาคาร ซึ่งยานพาหนะตั้งแต่หนึ่งคันขึ ้นไป สามารถจอดได้ เพื่อวัตถุประสงค์สําหรับ ใช้ งาน ขาย เก็บ เช่า ซ่อม แสดง หรื อสาธิต ห้ องนํา้ (Bathroom) หมายถึง บริ เวณ ที่ประกอบด้ วย อ่างล้ างหน้ า กับเครื่ องใช้ ตอ่ ไปนี ้อย่าง น้ อยหนึ่งชนิด ได้ แก่ โถส้ วม โถปั สสาวะ อ่างอาบนํ ้า ฝั กบัว โถปั สสาวะหญิง หรื อเครื่ องติดตั้ง อื่น ๆ ที่ทํางานคล้ ายกัน สถานที่ชืน้ (Damp Location) หมายถึง สถานที่ใต้ หลังคาซึ่งมีการป้องกันเป็ นบางส่วน ระเบียงที่มีหลังคาและสถานที่อื่นที่มีลกั ษณะคล้ ายกัน และสถานที่ภายในอาคารที่มีความชื ้น ปานกลาง เช่น ห้ องใต้ ดนิ และห้ องเย็นเก็บของ สถานที่แห้ ง (Dry Location) หมายถึง สถานที่ซงึ่ ปกติไม่มีความชื ้น หรื อเปี ยก สถานที่แห้ ง อาจมีความชื ้นหรื อเปี ยกได้ ชวั่ คราว เช่น อาคารที่กําลังก่อสร้ าง สถานที่เปี ยก (Wet Location) หมายถึง สถานที่ใต้ พื ้นดิน หรื อในแผ่นคอนกรี ต หรื อใน อิฐที่ตั้ง ติดอยู่กับดินและสถานที่ที่มีนํ ้าหรื อของเหลวอื่น เช่น บริ เวณล้ างพาหนะ และสถานที่เปิ ดโล่งที่ ไม่มีที่ปกคลุม 1.59 ระบบแรงตํ่า (Low Voltage System) หมายถึง ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันระหว่างเฟส (phase to phase) ไม่เกิน 1,000 โวลต์ หรื อแรงดันเทียบดินไม่เกิน 600 โวลต์

1-10

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1.60 ความต้ องการกําลังไฟฟ้าสูงสุด (Maximum Demand) หมายถึง ค่าสูงสุดของความ ต้ องการกําลังไฟฟ้าซึ่งเกิดขึ ้นในช่วงเวลาที่กําหนดอาจมีหน่วยเป็ นกิโลวัตต์ กิโลวาร์ เควีเอ หรื อ หน่วยอื่นตามต้ องการ 1.61 ชุดจุดจ่ ายไฟสําเร็ จรู ป (Multioutlet Assembly) หมายถึง ช่องเดินสายบนพื ้นผิวหรื อ ฝั งที่ออกแบบให้ จับยึดตัวนําและเต้ ารั บทั้งชนิดประกอบในสถานที่ติดตั้ง และชนิดที่ประกอบ สําเร็ จจากโรงงาน 1.62 ไม่ อัตโนมัติ (Nonautomatic) หมายถึง การควบคุมที่บคุ คลต้ องเข้ าไปเกี่ยวข้ องเพื่อให้ ทํางานได้ การทํางานไม่อตั โนมัติ คือ การทํางานโดยบุคคล 1.63 วงจรไม่ ติดไฟ (Nonincendive Circuit) หมายถึง วงจรที่อาร์ ก หรื อผลของความร้ อน ที่เกิดขึ ้นระหว่างการใช้ งานของบริ ภณ ั ฑ์ หรื อเนื่องจากการเปิ ดวงจร การลัดวงจร หรื อการรั่วลง ดินของสายไฟ ไม่ทําให้ ก๊าซที่ติดไฟ ไอระเหย หรื อของผสมฝุ่ นอากาศลุกติดไฟภายใต้ เงื่อนไข ทดสอบที่กําหนด 1.64 จุดจ่ ายไฟ (Outlet) หมายถึง จุดในระบบการเดินสายที่นํากระแสมาใช้ กบั บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอย 1.65 กระแสเกิน (Overcurrent) หมายถึง กระแสที่เกินค่าพิกดั กระแสของบริ ภณ ั ฑ์หรื อขนาด กระแสของตัวนํา ซึง่ อาจมีผลมาจากโหลดเกิน การลัดวงจร หรื อการมีกระแสรั่วลงดิน ในบางกรณี บริ ภณ ั ฑ์ หรื อตัวนํ า อาจมี กระแสเกิ นค่าพิ กดั กระแสหรื อขนาดกระแสได้ ดังนัน้ มาตรฐานสํ าหรับ การป้ องกันกระแสเกิ นต้องกําหนดตามสถานการณ์ เฉพาะ

1.66 โหลดเกิน (Overload) หมายถึง การใช้ งานเกินพิกดั ปกติของบริ ภณ ั ฑ์หรื อใช้ กระแสเกิน ขนาดกระแสของตัวนํา ซึง่ หากเป็ นอยู่ระยะเวลาหนึ่งจะทําให้ เกิดความเสียหายและอันตรายเนื่องจาก ความร้ อนเกินขนาด การลัดวงจรหรื อการมีกระแสรั่วลงดินไม่ถือเป็ นโหลดเกิน 1.67 แผงย่ อย (Panelboard) หมายถึง แผงเดี่ยวหรื อกลุ่มของแผงเดี่ยวที่ออกแบบให้ ประกอบรวมกันเป็ นแผงเดียวกัน ประกอบด้ วย บัส อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินอัตโนมัติและมี หรื อไม่มีสวิตช์ สําหรับควบคุมแสงสว่าง ความร้อนหรื อวงจรไฟฟ้ากํ าลัง แผงย่อยเป็ นแผงที่ ออกแบบให้ ติดตัง้ ไว้ ในตู้หรื อกล่อ งคัตเอาทต์ที่ติดบนผนังซึ่งสามารถเข้ าถึงได้ ทางด้ านหน้ า เท่านั้น 1.68 การเดินสายภายใน (Premises Wiring (System)) หมายถึง การเดินสายทังภายใน ้ และภายนอกอาคารซึ่งประกอบด้ วยสายวงจรไฟฟ้ากํ าลัง แสงสว่าง ควบคุมและสัญญาณ รวมทั้งอุปกรณ์และเครื่ องประกอบการเดินสาย ทั้งแบบเดินสายแบบติดตั้งถาวรและชัว่ คราว ซึ่ง

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-11

เป็ นส่วนที่ต่อจากจุดจ่ายจากสายของการไฟฟ้าฯ (ส่วนหลังเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ) หรื อจุดจ่ายไฟของแหล่งกําเนิดจากระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก การเดินสายนีไ้ ม่รวมถึงการ เดินสายภายในเครื่ องใช้ ไฟฟ้า ดวงโคม มอเตอร์ เครื่ องควบคุม ศูนย์ควบคุมมอเตอร์ และบริ ภณ ั ฑ์ ที่คล้ ายกัน 1.69 บุคคลที่มีคุณสมบัติหรื อบุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง (Qualified Person) หมายถึง บุคคลที่มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้ าง และการใช้ งานของบริ ภณ ั ฑ์ รวมทั ้งอันตรายที่ อาจเกิดขึ ้น 1.70 ช่ องเดินสาย (Raceway) หมายถึง ช่องปิ ดซึ่งออกแบบเฉพาะสําหรับการเดินสายไฟฟ้า หรื อตัวนําหรื อทําหน้ าที่อื่นตามที่มาตรฐานนี ้อนุญาต ช่องเดิ นสายอาจเป็ นโลหะหรื อวัสดุฉนวน รวมทัง้ ท่อโลหะหนา ท่ออโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อ โลหะอ่อนกันของเหลว ท่อโลหะอ่อนบาง ท่อโลหะอ่อนหนา ท่ออโลหะอ่อน ท่อโลหะบาง ช่องเดิ นสายใต้พืน้ ช่องเดิ นสายใต้พืน้ คอนกรี ตโปร่ ง ช่องเดิ นสายใต้พืน้ โลหะโปร่ ง ช่องเดิ นสายบนพืน้ รางเดิ นสาย เคเบิ ลบัส และ ทางเดิ นบัส

1.71 ทนฝน (Rainproof) หมายถึง การสร้ าง การป้องกัน หรื อกระทําเพื่อไม่ให้ ฝนมีผลต่อ การทํางานของอุปกรณ์ภายใต้ สภาวะการทดสอบที่กําหนด 1.72 กันฝน (Raintight) หมายถึง การสร้ างหรื อการป้องกันไม่ให้ นํ ้าฝนเข้ าไปได้ ภายใต้ สภาวะการทดสอบที่กําหนด 1.73 เต้ ารั บ (Receptacle) หมายถึง อุปกรณ์หน้ าสัมผัสซึง่ ติดตั้งที่จดุ จ่ายไฟ ใช้ สําหรับการ ต่อกับเต้ าเสียบ เต้ ารับทางเดียวคืออุปกรณ์หน้ าสัมผัสที่ไม่มีอุปกรณ์หน้ าสัมผัสอื่นอยู่ในโครง เดียวกัน เต้ ารับหลายทางคืออุปกรณ์หน้ าสัมผัสตั้งแต่ 2 ชุดขึ ้นไปที่อยูใ่ นโครงเดียวกัน 1.74 จุดจ่ ายไฟชนิดเต้ ารั บ (Receptacle Outlet) หมายถึง จุดจ่ายไฟที่ติดตั้งเต้ ารับตั้งแต่ 1 ชุดขึ ้นไป 1.75 วงจรควบคุมจากระยะไกล (Remote-Control Circuit) หมายถึง วงจรที่ควบคุมวงจร อื่นๆ ด้ วยรี เลย์หรื ออุปกรณ์อื่นที่เทียบเท่า 1.76 บริ ภัณฑ์ ปิดผนึกได้ (Sealable Equipment) หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์ที่ถกู ห่อหุ้มโดยโครงสร้ างหรื อตู้ซึ่งปิ ดผนึกหรื อปิ ดกั้นจนไม่สามารถเข้ าถึงส่วนที่มีไฟฟ้าได้ ถ้ าไม่เปิ ดเครื่ องห่อหุ้ม บริ ภณ ั ฑ์นี ้อาจใช้ งานโดยเปิ ดหรื อไม่เปิ ดเครื่ องห่อหุ้มก่อนก็ได้

1-12

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1.77 ระบบที่มีตัวจ่ ายแยกต่ างหาก (Separately Derived System) หมายถึง ระบบการ เดินสายภายในซึง่ จ่ายไฟฟ้าโดยเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า หม้ อแปลงไฟฟ้า หรื อขดลวดคอน-เวอร์ เตอร์ และไม่มีการต่อถึงกันทางไฟฟ้าโดยตรง รวมทังระบบสายดิ ้ น กับสายจ่ายไฟฟ้าจากระบบอื่น 1.78 ระบบประธาน (Service) หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์และตัวนําสําหรับจ่ายพลังงานไฟฟ้าจาก ระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ ไปยังระบบสายภายใน 1.79 ตัวนําประธาน (Service Conductors) หรื อสายเมน หมายถึง ตัวนําที่ต่อระหว่าง เครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ กับบริ ภณ ั ฑ์ประธาน (ทั ้งระบบแรงสูงและแรงตํ่า) ตัวนําประธานเข้ าอาคารระบบสายอากาศ (Service-Entrance Conductors, Overhead System) หมายถึง ตัวนําประธานที่ต่อระหว่างบริ ภณ ั ฑ์ประธานกับเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าของ การไฟฟ้าฯ ที่เป็ นระบบสายอากาศ ตัวนําประธานเข้ าอาคารระบบสายใต้ ดิน (Service-Entrance Conductor, Underground System) หมายถึง ตัวนําประธานที่ตอ่ ระหว่างบริ ภณ ั ฑ์ประธานกับเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าของ การไฟฟ้าฯ ที่เป็ นระบบสายใต้ ดนิ 1.80 สายจ่ ายระบบประธานอากาศ (Service Drop) หมายถึง ตัวนําประธานที่เป็ นสาย อากาศจากเสาไฟฟ้าหรื อจุดจับยึดถึงตัวนําประธานเข้ าอาคารซึ่งติดตั้งที่เสา ตัวอาคาร หรื อ โครงสร้ าง 1.81 บริ ภัณฑ์ ประธาน (Service Equipment) หรื อเมนสวิตช์ หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์จําเป็ น โดยปกติประกอบด้ วยเซอร์ กิตเบรกเกอร์ หรื อสวิตช์และฟิ วส์ และเครื่ องประกอบต่างๆ ตั้งอยู่ ใกล้ กับ จุดทางเข้ าของตัว นํ าประธานเข้ าอาคาร โดยมี จุดประสงค์ เพื่ อ ควบคุมและตัดวงจร ทั้งหมดของระบบจ่ายไฟ 1.82 ตู้แสดงหน้ าร้ าน (Show Window) หมายถึง ตู้กระจกหน้ าร้ าน ซึง่ ออกแบบสําหรับใช้ แสดงสินค้ าหรื อสิง่ โฆษณา ด้ านหลังของตู้จะปิ ดทั้งหมด ปิ ดบางส่วน หรื อเปิ ดทั้งหมดก็ได้ 1.83 วงจรสัญญาณ (Signaling Circuit) หมายถึง วงจรไฟฟ้าที่ทําให้ บริ ภณ ั ฑ์สญ ั ญาณทํางาน 1.84 แผงสวิตช์ (Switchboard) หมายถึง แผงเดี่ยวขนาดใหญ่หรื อหลายแผงประกอบเข้ า ด้ วยกัน เพื่อใช้ ติดตั้งสวิตช์ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน อุปกรณ์ป้องกันอื่นๆ บัส และเครื่ องวัด ต่างๆ ทั ้งด้ านหน้ า ด้ านหลัง หรื อทั้งสองด้ าน โดยทัว่ ไปแผงสวิตช์เข้ าถึงได้ ทั้งทางด้ านหน้ าและ ด้ านหลังและไม่มีจดุ ประสงค์ให้ ตดิ ตั้งในตู้ (ดูคําว่า “แผงย่อย”)

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-13

ชุดประกอบสําเร็ จควบคุมไฟฟ้าแรงดันตํ่า (Low-voltage switchgear and controlgear assembly) หมายถึง การรวมกันของอุปกรณ์ ปิดเปิ ดตั้งแต่ 1 อุปกรณ์ ขึ ้นไป รวมกับบริ ภัณฑ์ การควบคุม บริ ภณ ั ฑ์การวัด บริ ภณ ั ฑ์สญ ั ญาณ บริ ภณ ั ฑ์ป้องกัน บริ ภณ ั ฑ์คมุ ค่า และบริ ภณ ั ฑ์ อื่น ๆ โดยผู้ผลิตทําหน้ าที่ประกอบส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวอย่างสมบูรณ์กบั ส่วนไฟฟ้าที่อยู่ ภายใน ส่วนประกอบทางกล และส่วนโครงสร้ าง 1.85 สวิตช์ (Switch) สวิตช์ ลัดผ่ านแยกวงจร (Bypass Isolation Switch) หมายถึง สวิตช์ทํางานด้ วยมือสําหรับ ใช้ ร่วมกับสวิตช์ถ่ายโอน เพื่อเชื่อมต่อตัวนําสําหรับโหลดเข้ ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าโดยตรงและตัด การใช้ งานของสวิตช์ถ่ายโอนออก สวิตช์ ใช้ งานทั่วไป (General-Use Switch) หมายถึง สวิตช์ที่มีจดุ ประสงค์ให้ ใช้ ใน วงจร จําหน่ายและวงจรย่อยทัว่ ไป กําหนดขนาดเป็ นแอมแปร์ และสามารถตัดวงจรตามพิกดั กระแส และแรงดัน สวิตช์ ธรรมดาใช้ งานทั่วไป (General-Use Snap Switch) หมายถึง รูปแบบหนึ่งของสวิตช์ใช้ งานทัว่ ไปที่สร้ างให้ สามารถติดตั้งเสมอพื ้นผิวในกล่องอุปกรณ์ หรื อบนฝากล่องจุดจ่ายไฟหรื อ การใช้ อื่นๆที่เกี่ยวข้ องกับระบบเดินสาย ซึง่ เป็ นที่ยอมรับในมาตรฐานนี ้ สวิตช์ แยกวงจร (Isolating Switch) หมายถึง สวิตช์ที่ใช้ สําหรับแยกวงจรไฟฟ้าออกจาก แหล่งจ่ายไฟฟ้า โดยไม่มีพิกดั ตัดวงจรและใช้ งานภายหลังจากปลดวงจรด้ วยวิธีอื่นแล้ ว สวิตช์ วงจรมอเตอร์ (Motor-Circuit Switch) หมายถึง สวิตช์ที่มีพิกดั กําหนดขนาดเป็ น แรงม้ า สามารถตัดวงจรที่มีกระแสโหลดเกินสูงสุดของมอเตอร์ ที่มีพิกัดแรงม้ าเข้ ากับสวิตช์ ที่ แรงดันพิกดั ศูนย์ การควบคุมมอเตอร์ (Motor Control Center) หมายถึง ชุดประกอบที่ประกอบด้ วย กล่องหุ้มตั้งแต่ 1 ส่วนขึ ้นไป โดยมีบสั กําลังไฟฟ้าร่วมกัน และภายในมีหน่วยควบคุมมอเตอร์ เป็ น สําคัญ สวิตช์ ถ่ายโอน (Transfer Switch) หมายถึง สวิตช์สําหรับถ่ายโอน ตัวนําที่ตอ่ กับแหล่งจ่าย ไฟฟ้าหนึง่ ไปยังแหล่งจ่ายไฟฟ้าอื่น เพื่อจ่ายโหลดให้ กบั ตัวนําที่ตอ่ อยูน่ ั้น สวิ ตช์ถ่ายโอนอาจเป็ นแบบอัตโนมัติหรื อไม่ก็ได้

1-14

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1.86 มีการป้องกันความร้ อนเกิน (Thermally Protected) เมื่อใช้ กบั มอเตอร์ หมายถึง เมื่อปรากฏคําว่า “มีการป้องกันความร้ อนเกิน” บนแผ่นป้ายประจําเครื่ อง แสดงว่ามอเตอร์ นั ้นมี เครื่ องป้องกันความร้ อนเกิน 1.87 เครื่ องป้องกันความร้ อนเกิน (Thermal Protector) เมื่อใช้ กบั มอเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันที่ประกอบเข้ าเป็ นส่วนหนึ่งของมอเตอร์ หรื อมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ และเมื่อใช้ งานอย่างถูกต้ องแล้ วจะป้องกันมอเตอร์ ไหม้ เพราะการเกิดความร้ อนเกินเนื่องจากโหลดเกินและ ความล้ มเหลวในการเริ่ มเดินเครื่ อง หมายเหตุ เครื ่องป้ องกันความร้อนเกิ นอาจประกอบด้วยอุปกรณ์ ตรวจจับมากกว่า 1 ตัว ประกอบเข้าเป็ นส่วน หนึ่งของมอเตอร์ และอุปกรณ์ ควบคุมภายนอก

1.88 บริ ภัณฑ์ ใช้ สอย (Utilization Equipment) หมายถึง บริ ภณ ั ฑ์ที่ใช้ พลังงานไฟฟ้าสําหรับ งานอิเล็กทรอนิกส์ ทางกล เคมี ความร้ อน แสงสว่าง หรื อจุดประสงค์ที่คล้ ายกัน 1.89 ระบายอากาศ (Ventilated) หมายถึง การจัดให้ มีการหมุนเวียนของอากาศอย่างเพียง พอเพื่อถ่ายเทความร้ อน ควัน หรื อไอ ที่มีมากเกินออกไป 1.90 ของเหลวระเหยติดไฟ (Volatile Flammable Liquid) หมายถึง ของเหลวติดไฟที่มีจดุ วาบไฟตํ่ากว่า 38 องศาเซลเซียส หรื อของเหลวติดไฟที่มีอณ ุ หภูมิสงู กว่าจุดวาบไฟของตัวเอง หรื อของเหลวที่ไหม้ ไฟได้ ประเภทที่ 2 ที่มีความดันไอไม่เกิน 276 กิโลพาสคัล (40 ปอนด์ ต่อ ตารางนิ ้วสัมบูรณ์) ที่ 38 องศาเซลเซียส ซึง่ มีอณ ุ หภูมิสงู กว่าจุดวาบไฟของตัวเอง 1.91 แรงดัน (Voltage) ของวงจร หมายถึง ค่ารากเฉลี่ยกําลังสองของความต่างศักย์สงู สุด ระหว่างตัวนํา 2 สาย ในวงจรที่เกี่ยวข้ องกัน 1.92 แรงดันที่ระบุ (Voltage, Nominal) หมายถึง ค่าตัวเลขแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ เรี ยกระบบแรงดันไฟฟ้า ในวงจรหรื อระบบไฟฟ้าหนึ่ง ๆ เพื่อบอก ระดับของแรงดันไฟฟ้านั้น ๆ แรงดันไฟฟ้าระบุนี ้ จะใช้ คา่ เดียวกันตลอด ไม่ว่าจะอยู่ในส่วนไหน ของระบบ หรื อ ของวงจรไฟฟ้านั้น ๆ เพื่อใช้ ระบุระบบแรงดันไฟฟ้าและใช้ อ้างอิงในการออกแบบ และคํานวณค่าต่างๆ ทางไฟฟ้า ค่า ของแรงดัน ไฟฟ้ าระบุ อาจมี ค่า แตกต่า งกัน ตามมาตรฐานที่ ใ ช้ อ้ า งอิ ง ของแต่ล ะ ประเทศ หรื อ ที่มีการเรี ยกใช้ กนั มาตั้งแต่อดีต มาตรฐาน IEC จึงได้ จดั แบ่งกลุม่ เพื่อให้ สะดวก ในการเรี ยกแรงดันไฟฟ้าระบุที่มีค่าใกล้ เคียงกัน ให้ มี ค่าแรงดันไฟฟ้าระบุเพียงค่าเดียว เช่น

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-15

แรงดันไฟฟ้าระบุ 220/380 โวลต์ และ 240/415 โวลต์ ให้ เหลือเพียงค่าเดียวคือ 230/400 โวลต์ เป็ นต้ น สําหรับประเทศไทย ระบบไฟฟ้าแรงตํ่า ชนิด 3 เฟส 4 สาย เป็ น 230/400 โวลต์ แรงดั น ไฟฟ้ าพิ กั ด (voltage,rated) หมายถึ ง แรงดั น ไฟฟ้ าของอุ ป กรณ์ หรื อ ของ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า ที่ผ้ ผู ลิตฯ กําหนดขึ ้น เพื่อให้ การทํางานของอุปกรณ์ หรื อ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า เป็ นไป ตามคุณลักษณะที่กําหนด แรงดันบริ การ (Service voltage) หมายถึงแรงดันไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฯ จ่ายหรื อให้ บริ การกับ ผู้ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ณ ตํ า แหน่ ง ที่ ส ายไฟส่ ว นของผู้ใ ช้ ไ ฟฟ้ าบรรจบกับ สายไฟส่ ว นของการไฟฟ้ าฯ โดยทัว่ ไปมักเป็ นแรงดันไฟฟ้าซึง่ วัดที่จดุ ต่อหรื อหน้ าเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้า ) แรงดันใช้ ประโยชน์ (Utilization voltage) หมายถึง แรงดันไฟฟ้าที่ตําแหน่งของเต้ ารับไฟฟ้า หรื อ ตําแหน่งที่เครื่ องใช้ ไฟฟ้า หรื อ ที่บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ต่ออยู่ แรงดันตํ่าพิเศษ (Extra low voltage, ELV) หมายถึง แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับที่มีคา่ ไม่เกิน 50 โวลต์ หรื อ แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (ที่ไม่มีริว้ คลื่น) ที่มีคา่ ไม่เกิน 120 โวลต์ 1.93 แรงดันเทียบกับดิน (Voltage to Ground) สําหรับวงจรที่มีการต่อลงดิน หมายถึง แรงดันระหว่างตัวนําที่กําหนด กับจุดหรื อตัวนําของวงจรที่ต่อลงดิน สําหรับวงจรที่ไม่ต่อลงดิน หมายถึง แรงดันสูงสุดระหว่างตัวนําที่กําหนดกับตัวนําอื่นในวงจร 1.94 กันนํา้ (Watertight) หมายถึง การสร้ างหรื อการป้องกันที่ไม่ให้ ความชื ้นเข้ าไปในเครื่ อง ห่อหุ้มได้ ภายใต้ สภาวะการทดสอบที่กําหนด 1.95 ทนสภาพอากาศ (Weatherproof) หมายถึง การสร้ างหรื อการป้องกันซึ่งเมื่ออยู่ใน สภาวะเปิ ดโล่งต่อสภาพอากาศแล้ วจะไม่มีผลต่อการทํางานของสิง่ นั้น 1.96 รางเดินสาย (Wireway) หมายถึง ช่องเดินสาย (raceway) ชนิดหนึ่งมีลกั ษณะเป็ น รางทําจากแผ่นโลหะหรื ออโลหะชนิดต้ านเปลวเพลิงพับมีฝาปิ ด ติดบานพับหรื อถอดออกได้ เพื่อ ใช้ สําหรับเดินสายไฟฟ้า อาจมีช่องระบายอากาศก็ได้ การติดตั ้งต้ องใช้ วิธีแขวนหรื อมีที่รองรับ 1.97 อาคาร อาคารสูง หมายถึง อาคารที่บคุ คลอาจเข้ าอยู่หรื อเข้ าใช้ สอยได้ โดยมีความสูงตั้งแต่ 23 เมตร ขึ ้นไป การวัดความสูงของอาคารให้ วดั จากระดับพื ้นดินที่ก่อสร้ างถึงพื ้นดาด-ฟ้า สําหรับอาคาร ทรงจัว่ หรื อปั น้ หยาให้ วดั จากระดับพื ้นดินที่ก่อสร้ างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด

1-16

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

อาคารขนาดใหญ่ หมายถึง อาคารที่สร้างขึ ้นเพื่อใช้ อาคารหรื อส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคาร เป็ นที่ประกอบกิจการประเภทเดียวหรื อหลายประเภท โดยมีความสูงจากระดับถนนตั้งแต่ 15 เมตรขึ ้นไป และมีพื ้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร หรื อมีพื ้นที่รวมกัน ทุกชั้นหรื อชั้นหนึง่ ชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร อาคารขนาดใหญ่ พิเศษ หมายถึง อาคารที่สร้ างขึ ้นเพื่อใช้ อาคารหรื อส่วนใดส่วนหนึ่งของ อาคารเป็ นที่อยู่อาศัยหรื อประกอบกิจการประเภทเดียวหรื อหลายประเภท โดยมีพื ้น-ที่รวมกันทุก ชั้นหรื อชั้นหนึง่ ชั้นใดในหลังเดียวกันตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ ้นไป ระบบไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ (Solar Photovoltaic System) หมายถึง ส่วนประกอบทั้งหมด รวมกับระบบย่อย ทําหน้ าที่แปลงพลังงานแสงอาทิตย์เป็ นพลังงานไฟฟ้าที่เหมาะสมกับโหลดที่ จะใช้ งาน แหล่ งจ่ ายกําลังไม่ หยุดชะงัก (Uninterruptible Power Supply) หมายถึง แหล่งจ่าย กํ า ลัง ไฟฟ้ าที่ ใ ช้ เ พื่ อ จ่ า ยกํ า ลัง ไฟฟ้ ากระแสสลับ ให้ แ ก่ โ หลดในช่ ว งระยะเวลาหนึ่ง เมื่ อ เกิ ด เหตุการณ์ไฟฟ้าขัดข้ อง

ตอน ข. นิยามทีใ่ ช้ สําหรั บการติดตั้งระบบไฟฟ้า แรงดันทีร่ ะบุเกิน 1,000 โวลต์ ขึ้นไป 1.98 ฟิ วส์ (Fuse) หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินซึ่งมีส่วนที่เปิ ดวงจรหลอมละลาย ด้ วยความร้ อนที่เกิดจากมีกระแสไหลผ่านเกินกําหนด หมายเหตุ ฟิ วส์ ประกอบด้วยทุกส่วนที ่รวมกันเพื อ่ ทํ าหน้าที ่ดงั กล่าวข้างต้น อาจเป็ นหรื อไม่เป็ นอุปกรณ์ ที่ สมบูรณ์ สําหรับต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้ า

ตัวฟิ วส์ แบบขับก๊ าซ (Expulsion Fuse Unit or Expulsion Fuse) หมายถึง ตัวฟิ วส์ ที่มีการ พุ่งระบายของก๊ าซ ซึ่งเกิดจากอาร์ กและสายของตัวยึดฟิ วส์ ซึ่งอาจเกิดขึ ้นเองหรื อใช้ สปริ งช่วย เป็ นตัวดับอาร์ ก ตัวฟิ วส์ กาํ ลัง (Power Fuse Unit) หมายถึง ตัวฟิ วส์ที่อาจมีหรื อไม่มีการพุ่งระบาย หรื อการ ควบคุมการพุ่งระบายของก๊ าซ การดับอาร์ กทําได้ โดยให้ อาร์ กผ่านวัสดุแข็ง วัสดุเป็ นเมล็ด หรื อ ของเหลว ซึง่ อาจเกิดขึ ้นเองหรื อใช้ สปริ งช่วย

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-17

ฟิ วส์ กาํ ลังแบบพุ่งระบาย (Vented Power Fuse) หมายถึง ฟิ วส์ที่ออกแบบให้ มีการพุ่ง ระบายก๊ าซ ของเหลว หรื ออนุภาคแข็ง ออกสูบ่ รรยากาศโดยรอบ เมื่อฟิวส์ตดั วงจร ฟิ วส์ กาํ ลังแบบไม่ พ่ ุงระบาย (Nonvented Power Fuse) หมายถึง ฟิ วส์ที่ไม่ได้ ออก แบบให้ มีการพุง่ ระบายของก๊ าซ ของเหลว หรื ออนุภาคแข็ง ออกสูบ่ รรยากาศโดยรอบเมื่อฟิ วส์ตดั วงจร ฟิ วส์ กาํ ลังแบบควบคุมการพุ่งระบาย (Controlled Vented Power Fuse) หมายถึง ฟิ วส์ซงึ่ เมื่อตัดวงจรจะมีการควบคุมไม่ให้ มีอนุภาคแข็งพุง่ ออกสูบ่ รรยากาศโดยรอบ หมายเหตุ ฟิ วส์ถูกออกแบบเพือ่ ให้ก๊าซทีเ่ กิ ดขึ้นไม่ทําให้ฉนวนในส่วนทีอ่ ยู่รอบตัวนําหลอมละลายลุกไหม้หรื อ เสี ยหาย ทัง้ นี ร้ ะยะห่างระหว่างช่องระบายก๊ าซและฉนวนหรื อส่วนที เ่ ป็ นตัวนําต้องเป็ นไปตามคํา แนะนําของ บริ ษัทผูผ้ ลิ ต

ฟิ วส์ ควบ (Multiple Fuse) หมายถึง ชุดประกอบสําเร็ จที่มีฟิวส์เดี่ยวตั้งแต่ 2 อันขึ ้นไป 1.99 อุปกรณ์ สวิตช์ (Switching Device) หมายถึง อุปกรณ์ที่ออกแบบเพื่อสับ-ปลดวงจร ซึง่ อาจจะเป็ นวงจรเดี่ยวหรื อหลายวงจรก็ได้ ได้ แก่ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) หมายถึง อุปกรณ์สวิตช์ซึ่งมีคณ ุ สมบัติในสภาวะ ปกติ ส ามารถนํ า กระแสและสับ -ปลดวงจร ตามพิ กัด ได้ โ ดยปลอดภัย และในสภาวะวงจร ผิดปกติ เช่น เกิดการลัดวงจรต้ องสามารถทนกระแสและตัดกระแสลัด วงจรได้ ตามที่กําหนด คัตเอาต์ (Cutout) หมายถึง ชุดประกอบสําเร็ จของที่รองรับฟิ วส์ ซึ่งอาจมีตวั ยึดฟิ วส์ ตัวรับ ฟิ วส์ หรื อใบมี ดปลดวงจรอย่างใดอย่างหนึ่ง ตัวยึดฟิ วส์หรื อตัวรั บฟิ วส์ อาจมี ส่วน ประกอบ นํากระแส (ไส้ ฟิวส์) รวมอยู่ด้วย หรื ออาจทําหน้ าที่เป็ นใบมีดปลดวงจรโดยร่ วม กับส่วนที่ไม่ หลอมละลาย สวิตช์ ปลดวงจร (Disconnecting Switch, Isolating Switch, Disconnector or Isolator) ั ฑ์ออกจาก หมายถึง อุปกรณ์สวิตช์ทางกลซึ่งออกแบบให้ ใช้ สําหรับปลดวงจรหรื อบริ ภณ แหล่งจ่ายไฟ เครื่ องปลดวงจร (Disconnecting Means) หมายถึง อุปกรณ์ กลุม่ ของอุปกรณ์ หรื อวิธีอื่นๆ ที่สามารถปลดตัวนําออกจากแหล่งจ่ายไฟ สวิตช์ ตัดวงจร (Interrupter Switch) หมายถึง อุปกรณ์ สวิตช์ ซึ่งออกแบบให้ สามารถ นํากระแสและสับ-ปลดวงจรได้ ตามค่ากระแสที่กําหนด

1-18

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

คัตเอาต์ นํา้ มัน (Oil Cutout or Oil-Filled Cutout) หมายถึง คัตเอาต์ซงึ่ มีที่รองรับ ฟิ วส์ ไส้ ฟิ วส์ หรื อใบมีดปลดวงจร ทั้งหมดหรื อบางส่วนติดตั้งในนํ ้ามัน โดยหน้ าสัมผัสและส่วนหลอม ละลายของฟิวส์ จะจมอยูใ่ นนํ ้ามันทั้งหมด เพื่อให้ การดับอาร์ ก ซึง่ เกิดจากการหลอมละลายของ ไส้ ฟิวส์ หรื อการเปิ ดหน้ าสัมผัสจะเกิดอยูใ่ นนํ ้ามัน สวิตช์ นํา้ มัน (Oil Switch) หมายถึง สวิตช์ที่มีหน้ าสัมผัสทํางานในนํ ้ามัน (หรื อแอสคาเรล หรื อ ของเหลวที่เหมาะสมอื่น) สวิตช์ ลัดผ่ านเรกูเลเตอร์ (Regulator Bypass Switch) หมายถึง อุปกรณ์เฉพาะ หรื อกลุม่ ของอุปกรณ์ที่ออกแบบให้ ลดั ผ่านเรกูเลเตอร์ กับดักเสิร์จ (Surge Arrester or lightning arrester) หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันสําหรับจํากัด แรงดันเสิร์จโดยการดีสชาร์ จ หรื อสําหรับเบี่ยงกระแสเสิร์จ เพื่อป้องกันเครื่ องสําเร็ จทางไฟฟ้า จากแรงดันชัว่ ครู่ ตอน ค. ข้ อกําหนดทั่วไปสําหรั บการติดตั้งทางไฟฟ้า

1.101 การต่ อทางไฟฟ้า (Electrical Connection) การต่อสายตัวนํา ต้ องใช้ อปุ กรณ์ต่อสายและวิธีการต่อสายที่เหมาะสม โดยเฉพาะการต่อตัวนําที่ เป็ นโลหะต่างชนิดกัน ต้ องใช้ อปุ กรณ์ตอ่ สายที่สามารถใช้ ตอ่ ตัวนําต่างชนิดกันได้ 1.101.1 ขัว้ ต่ อสาย (Terminals) การต่อตัวนําเข้ ากับขั้วต่อสาย ต้ องเป็ นการต่อที่ดีและไม่ทําให้ ตวั นําเสียหาย ขั้วต่อสายต้ องเป็ น แบบบีบ หรื อแบบขันแน่นด้ วยหมุดเกลียวหรื อแป้นเกลียว ในกรณีที่สายขนาดไม่ใหญ่กว่า 6 ตร.มม. อนุญาตให้ ใช้ สายพันรอบหมุดเกลียว หรื อ เดือย เกลียว (stud) ได้ แล้ วขันให้ แน่น 1.101.2 การต่ อสาย (Splices) ต้ องใช้ อปุ กรณ์สําหรับการต่อสายที่เหมาะสมกับงาน หรื อโดยการเชื่อมประสาน (brazing) การ เชื่อม (welding) หรื อการบัดกรี (soldering) ที่เหมาะสมกับสภาพการใช้ งาน หากใช้ วิธีการ บัดกรี ต้องต่อให้ แน่นทั้งทางกลและทางไฟฟ้าเสียก่อนแล้ วจึงบัดกรี ทบั รอยต่อ ปลายสายที่ตดั ทิ ้ง ไว้ ต้องมีการหุ้มฉนวนด้ วยเทปหรื ออุปกรณ์ที่ทนแรงดันไฟฟ้าได้ เทียบเท่ากับฉนวนของสาย และ เหมาะสมกับการใช้ งาน

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-19

หมายเหตุ อนุโลมให้ใช้วิธีต่อสายโดยตรงด้วยการพันเกลี ยวสํ าหรับสายแกนเดี ยวที ่มีขนาดไม่ใหญ่กว่า 2.5 ตร.มม.

1.102 ที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ านสําหรับบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ต้ องจัดให้ มีที่ว่างและทางเข้ าอย่างเพียงพอ เพื่อปฏิบตั ิงานและบํารุ งรักษาบริ ภัณฑ์ไฟฟ้าได้ โดยสะดวกและปลอดภัย ทังนี ้ ้ที่วา่ งดังกล่าวห้ ามใช้ สําหรับเก็บของ ตอน ก. สําหรั บระบบแรงตํา่ 1.102.1 ที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ าน ั ฑ์ไฟฟ้า ที่มีโอกาสตรวจสอบ ปรับแต่งหรื อบํารุ งรักษาขณะมี ที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานสําหรับบริ ภณ ไฟ ต้ องมีความกว้ างไม่น้อยกว่า 0.75 เมตรและไม่น้อยกว่าขนาดความกว้ างของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า และความลึกต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 1-1 และที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานต้ องพอเพียง สําหรับการเปิ ดประตูต้ หู รื อฝาตู้ได้ อย่างน้ อย 90 องศาในทุกกรณี คอนกรี ต อิฐ ผนังกระเบื ้อง ให้ ถือว่าเป็ นส่วนที่ตอ่ ลงดิน 1.102.2 การวัดความลึก ความลึกให้ วดั จากส่วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ หรื อวัดจากด้ านหน้ าของเครื่ องห่อหุ้ม ถ้ าส่วนที่ มีไฟฟ้ามีการห่อหุ้ม 1.102.3 ทางเข้ าที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ าน 1.102.3.1 ต้ องมีทางเข้ าขนาดกว้ างไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร และสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร ที่จะ เข้ าไปถึงที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านกับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ได้ อย่างน้ อยหนึง่ ทาง 1.102.3.2 สําหรับแผงสวิตช์และแผงควบคุม ที่มีพิกดั กระแสตั้งแต่ 1,200 แอมแปร์ ขึ ้นไป และ กว้ างเกิน 1.80 เมตร ต้ องมีทางเข้ าทั้งสองข้ างของแผงที่มีความกว้ างไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร และความสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร ข้ อยกเว้ นที่ 1 ถ้าด้านหน้าของแผงสวิ ตช์หรื อแผงย่อยเป็ นทีว่ ่าง สามารถออกไปยังทางเข้าได้โดยตรงและไม่ มีสิ่งกี ดขวาง อนุญาตให้มีทางเข้าทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานทางเดียวได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 ในกรณี ทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานมีความลึกเป็ น 2 เท่าทีก่ ําหนดในข้อ 1.102.1 มีทางเข้าทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานทางเดียวได้ ทางเข้าต้องอยู่ห่างจากแผงสวิ ตช์ หรื อแผงย่อยไม่น้อยกว่าที ก่ ํ าหนด ในตารางที ่ 1-1 ด้วย

1-20

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป ตารางที่ 1-1 ความลึก (Depth) ตํ่าสุดของที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ านกับบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ระบบแรงตํ่า ความลึกตํ่าสุด (เมตร)

แรงดันไฟฟ้า วัดเทียบกับดิน (โวลต์ )

กรณีท่ ี 1

กรณีท่ ี 2

กรณีท่ ี 3

0-150

0.90

0.90

0.90

151-600

0.90

1.10

1.20

กรณีท่ ี 1 มีสว่ นที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทางด้ านหนึง่ ของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั ิงาน และอีกด้ านหนึ่ง ของที่วา่ งเพือ่ ปฏิบตั ิงานไม่มีทงส่ ั ้ วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งและส่วนที่ตอ่ ลงดิน หรื อมีส่วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทงสองด้ ั้ านของที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงาน แต่ได้ มีการ กันด้ ้ วยวัสดุที่เหมาะสมเช่น ไม้ หรื อวัสดุฉนวนอื่น สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวนหรื อบัสบาร์ ห้ มุ ฉนวนที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 300 โวลต์ ให้ ถือว่า เป็ นส่วนที่ไม่มีไฟฟ้า กรณีท่ ี 2 มีสว่ นที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทางด้ านหนึง่ ของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั ิงาน และอีกด้ านหนึ่ง ของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั ิงานเป็ นส่วนที่ตอ่ ลงดิน กรณีท่ ี 3 มีส่วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทงสองด้ ั้ านของที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงาน (ไม่มีการกันตาม ้ กรณีที่ 1) โดยผู้ปฏิบตั ิงานจะอยู่ระหว่างนัน้ ข้ อยกเว้ นที่ 1 บริ ภณ ั ฑ์ทีเ่ ข้าถึงเพือ่ ปฏิบตั ิงานได้จากด้านอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ดา้ นหลัง ไม่ตอ้ งมี ทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานด้านหลังของบริ ภณ ั ฑ์ก็ได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 ส่วนทีม่ ี ไฟฟ้ าและเปิ ดโล่ง มี แรงดันไม่เกิ น 30 VAC. หรื อ 60 VDC. และ สามารถเข้าถึงได้ ที ว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานอาจเล็กกว่าทีก่ ํ าหนดได้ แต่ตอ้ งได้รับ ความเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯ ก่อน ข้ อยกเว้ นที่ 3 บริ ภณ ั ฑ์ ทีเ่ ข้าถึงเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานจากด้านอื น่ ทีไ่ ม่ใช่ดา้ นหลัง ไม่ตอ้ งมี ทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานด้านหลังของบริ ภณ ั ฑ์ ก็ได้ ในทีซ่ ึ่ งต้องเข้าถึงด้านหลังเพือ่ ทํางานใน ส่วนทีไ่ ด้ปลดวงจรไฟฟ้ าออกแล้ว ต้องมีทีว่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานในแนวนอนไม่นอ้ ยกว่า 0.75 เมตร ตลอดแนวของบริ ภณ ั ฑ์

1.102.4 แสงสว่ าง เมนสวิตช์ แผงสวิตช์และแผงย่อย หรื อเครื่ องควบคุมมอเตอร์ เมื่อติดตั้งอยู่ในอาคาร ต้ องมีแสง สว่างบริ เวณที่ว่างเพื่อปฏิบัติงานอย่างเพียงพอที่จะปฏิบัติงานได้ ทันที โดยที่ความส่องสว่าง เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 200 ลักซ์ ยกเว้ น เมนสวิ ตช์ หรื อแผงย่อย (เดีย่ วหรื อกลุ่ม) ในสถานทีอ่ ยู่อาศัย มี ขนาดรวมกันไม่เกิ น 100 แอมแปร์

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-21

1.102.5 ที่ว่างเหนือพืน้ ที่เพื่อปฏิบัตงิ าน (Headroom) บริ เวณที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านสําหรับเมนสวิตช์ แผงสวิตช์และแผงย่อย หรื อเครื่ องควบคุมมอเตอร์ ต้ องมีความสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร และส่วนบนของแผงสวิตช์ต้องอยู่ห่างจากเพดานติดไฟได้ ไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร หากเป็ นเพดานไม่ติดไฟ หรื อมีแผ่นกั้นที่ไม่ติดไฟระหว่างแผงสวิตช์กบั เพดาน ระยะห่างระหว่างส่วนบนของแผงสวิตช์และเพดานต้ องไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร ยกเว้ น เมน สวิ ตช์ หรื อแผงย่อย ในสถานทีอ่ ยู่อาศัยมี ขนาดรวมกันไม่เกิ น 200 แอมแปร์ ตอน ข. สําหรั บระบบแรงสูง 1.102.6 ที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ าน ต้ องมีที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานอย่างเพียงพอที่จะปฏิบตั ิงานได้ สะดวกและปลอดภัยในการบํารุ งรักษา บริ ภณ ั ฑ์ ในที่ซงึ่ มีสว่ นที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ ที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานต้ องมีความสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร กว้ างไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร และ ความลึกต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 1-2 และที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานต้ องพอเพียงสําหรับ การเปิ ดประตูต้ หู รื อฝาตู้ได้ อย่างน้ อย 90 องศา ในทุกกรณี คอนกรี ต อิฐ ผนังกระเบื ้อง ให้ ถือว่าเป็ นส่วนที่ตอ่ ลงดิน 1.102.7 การวัดความลึก ความลึกให้ วดั จากส่วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ หรื อวัดจากด้ านหน้ าของเครื่ องห่อหุ้ม 1.102.8 ทางเข้ าถึงที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ าน ทางเข้ าถึงที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ าน ต้ องมีอย่างน้ อย 1 ทาง ที่มีความกว้ างไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร และ ความสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร 1.102.8.1 เมื่อ มีตวั นําเปลือ ยไม่ว่าระดับแรงดันใด หรื อตัวนํา หุ้มฉนวนที่มีแรงดันมากกว่า 1,000 โวลต์ อยูใ่ กล้ เคียงกับทางเข้ า ต้ องมีการกั้นตามข้ อ 1.103 1.102.8.2 ต้ องมีบนั ไดถาวรที่เหมาะสมในการเข้ าไปยังที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานในกรณีที่บริ ภณ ั ฑ์ ติดตั้งแบบยกพื ้น ชั้นลอย หรื อในลักษณะเช่น เดียวกัน

1-22

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป ตารางที่ 1-2 ความลึก (Depth) ตํ่าสุดของที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ านกับบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ระบบแรงสูง ความลึกตํ่าสุด (เมตร)

แรงดันไฟฟ้า วัดเทียบกับดิน (โวลต์ )

กรณีท่ ี 1

กรณีท่ ี 2

กรณีท่ ี 3

601-2,500

0.90

1.20

1.50

2,501-9,000

1.20

1.50

1.80

9,001-25,000

1.50

1.80

2.80

2,5001-75,000

1.80

2.50

3.00

กรณีท่ ี 1 มีสว่ นที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทางด้ านหนึง่ ของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั ิงาน และอีกด้ านหนึง่ ของที่วา่ งเพือ่ ปฏิบตั ิงานไม่มีทงส่ ั ้ วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งและส่วนที่ตอ่ ลงดิน หรื อมีสว่ นที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทงสองด้ ั้ านของที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานแต่ได้ มีการกัน้ ด้ วยวัสดุที่เหมาะสม เช่น ไม้ หรื อวัสดุฉนวนอื่น สายไฟฟ้ าหุ้มฉนวนหรื อบัสบาร์ ห้ มุ ฉนวนที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 300 โวลต์ ให้ ถือว่า เป็ นส่วนที่ไม่มีไฟฟ้า กรณีท่ ี 2 มีสว่ นที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทางด้ านหนึง่ ของที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงาน และอีกด้ านหนึ่ง ของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั ิงานเป็ นส่วนที่ตอ่ ลงดิน กรณีท่ ี 3 มีส่วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งอยู่ทงสองด้ ั้ านของที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงาน (ไม่มีการกันตาม ้ กรณีท่ี 1) โดยผู้ปฏิบตั ิงานจะอยู่ระหว่างนัน้ ยกเว้ น

บริ ภณ ั ฑ์ทีเ่ ข้าถึงเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานจากด้านอื น่ ทีไ่ ม่ใช่ดา้ นหลัง ไม่ตอ้ งมี ทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานด้านหลังของบริ ภณ ั ฑ์ ก็ได้ ในที ซ่ ึ่ งต้องเข้าถึงทางด้านหลังเพือ่ ทํางานในส่วนที ่ ได้ปลดวงจรไฟฟ้ าออกแล้ว ต้องมี ที่ว่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานในแนวนอนไม่น้อยกว่า 0.75 เมตร ตลอดแนวของบริ ภณ ั ฑ์

1.102.9 แผงสวิตช์และแผงควบคุมที่มีความกว้ างเกิน 1.80 เมตร ต้ องมีทางเข้ าทั้งสองข้ าง ของแผงสวิตช์ ยกเว้ น เมื ่อด้านหน้าของตูอ้ ปุ กรณ์ ไม่มีสิ่งกี ดขวาง หรื อมี ทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งาน เป็ นสองเท่าของทีก่ ํ าหนดไว้ในตารางที ่ 1-2 ยอมให้มีทางเข้าทางเดี ยว ส่วนทีม่ ี ไฟฟ้ าและเปิ ดโล่ง และอยู่ใกล้กบั ทางเข้าทีว่ ่างเพือ่ ปฏิ บตั ิ งานต้องมี การกัน้ อย่างเหมาะสมตามข้อ 1.103

1-23

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1.102.10 แสงสว่ างเหนือที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ าน ต้ องมีแสงสว่างอย่างพอเพียงเหนือพื ้นที่ปฏิบตั ิงาน โดยที่ความส่องสว่างเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 200 ลักซ์ และจัดให้ สามารถซ่อมหรื อเปลี่ยนดวงโคมได้ โดยไม่เกิดอันตรายจากส่วนที่มีไฟฟ้า 1.102.11 ส่ วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่ ง ส่วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งซึ่งไม่มีการกั้น ถ้ าอยู่เหนือพื ้นที่ปฏิบตั ิงานต้ องติดตั้งอยู่ในระดับสูงไม่ น้ อยกว่าที่กําหนดในตารางที่ 1-3 1.102.12 ที่ว่างเหนือพืน้ ที่เพื่อปฏิบัตงิ าน (Headroom) บริ เวณที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงาน ต้ องมีความสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร และส่วนบนของแผงสวิตช์ ต้ องอยู่ห่างจากเพดานติดไฟได้ ไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร หากเป็ นเพดานไม่ติดไฟ หรื อมีแผ่นกั้นที่ ไม่ติดไฟระหว่างแผงสวิตช์กับเพดาน ระยะห่างระหว่างส่วนบนของแผงสวิตช์และเพดานต้ องไม่ น้ อยกว่า 0.60 เมตร ตารางที่ 1-3 ระดับความสูงของส่ วนที่มีไฟฟ้าและไม่ มีท่ กี นั ้ แรงดันไฟฟ้าระหว่ างสายเส้ นไฟ (โวลต์ )

ระดับความสูง (เมตร)

1,000-7,500

2.80

7,501-35,000

2.90

>35,000

2.90 + 0.01 (เมตร/กิโลโวลต์)

1.103 เครื่ องห่ อหุ้มและการกัน้ ส่ วนที่มีไฟฟ้า ส่วนที่มีไฟฟ้าของบริ ภณ ั ฑ์ที่มีแรงดันเกิน 50 โวลต์ขึ ้นไป ต้ องมีการกั้นเพื่อป้องกันการสัมผัสส่วน ที่มีไฟฟ้าโดยบังเอิญ การกันอาจใช้ ้ เครื่ องห่อหุ้มหรื อวิธีการใดวิธีการหนึง่ ที่เหมาะสมดังนี ้ ตอน ก. สําหรั บระบบแรงตํา่ 1.103.1 การกัน้ การกั้นอาจใช้ วิธีการหนึง่ วิธีการใดดังต่อไปนี ้ 1.103.1.1 อยูใ่ นห้ องหรื อเครื่ องห่อหุ้มที่มีลกั ษณะคล้ ายกันซึง่ อนุญาตให้ เข้ าได้ เฉพาะบุคคลที่มี หน้ าที่เกี่ยวข้ องเท่านั้น

1-24

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1.103.1.2 อยู่ในสถานที่ซงึ่ มีแผงหรื อรั้วตาข่ายกั้นที่ถาวรและเหมาะสม และการเข้ าไปยังที่ว่าง ซึ่งอาจสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้าได้ นนทํ ั ้ าได้ เฉพาะบุคคลที่เกี่ยวข้ องเท่านั้น ช่องเปิ ดใดๆ ของที่กั ้น หรื อ ที่ ปิ ดบัง ต้ อ งมีข นาดหรื อ อยู่ใ นตํ า แหน่ง ที ่บ ุค คลอื ่น ไม่อ าจสัม ผัส ส่ว นที ่มีไ ฟฟ้ าได้ โ ดย บังเอิญ หรื อไม่อาจนําวัตถุซงึ่ เป็ นตัวนําไฟฟ้าไปสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้านั้นได้ โดยบังเอิญ 1.103.1.3 ติดตั้งแยกส่วนในพื ้นที่หรื อบริ เวณ เพื่อไม่ให้ บุคคลที่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเข้ าไปได้ เช่น ติดตั้งบนระเบียง บนกันสาด หรื อบนนัง่ ร้ าน 1.103.1.4 ติดตั้งยกขึ ้นเหนือพื ้นหรื อพื ้นที่ทํางานไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร 1.103.1.5 ในที่ซึ่งมีการติดตั้ง สวิตช์ หรื อบริ ภัณฑ์อื่นในระบบแรงตํ่า ต้ องมีการกั ้นแยกออก จากระบบแรงสูงด้ วยแผ่นกั้น รั้ว หรื อตาข่ายที่เหมาะสม ตอน ข. สําหรั บระบบแรงสูง 1.103.2 การติดตัง้ ทางไฟฟ้าในห้ องที่ปิดล้ อม การติดตั้งทางไฟฟ้าในห้ องที่ปิดล้ อมหรื อบริ เวณที่ล้อมรอบด้ วยกําแพง ผนัง หรื อรั้ว โดยมีการ ปิ ดกั ้นทางเข้ าด้ วยกุญแจ หรื อวิธีการอื่นที่ได้ รับการรับรองแล้ ว ให้ ถือว่าเป็ นสถานที่เข้ าได้ เฉพาะ บุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเท่านั้น ชนิดของเครื่ องห่อหุ้มต้ องออกแบบและสร้ างให้ สอดคล้ องกับ ประเภทและระดับของอันตรายที่เกี่ยวข้ องกับการติดตั้ง กําแพง ผนัง หรื อรั้วที่มีความสูงน้ อยกว่า 2.00 เมตรไม่ถือว่าเป็ นการป้องกันการเข้ าถึง นอกจาก จะมีสงิ่ อื่นเพิ่มเติมที่ทําให้ การกั้นนันมี ้ คณ ุ สมบัตใิ นการกั้นเทียบเท่ากําแพง ผนัง หรื อรั้วที่มีความ สูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร 1.103.3 การติดตัง้ ภายในอาคาร ในสถานที่ที่บคุ คลทัว่ ไปเข้ าถึงได้ การติดตั้งทางไฟฟ้าต้ องเป็ นดังนี ้ 1.103.3.1 เป็ นบริ ภณ ั ฑ์ที่อยูใ่ นเครื่ องห่อหุ้มที่เป็ นโลหะหรื ออยูใ่ นห้ องหรื อบริ เวณที่ใส่กญ ุ แจ ได้ 1.103.3.2 สวิตช์เกียร์ ที่อยู่ในเครื่ องห่อหุ้มที่เป็ นโลหะ หน่วยสถานีย่อย (unit substation) หม้ อ แปลง กล่องดึงสาย กล่องต่อสาย และบริ ภณ ั ฑ์อื่นที่คล้ ายกัน ต้ องทําป้ายหรื อเครื่ องหมายเตือน ภัยที่เหมาะสม 1.103.3.3 ช่องระบายอากาศของหม้ อแปลงแบบแห้ งหรื อช่องของบริ ภัณฑ์อื่นที่คล้ ายกัน ต้ อง ออกแบบให้ วตั ถุจากภายนอกที่อาจลอดเข้ าไปให้ เบี่ยงเบนพ้ นไปจากส่วนที่มีไฟฟ้า

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-25

1.103.4 การติดตัง้ ภายนอกอาคาร ในสถานที่ที่บุคคลทัว่ ไปเข้ าถึงได้ การติดตั้งทางไฟฟ้าต้ องอยู่ในเครื่ องห่อหุ้ม หรื อวิธีการอื่นที่ ได้ รับการรับรองแล้ วว่าปลอดภัย

1.104 สถานที่ซ่ งึ บริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าอาจได้ รับความเสียหายทางกายภาพได้ ในสถานที่ซึ่งบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าอาจได้ รับความเสียหายทางกายภาพได้ ต้ องกั้นด้ วยที่กั้นหรื อเครื่ อง ห่อหุ้มที่มีความแข็งแรง ที่จะป้องกันความเสียหายนันได้ ้

1.105 เครื่องหมายเตือนภัย ทางเข้ าห้ องหรื อที่กนที ั ้ ่มีสว่ นที่มีไฟฟ้าอยู่ภายในและเปิ ดโล่ง ต้ องมีเครื่ องหมายเตือนภัยที่ชดั เจน และเห็นได้ งา่ ย เพื่อห้ ามบุคคลที่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเข้ าไป

1.106 ส่ วนที่มีประกายไฟ ส่ ว นของบริ ภั ณ ฑ์ ซึ่ ง ในขณะใช้ งานปกติ ทํ า ให้เกิ ด อาร์ ก ประกายไฟ เปลวไฟ หรื อ โลหะ หลอมเหลว ต้ องมีการหุ้มหรื อปิ ดกั้นและแยกจากวัสดุที่ตดิ ไฟได้

1.107 การทําเครื่องหมายระบุเครื่องปลดวงจร เครื่ องปลดวงจรที่ใช้ สําหรับมอเตอร์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า สายเมน สายป้อนหรื อวงจรย่อยทุกเครื่ อง ต้ องทําเครื่ องหมายระบุวตั ถุประสงค์ให้ ชัดเจนติดไว้ ที่เครื่ องปลดวงจรหรื อใกล้ กับเครื่ องปลด วงจรนั้น นอกจากว่าตําแหน่งและการจัดเครื่ องปลดวงจรนั้นชัดเจนอยู่แล้ ว เครื่ องหมายต้ อง ชัดเจนและทนต่อสภาพแวดล้ อม ตอน ง. ระยะห่ างทางไฟฟ้า (Electrical Clearance) ในการติดตั้งสายไฟฟ้า ระยะห่างทางไฟฟ้ านี ้ ครอบคลุมถึงระยะห่างทัง้ หมดที เ่ กี ่ยวข้องกับสายจ่ายพลังงานไฟฟ้ า เหนือพืน้ ดิ น (overhead supply) สําหรับการติ ดตัง้ เพือ่ ใช้งานทัง้ แบบถาวรและชัว่ คราว สําหรับ กรณี พ าดสายผ่ า นอาคารหรื อ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งใดๆ โดยที ่ส ายไฟฟ้ าไม่ ไ ด้ ยึ ด ติ ด กับ อาคารหรื อ สิ่ งก่อสร้างนัน้ ๆ

1-26

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1.108 การวัดระยะห่ างทางไฟฟ้า การวัดระยะห่างทางไฟฟ้าให้ วดั ระยะในแนวตรงจากผิว (surface) ของส่วนที่มีแรงดันไฟฟ้า (สายไฟ, ตัวนําไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้า) ไปยังผิวของส่วนที่ไม่มีแรงดันไฟฟ้าหรื อไปยังสิ่งต่างๆ ที่อยูใ่ กล้ ที่สดุ

1.109 ระยะห่ างทางไฟฟ้า ระยะห่างทางไฟฟ้าในการติดตังสายไฟฟ ้ ้ าต้ องมีระยะห่างไม่น้อยกว่าตามที่กําหนดดังต่อไปนี ้ 1.109.1 ระยะห่ างในแนวนอน (Horizontal Clearance) ระยะห่างในแนวนอน ให้ ใช้ คา่ ตามตารางที่ 1-4 1.109.2 ระยะห่ างในแนวดิ่ง (Vertical Clearance) ระยะห่างในแนวดิง่ ให้ ใช้ คา่ ตามตารางที่ 1-5 1.109.3 ระยะห่ างในแนวเฉียง (Diagonal Clearance) ระยะห่างในแนวเฉียง ให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนดของแต่ละการไฟฟ้าฯ หมายเหตุ 1)

2) 3)

4)

ระยะห่างตามตารางเป็ นระยะห่างสําหรับอาคารหรื อสิ่ งก่อสร้างที ไ่ ม่มีการเข้าไปบํ ารุงรักษา หรื อทํางาน หากมีความจํ าเป็ นต้องเข้าไปบํารุงรักษาหรื อทํางานในระยะห่างดังกล่าว ผูท้ ีเ่ ข้า ไปดําเนิ นงานจะ ต้องมีการป้ องกันทีเ่ หมาะสม แรงดันไฟฟ้ าในทีน่ ี ้ หมายถึง แรงดันไฟฟ้ าระหว่างสายเส้นไฟ (เฟส-เฟส) ชือ่ ของสายไฟฟ้ า ชนิ ดต่างๆ ในตารางเทียบกับสายไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าฯ ดังนี ้ 3.1) สายหุม้ ฉนวนแรงตํ่าตีเกลียวกับสายนิ วทรัลเปลือย = Service drop Conductor 3.2) สายหุม้ ฉนวนแรงตํ่า = Weather proof Conductor 3.3) สายหุม้ ฉนวนแรงสูงไม่เต็มพิกดั = Partially insulated Conductor 3.4) สายหุม้ ฉนวนแรงสูง 2 ชัน้ ไม่เต็มพิกดั = Space aerial Cable 3.5) สายหุม้ ฉนวนแรงสูงเต็มพิกดั ตีเกลียว = Fully insulated Cable ผนังด้านปิ ดของอาคาร คื อ ผนังอาคารที บ่ ุคคลไม่สามารถยื ่นส่วนของร่ างกายหรื อวัตถุมา สัมผัสสายไฟฟ้ าได้ โดยพลัง้ เผลอ

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป 5)

1-27

ผนังด้านเปิ ดของอาคาร คื อ ผนังอาคารที ่บุคคลสามารถยื ่นส่วนของ ร่ างกายหรื อวัตถุมา สัมผัสสายไฟฟ้ าได้ โดยพลัง้ เผลอ 6) สิ่ งก่อสร้ างอื ่นๆ หมายถึง ปล่องควัน ถังซึ่ งบรรจุสารทีไ่ ม่ติดไฟ เสาอากาศโทรทัศน์-วิ ทยุ ที ่ ติ ดตัง้ อิ สระ และรวมถึ งเสาอากาศโทรทัศน์ -วิ ทยุ ที ต่ ิ ดตัง้ กับตัวอาคาร ซึ่ งต้องไม่ลํ้าส่วนหนึ่ง ส่วนใดของอาคารใน แนวนอนเดียวกับสายไฟฟ้ านัน้ 7) ระยะห่างนี ้ กําหนดทีส่ ภาพ Max. Final Sag ทีอ่ ณ ุ หภูมิใช้งานสูงสุดของสายไฟฟ้ า 8) ทางสัญจร หมายถึง ทางหลวง ถนน ตรอก ซอย ทีเ่ ป็ นทีส่ าธารณะหรื อทางส่วนบุคคลก็ตาม หรื อบริ เวณทีย่ านพาหนะใช้ผ่านอยู่แล้ว 9) หากเป็ น ทางสัญ จรและพื น้ ที ซ่ ึ่ ง ไม่ไ ด้จ ดั ไว้สํา หรับ รถยนต์ หรื อ ยาน พาหนะอื ่นใดผ่ าน ระยะห่างตํ่าสุด สามารถลดลงได้เหลือ 2.6 เมตร 10) ไม่อนุญาตให้ใช้สายดังกล่าวเดิ นสายใต้หลังคา ระเบี ยง ส่วนของอาคาร ป้ าย เสาโทรทัศน์ - วิ ทยุ หรื อถังซึ่งบรรจุสารทีไ่ ม่ติดไฟ 11) อนุญาตให้เดิ นสายชัว่ คราวได้โดยต้องขออนุญาตจากการไฟฟ้ าท้องถิ่ น ทัง้ นีใ้ ช้ระยะห่างดังนี ้ 11.1) 69 kV ระยะห่าง 2.2 เมตร 11.2) 115 kV ระยะห่าง 2.5 เมตร 11.3) 230 kV ระยะห่าง 3.2 เมตร ข้ อแนะนํา ระยะห่างในการติ ดตัง้ ระบบไฟฟ้ ากับระบบอืน่ ๆ ให้ดูภาคผนวก ค.

1-28

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

ตารางที่ 1-4 ระยะห่ างตํ่าสุดตามแนวนอนระหว่ างสายไฟฟ้ากับสิ่งก่ อสร้ าง เมื่อสายไฟฟ้าไม่ ได้ ยดึ ติดกับสิ่งก่ อสร้ าง (เมตร) (Minimum Horizontal Clearance)

สิ่งที่อยู่ใกล้ สายไฟฟ้า

1.1 - ผนังด้ านปิ ดของอาคาร4) - สะพานลอยคนเดินข้ ามถนน กรณีที่มีแผงหรื อผนัง กั ้นระหว่างสายไฟฟ้ากับสะพานลอย - ป้ายโฆษณาที่ติดกับอาคาร 1.2 - ผนังด้ านเปิ ดของอาคาร5) เฉลียงระเบียงหรื อบริ เวณ ที่มีคนเข้ าถึงได้ - สะพานทุกชนิดสําหรับยานพาหนะ - เสาไฟถนน เสาสัญญาณไฟจราจรต่างๆ - สิง่ ก่อสร้ างอื่นๆ6)

ไม่ เกิน 1 kV ชนิดของสายไฟฟ้า สายหุ้มฉนวน แรงตํ่าตีเกลียว สายหุ้มฉนวน กับสายนิวทรั ล แรงตํ่า3) 3) เปลือย 0.30 0.15

0.90

0.15

แรงดันไฟฟ้า2) 11 – 33 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

69 kV 115 kV 230 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

สายเปลือย

สายหุ้มฉนวน แรงสูงไม่ เต็ม พิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูง 2 ชัน้ ไม่ เต็มพิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูงเต็ม พิกัดตีเกลียว3)

1.50

0.60

0.30

0.15

1.80

2.30

3.00

1.80

1.50

0.90

0.60

2.13

2.30

3.00

สายเปลือย

1-29

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

ตารางที่ 1-5 ระยะห่ างตํ่าสุดตามแนวดิ่งระหว่ างสายไฟฟ้า7)กับพืน้ แหล่ งนํา้ อาคาร หรือสิ่งก่ อสร้ างอื่นๆ (เมตร) (Minimum Vertical Clearance)

สิ่งที่อยู่ใกล้ สายไฟฟ้า

2.1 - เหนือทางสัญจร8) สําหรับคน, รถยนต์ หรื อยาน พาหนะอื่ นใด รวมสิ่งของที่ บรรทุก แล้ ว สูงไม่เกิ น 2.45 เมตร ผ่าน 2.2 - เหนื อ ทางสัญ จร 8) สํา หรั บ ไว้ ใ ห้ ร ถยนต์ แ ละรถ บรรทุก หรื อยานพาหนะอื่นใดรวมสิ่งของที่บรรทุก แล้ วสูงไม่เกิน 4.3 เมตร ผ่าน 2.3 - คลองหรื อ แหล่ง นํ ้าที่ อ ยู่ใ นความรั บ ผิด ชอบของ กรมเจ้ าท่า กรมชลประทาน หน่วยราชการ หรื อเอก ชนที่ มีเ รื อ แล่น ผ่ า นให้ ปฏิ บัติต ามข้ อ กํ า หนดของ กรมเจ้ าท่า กรมชลประทาน หน่วยราชการ หรื อเอก ชน ตามความสูงของเรื อสูงสุดที่สามารถแล่นผ่าน ร่ องนํ ้า หรื อจุดลอดสูงสุดของสะพานแบบปิ ด ณ ที่ นัน้ ๆได้ โดยให้ ระยะห่างวัดจากท้ องสายไฟฟ้ากับ จุด ยอดสูง สุด ใดๆของเรื อ หรื อ จุด ลอดสูง สุด ของ สะพานไม่น้อยกว่าค่าตามตารางโดยวัดระยะเมื่อ ระดับนํ า้ ขึน้ สูงสุด ซึ่งกํ า หนดตามความกว้ า งของ แหล่งนํ ้า ดังต่อไปนี ้

ไม่ เกิน 1 kV ชนิดของสายไฟฟ้า สายหุ้มฉนวน แรงตํ่าตีเกลียว สายหุ้มฉนวน กับสายนิวทรั ล แรงตํ่า3) 3) เปลือย 3.609) 2.909)

5.50

5.50

แรงดันไฟฟ้า2) 11 – 33 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

69 kV 115 kV 230 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

สายเปลือย

สายหุ้มฉนวน แรงสูงไม่ เต็ม พิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูง 2 ชัน้ ไม่ เต็มพิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูงเต็ม พิกัดตีเกลียว3)

4.60

4.60

4.60

3.609)

4.90

5.10

5.80

6.10

6.10

6.10

5.50

7.00

7.50

9.00

สายเปลือย

1-30

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

ตารางที่ 1-5 (ต่ อ) ระยะห่ างตํ่าสุดตามแนวดิ่งระหว่ างสายไฟฟ้า7)กับพืน้ แหล่ งนํา้ อาคาร หรือสิ่งก่ อสร้ างอื่นๆ (เมตร) (Minimum Vertical Clearance)

สิ่งที่อยู่ใกล้ สายไฟฟ้า

2.3.1 - ไม่เกิน 50 เมตร ปกติให้ ถือว่าเรื อหรื อยานพาหนะมีความสูงไม่ เกิน 4.9 เมตร ผ่าน 2.3.2 - เกินกว่า 50 เมตร แต่ไม่เกิน 500 เมตร ปกติให้ ถือว่าเรื อหรื อยานพาหนะมีความสูงไม่ เกิน 7.3 เมตร ผ่าน 2.3.3 - เกินกว่า 500 เมตร แต่ไม่เกิน 5,000 เมตร ปกติให้ ถือว่าเรื อหรื อยานพาหนะมีความสูงไม่ เกิน 9.0 เมตร ผ่าน 2.3.4 - มากกว่า 5,000 เมตร ปกติให้ ถือว่าเรื อหรื อยานพาหนะมีความสูงไม่ เกิน 11.0 เมตร ผ่าน 2.3.5 - ถ้ า มีการกําหนดให้ เ รื อ หรื อ ยานพาหนะที่ มี ความสูง (h) มากกว่าที่กําหนดตามข้ อ 2.3.1 – 2.3.4 ผ่าน

ไม่ เกิน 1 kV ชนิดของสายไฟฟ้า สายหุ้มฉนวน แรงตํ่าตีเกลียว สายหุ้มฉนวน กับสายนิวทรั ล แรงตํ่า3) 3) เปลือย 7.0 6.8

แรงดันไฟฟ้า2) 11 – 33 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

69 kV 115 kV 230 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

สายเปลือย

สายหุ้มฉนวน แรงสูงไม่ เต็ม พิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูง 2 ชัน้ ไม่ เต็มพิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูงเต็ม พิกัดตีเกลียว3)

7.7

7.7

7.7

6.8

7.9

8.2

8.9

สายเปลือย

9.4

9.3

10.2

10.2

10.2

9.3

10.4

10.7

11.4

11.3

11.1

12.0

12.0

12.0

11.1

12.2

12.5

13.2

13.1

12.9

13.8

13.8

13.8

12.9

14.0

14.3

15.0

h + 2.1

h + 2.1

h + 2.9

h + 2.9

h + 2.9

h + 2.9

h + 3.2

h + 3.5

h + 4.1

1-31

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

ตารางที่ 1-5 (ต่ อ) ระยะห่ างตํ่าสุดตามแนวดิ่งระหว่ างสายไฟฟ้า7)กับพืน้ แหล่ งนํา้ อาคาร หรือสิ่งก่ อสร้ างอื่นๆ (เมตร) (Minimum Vertical Clearance)

สิ่งที่อยู่ใกล้ สายไฟฟ้า

2.4 - คลองหรื อ แหล่ ง นํ า้ ที่ อ ยู่ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของ หน่วยงานราชการ หรื อเป็ นของเอกชน ที่ไม่มีเรื อ แล่นผ่าน 2.5 - เหนือหรื อใต้ หลังคาหรื อส่วนของอาคารที่ไม่มีคนเดิน หรื อไม่สามารถเข้ าถึงได้ - เหนือหรื อใต้ หลังคาระเบียงที่มีคนเดินหรื อสามารถเข้ า ถึงได้ 2.6 - เหนือสะพานลอยคนเดินข้ ามถนนที่ไม่มีหลังคา - เหนือหลังคาสะพานลอยคนเดินข้ ามถนน 2.7 - เหนือหรื อใต้ ป้าย, เสาโทรทัศน์-วิทยุ, ถังซึ่งบรรจุ สารที่ไม่ติดไฟ

ไม่ เกิน 1 kV ชนิดของสายไฟฟ้า สายหุ้มฉนวน แรงตํ่าตีเกลียว สายหุ้มฉนวน กับสายนิวทรั ล แรงตํ่า3) 3) เปลือย 4.4 4.3

แรงดันไฟฟ้า2) 11 – 33 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

69 kV 115 kV 230 kV ชนิดของสายไฟฟ้า

สายเปลือย

สายหุ้มฉนวน แรงสูงไม่ เต็ม พิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูง 2 ชัน้ ไม่ เต็มพิกัด3)

สายหุ้มฉนวน แรงสูงเต็ม พิกัดตีเกลียว3)

5.2

5.2

5.2

4.3

5.4

5.7

6.4

สายเปลือย

1.1

0.15

3.010)

3.010)

1.1

0.15

3.410)

3.610)

4.310)

3.5

2.4

4.610)

4.610)

3.5

2.4

4.910)

5.110)

5.810)

3.5 1.1 1.1

2.4 0.15 0.15

4.6 3.0 2.410)

4.6 3.0 2.410)

3.5 1.1 1.1

2.4 0.15 0.15

4.9 3.4 2.610)

5.1 3.6 2.910)

5.8 4.3 3.610)

บทที่ 1 นิยามและข้ อกําหนดทั่วไป

1-32

ตารางที่ 1-5 (ต่ อ) ระยะห่ างตํ่าสุดตามแนวดิ่งระหว่ างสายไฟฟ้า7)กับพืน้ แหล่ งนํา้ อาคาร หรือสิ่งก่ อสร้ างอื่นๆ (เมตร) (Minimum Vertical Clearance) แรงดันไฟฟ้า2)

สิ่งที่อยู่ใกล้ สายไฟฟ้า

2.8 - ข้ ามทางรถไฟ หรื อรถไฟฟ้า (เหนือระดับสันราง)

2.9 - ใต้ สะพานที่มียานพาหนะวิ่งผ่าน 2.10 - เหนือเสาไฟถนน เสาสัญญาณไฟจราจรต่างๆ

ไม่ เกิน 1 kV 11 – 33 kV 69 kV 115 kV 230 kV ชนิดของสายไฟฟ้า ชนิดของสายไฟฟ้า ชนิดของสายไฟฟ้า สายหุ้มฉนวน สายหุ้มฉนวน สายหุ้มฉนวน สายหุ้มฉนวน แรงตํ่าตีเกลียว สายหุ้มฉนวน สายเปลื อ ย แรงสู ง ไม่ เ ต็ ม แรงสู ง 2 ชั น ้ แรงสูงเต็ม สายเปลือย กับสายนิวทรั ล แรงตํ่า3) 3) 3) 3) พิกัด ไม่ เต็มพิกัด พิกัดตีเกลียว เปลือย3) 7.0 7.0 9.0 9.0 9.0 9.0 9.5 10.5 11.5 ความสูง สูงสุดของรถไฟหรื อรถไฟฟ้าที่ใช้ ในข้ อกําหนดนี ้ ไม่เกิน 6.1 เมตร หากรถไฟหรื อรถไฟฟ้าอื่นใดที่มีความสูงเกิน 6.1เมตร ให้ รักษาระยะห่าง ตามแนวดิ่ง เทียบกับความสูงของรถไฟนั ้น เท่ากับ 0.9, 2.9, 3.4, 4.4 และ 5.4 เมตร สําหรับแรงดันไฟฟ้า ไม่เกิน 1 kV, 11-33 kV, 69 kV, 115 kV และ 230 kV ตามลําดับ 1.2 0.15 ไม่อนุญาต ไม่อนุญาต 2.0 0.15 ไม่ ไม่ ไม่ อนุญาต11) อนุญาต11) อนุญาต11) 0.6 0.6 1.4 1.4 1.4 0.6 1.9 2.4 3.6

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภัณฑ์ ไฟฟ้า

2-1

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า บริ ภณ ั ฑ์และสายไฟฟ้าทุกชนิด ต้ องมีคณ ุ สมบัติเป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.) ฉบับล่าสุด หรื อมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯ ยอมรับ เช่น มาตรฐาน IEC, BS, ANSI, NEMA, DIN, VDE, UL, JIS, AS หรื อเป็ นชนิดที่ได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ ก่อน โดยมาตรฐาน ที่อ้างอิงให้ ยดึ ถือตามฉบับที่ปรับปรุงล่าสุด มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ 2.1 มาตรฐานสายไฟฟ้า 2.1.1 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวน 2.1.1.1 สายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวน พีวีซี เป็ นไปตาม มอก. 11-2553 2.1.1.2 สายไฟฟ้าอะลูมิเนียมหุ้มฉนวน พีวีซี เป็ นไปตาม มอก. 293-2541 หมายเหตุ 1. การไฟฟ้ านครหลวง ห้ามใช้ในการเดิ นสายภายในของระบบไฟฟ้ าแรงตํ่า 2. การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค อนุญาตให้ใช้สายชนิ ดนีเ้ ป็ นตัวนําประธานได้ เฉพาะการ เดิ นสายลอยในอากาศบนวัสดุฉนวน ภายนอกอาคาร

2.1.1.3 สายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิง้ กด์ พอลิเอทิลีน เป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 60502 หรื อ มาตรฐานที่กําหนดไว้ ข้างต้ น 2.1.1.4 สายไฟฟ้าตามมาตรฐานการไฟฟ้านครหลวง หรื อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2.1.2 สายไฟฟ้าเปลือย 2.1.2.1 สายไฟฟ้าทองแดงรี ดแข็ง สําหรับสายไฟฟ้าเหนือดิน เป็ นไปตาม มอก. 64-2517 2.1.2.2 สายไฟฟ้าอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือย เป็ นไปตาม มอก. 85-2548 2.1.2.3 สายไฟฟ้าอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก เป็ นไปตาม มอก. 85-2548 2.1.2.4 สายไฟฟ้าตามมาตรฐานการไฟฟ้านครหลวง หรื อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2.2 มาตรฐานตัวนําไฟฟ้า 2.2.1 บัสบาร์ ทองแดง (Copper Bus Bar) ต้ องมีความบริ สทุ ธิ์ของทองแดงไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 98 2.2.2 บัสบาร์ อะลูมิเนียม (Aluminum Bus Bar) ต้ องมีความบริ สทุ ธิ์ของอะลูมิเนียมไม่ น้ อยกว่าร้ อยละ 98

2-2

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภัณฑ์ ไฟฟ้า

2.2.3 บัสเวย์ (Busway) หรื อบัสดัก (Bus Duct) ต้ องเป็ นชนิดที่ประกอบสําเร็ จรู ปจาก บริ ษัทผู้ผลิตและ ได้ มีการทดสอบแล้ วตามมาตรฐานข้ างต้ น 2.3 มาตรฐานเครื่ องป้องกันกระแสเกิน และสวิตช์ ตัดตอน อุป กรณ์ ตัด ตอนและเครื่ อ งป้ องกัน กระแสเกิ น ต้ อ งมี ม าตรฐานและคุณ สมบัติไ ม่ น้ อ ยกว่า ที่ กําหนดดังนี ้ 2.3.1

ตัวฟิ วส์ และขัว้ รั บฟิ วส์ เป็ นไปตาม มอก. 506-2527 และ มอก. 507-2527

2.3.2

สวิตช์ ท่ ที าํ งานด้ วยมือ เป็ นไปตาม มอก. 824-2531

2.3.3

สวิตช์ ใบมีด เป็ นไปตาม มอก. 706-2530

2.3.4 อุปกรณ์ ตัดตอนและเครื่ องป้องกันกระแสเกิน ต้ องมีคณ ุ สมบัติตามมาตรฐานที่การ ไฟฟ้าฯ ยอมรับ เช่น UL, BS, DIN, JIS และ IEC 2.3.5 ฟิ วส์ และขัว้ รั บฟิ วส์ (Fuse and Fuse Holder) พิกดั กระแสของฟิ วส์ต้องไม่สงู กว่า ของขั้วรั บ ฟิ วส์ ทํ า จากวัสดุที่เหมาะสม มี การป้องกันหรื อ หลีกเลี่ยงการผุกร่ อน (corrosion) เนื่องจากการใช้ โลหะต่างชนิดกันระหว่างฟิ วส์กับขั้วรับฟิ วส์ และต้ องมีเครื่ องหมายแสดงพิกัด แรงดันและกระแสให้ เห็นได้ อย่างชัดเจน 2.3.6 เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (Circuit Breaker) 2.3.6.1 ต้ องเป็ นแบบปลดได้ โดยอิสระ (trip free) และต้ องปลดสับได้ ด้วยมือ ถึงแม้ ว่าปกติ การปลดสับจะทําโดยวิธีอื่นก็ตาม 2.3.6.2 ต้ องมีเครื่ องหมายแสดงอย่างชัดเจนว่าอยูใ่ นตําแหน่งสับหรื อปลด 2.3.6.3 ถ้ าเป็ นแบบปรับตั ้งได้ ต้องเป็ นแบบการปรับตั ้งค่ากระแสหรื อเวลา โดยในขณะใช้ งานกระทําได้ เฉพาะผู้ที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง 2.3.6.4 ต้ องมีเครื่ องหมายแสดงพิกดั ของแรงดัน กระแส และความสามารถในการตัดกระแส ที่เห็นได้ ชดั เจนและถาวรหลังจากติดตั้งแล้ ว หรื อเห็นได้ เมื่อเปิ ดแผ่นกั้นหรื อฝาครอบ 2.3.6.5 เซอร์ กิตเบรกเกอร์ สําหรับระบบแรงตํ่าให้ เป็ นไปตามมาตรฐานดังนี ้ 2.3.6.5.1 เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ใช้ ในสถานที่อยู่อาศัยหรื อสถานที่คล้ ายคลึงกัน พิกัดไม่เกิ น 125 แอมแปร์ ให้ เป็ นไปตาม IEC 60898 กรณีพิกดั กระแสเกิน 125 แอมแปร์ ให้ เป็ นไปตาม IEC 60947-2 2.3.6.5.2 เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ใช้ ในสถานที่อื่นๆ ให้ เป็ นไปตาม IEC 60947-2 หรื อ IEC 60898 หมายเหตุ รายละเอียดเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ให้ดูในภาคผนวก ง. และ จ.

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภัณฑ์ ไฟฟ้า

2-3

2.3.7 เซฟตีสวิตช์ (Safety Switch) ต้ องปลดหรื อสับวงจรได้ พร้ อมกันทุกๆ ตัวนําเส้ นไฟ และต้ องประกอบด้ วยฟิวส์ตามข้ อ 2.3.5 รวมอยูใ่ นกล่องเดียวกันและจะเปิ ดฝาได้ ตอ่ เมื่อได้ ปลด วงจรแล้ ว หรื อการเปิ ดฝานันเป็ ้ นผลให้ วงจรถูกปลดด้ วย และต้ องสามารถปลดและสับกระแสใช้ งานในสภาพปกติได้ ในกรณีที่ใช้ งานเป็ นสวิตช์อย่างเดียว อนุญาตให้ ใช้ แบบ Non-fuse ได้ 2.3.8 เครื่ องตัดไฟรั่ ว (Residual Current Device หรื อ RCD) เครื่ องตัดไฟรั่วที่ใช้ ลดอันตรายจากการถูกไฟฟ้าดูด สําหรับแรงดันไม่เกิน 440 โวลต์ สําหรับบ้ านอยู่ อาศัยหรื อสถานที่คล้ ายคลึงกันต้ องมีคณ ุ สมบัติตามมาตรฐาน IEC 60755, IEC 61008, IEC 61009, IEC 61543, มอก. 2425-2552 หรื อ มอก. 909-2548 มีรายละเอียดดังนี ้ 2.3.8.1 เครื่ องตัดไฟรั่วควรมีค่ากระแสรั่วที่กําหนด (rated residual operating current, IΔn) ไม่เกิน 30 มิลลิแอมแปร์ และมีช่วงระยะเวลาในการตัด (break time หรื อ operating time) ไม่เกิน 0.04 วินาที เมื่อกระแสรั่วมีคา่ 5 IΔn (อาจใช้ คา่ 0.25 แอมแปร์ แทนค่า 5 IΔn ก็ได้ ) และ ไม่ทํางานเมื่อกระแสรั่วมีคา่ 0.5 IΔn 2.3.8.2 เครื่ องตัดไฟรั่วต้ องเป็ นชนิดที่ปลดสายไฟเส้ นที่มีไฟทุกเส้ นออกจากวงจรรวมทั้งสาย นิวทรัล (neutral) ยกเว้ น สายนิ วทรัลนัน้ มี การต่อลงดิ นโดยตรงตามบทที ่ 4 แล้ว 2.3.8.3 ห้ ามต่อวงจรลัดคร่อมผ่าน (by pass) เพื่อป้องกันเครื่ องตัดไฟรั่วปลดวงจรเมื่อไฟรั่ว 2.4 มาตรฐานหลักดิน และสิ่งที่ใช้ แทนหลักดิน 2.4.1 แท่งเหล็กหุ้มด้ วยทองแดง (copper-clad steel) หรื อแท่งทองแดง (solid copper) หรื อแท่งเหล็กอาบสังกะสี (hot-dip galvanized steel) ต้ องมีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางไม่น้อย กว่า 5/8 นิ ้ว (ขนาดทางการค้ า-รายละเอียดให้ ดหู มายเหตุ) ยาวไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร - เหล็กที่ใช้ เป็ นแกนให้ ทําจาก low carbon steel ที่มี tensile strength ขนาดไม่ น้ อยกว่า 600 นิวตันต่อ ตร.มม. - ทองแดงที่ใช้ ห้ มุ มีความบริ สทุ ธิ์ 99.9% และหุ้มอย่างแนบสนิทแบบ molecularly bonded กับแกนเหล็ก ความหนาของทองแดงที่ห้ มุ ที่จดุ ใดๆต้ องไม่น้อยกว่า 250 ไมโครเมตร - ต้ องผ่านการทดสอบการยึดแน่นและความคงทนของทองแดงที่ห้ มุ ด้ วยวิธี jacket adherence test และ bending test ตามมาตรฐาน UL-467 - กรณี แ ท่ ง เหล็ ก อาบสัง กะสี ต้ อ งมี ค วามหนาเฉลี่ ย ของสัง กะสี ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 85 ไมโครเมตร

2-4

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภัณฑ์ ไฟฟ้า

2.4.2 แผ่นตัวนําชนิดป้องกันการผุกร่ อนที่มีพื ้นผิวสัมผัสกับดินไม่น้อยกว่า 0.18 ตร.เมตร ในกรณีที่เป็ นเหล็กอาบโลหะชนิดกันการผุกร่ อนต้ องหนาไม่น้อยกว่า 6 มม. หากเป็ นโลหะกัน การผุกร่อนชนิดอื่นที่ไม่ใช่เหล็กต้ องหนาไม่น้อยกว่า 1.50 มม. 2.4.3 ห้ ามใช้ วสั ดุที่ทําด้ วยอะลูมิเนียมหรื อโลหะผสมของอะลูมิเนียม เป็ นหลักดินหรื อสิ่งที่ ใช้ แทนหลักดิน 2.4.4 ยอมให้ ใช้ อาคารที่เป็ นโครงโลหะและมีการต่อลงดินอย่างถูกต้ อง โดยมีค่าความ ต้ านทานของการต่อลงดินไม่เกิน 5 โอห์ม 2.4.5

หลักดินชนิดอื่นๆ ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ ก่อน

หมายเหตุ แท่งหลักดิ นขนาด 5/8 นิ้ ว หมายถึงขนาดโดยประมาณ 0.560 นิ้ ว หรื อ 14.20 มม. สําหรับแท่ง เหล็กหุม้ ด้วยทองแดง และ 0.625 นิ้ ว หรื อ 15.87 มม. สําหรับแท่งเหล็กอาบสังกะสี

2.5 มาตรฐานช่ องเดินสาย และรางเคเบิล 2.5.1 ท่ อร้ อยสายไฟฟ้า 2.5.1.1 ท่ อ เหล็ ก สํ า หรั บ ใช้ ร้ อยสายไฟฟ้ า ต้องมี คุ ณ สมบั ติ ต ามมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 770-2533 2.5.1.2 ท่ อ พีวีซี.แข็ง สํา หรั บ ใช้ ร้ อ ยสายไฟฟ้ า ต้ อ งมีค ณ ุ สมบัต ิต ามมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 216-2524 หรื อตามมาตรฐานท่อร้ อยสายไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฯ ยอมรับ 2.5.1.3 ท่ อเอชดีพีอี (HDPE) แข็งที่นํามาใช้ ร้อยสายไฟฟ้าฝั งดินโดยตรง ต้ องมีคณ ุ สมบัติ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 982-2533 หรื อตามมาตรฐานท่อร้ อยสายไฟฟ้าที่ การไฟฟ้าฯ ยอมรับ 2.5.1.4 ท่อร้ อยสายชนิดอื่นๆ ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ ก่อน 2.5.1.5 ขนาดของท่อที่กล่าวถึงนี ้ หมายถึงเส้ นผ่านศูนย์กลางภายใน หรื อขนาดทางการค้ า 2.5.1.6 เครื ่ อ งประกอบการเดิน ท่อ ต้ อ งเป็ นชนิด ที ่ไ ด้ รับ อนุญ าตให้ แ สดงเครื่ อ งหมาย มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม หรื อตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯยอมรับ 2.5.2 รางเดินสาย (Wireways) ุ สมบัติตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯ ยอมรับ หรื อที่ได้ รับความเห็น ชอบจากการไฟฟ้าฯ ต้ องมีคณ (ดูภาคผนวก ฉ.)

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภัณฑ์ ไฟฟ้า

2-5

2.5.3 รางเคเบิล (Cable Trays) ต้ องมีคณ ุ สมบัติตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯยอมรับ หรื อที่ได้ รับความเห็น ชอบจากการไฟฟ้าฯ (ดูภาคผนวก ฉ.) 2.5.4 รางเคเบิลแบบบันได (Cable Ladders) ต้ องมีคณ ุ สมบัติตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯยอมรับ หรื อที่ได้ รับความเห็น ชอบจากการไฟฟ้าฯ (ดูภาคผนวก ฉ.)

2.6 มาตรฐานหม้ อแปลง หม้ อแปลงชนิดฉนวนนํ ้ามันต้ องมีคณ ุ สมบัติตาม มอก. 384-2543 หรื อมาตรฐานที่กําหนดไว้ ข้ างต้ น สําหรับหม้ อแปลงชนิดแห้ ง ต้ องมีคณ ุ สมบัตติ ามมาตรฐานที่กําหนดไว้ ข้างต้ น

2.7 มาตรฐานบริภณ ั ฑ์ และเครื่องประกอบอื่นๆ บริ ภณ ั ฑ์และเครื่ องประกอบอื่นๆ ต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯยอมรับ เช่น UL, IEC, BS, DIN และ NEMA หรื อที่ได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ

2.8 มาตรฐานระดับการป้องกันสิ่งห่ อหุ้มบริภณ ั ฑ์ ให้ เป็ นไปตามตารางที่ 2-1 มาตรฐานระดับการป้องกันแสดงด้ วยสัญลักษณ์ IP ตามด้ วยตัวเลข 1 หรื อ 2 ตัว ตามประเภท การป้องกัน หากการป้องกันประเภทใดไม่ได้ กําหนด อาจแสดงด้ วย “_” หรื อ “x” หรื อเว้ น ช่องว่างไว้ เช่น IPx3

2-6

บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภัณฑ์ ไฟฟ้า ตารางที่ 2-1 ความหมายตัวเลขกํากับระดับการป้องกันหลังสัญลักษณ์ IP ตัวเลขตัวที่ 1

ตัวเลขตัวที่ 2

ประเภทการป้องกันวัตถุจากภายนอก

ประเภทการป้องกันของเหลว

เลข

ระดับการป้องกัน

เลข

ระดับการป้องกัน

0

ไม่มีการป้องกัน

0

ไม่มีการป้องกัน

1

ป้องกันวัตถุที่มีขนาดใหญ่กว่า 50 มิลลิเมตร เช่น สัมผัสด้ วยมือ

1

ป้องกันหยดเฉพาะในแนวดิ่ง

2

ป้องกันวัตถุที่มีขนาดใหญ่กว่า 12 มิลลิเมตร เช่น นิ ้วมือ

2

ป้องกันหยดและนํ ้าสาดทํามุมไม่เกิน 15 องศากับแนวดิ่ง

3

ป้องกันวัตถุที่มีขนาดใหญ่กว่า 2.5 มิลลิเมตร เช่น เครื่ องมือ เส้ นลวด

3

ป้องกันหยดและนํ ้าสาดทํามุมไม่เกิน 60 องศากับแนวดิ่ง

4

ป้องกัน วัต ถุที่มีข นาดใหญ่ ก ว่า 1 มิลลิเมตร เช่น เครื่ องมือเล็กๆ เส้ น ลวดเล็กๆ

4

ป้องกันนํ ้าสาดเข้ าทุกทิศทาง

5

ป้องกันฝุ่ น

5

ป้องกันนํ ้าฉีดเข้ าทุกทิศทาง

6

ผนึกกันฝุ่ น

6

ป้องกันนํ ้าฉีดอย่างแรงเข้ าทุกทิศทาง

7

ป้องกันนํ ้าท่วมชัว่ คราว

8

ป้องกันนํ ้าเมื่อใช้ งานอยู่ใต้ นํ ้า

หมายเหตุ รายละเอียดเพิ่มเติ มให้ดูจาก IEC 60529 หรื อ มอก.513-2553

2.9 มาตรฐานเต้ ารั บ-เต้ าเสียบ เต้ ารับ-เต้ าเสียบต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน มอก.166-2549 และ มอก. 2162-2547 2.10 มาตรฐานแผงสวิตช์ สาํ หรั บระบบแรงตํ่า แผงสวิตช์สําหรับระบบแรงตํ่าที่เป็ นโลหะต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน มอก.1436-2540 หรื อที่ ได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ 2.11 โคมไฟฟ้าแสงสว่ างฉุกเฉิน ต้ องเป็ นไปตาม มอก.1102-2538 2.12 โคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ต้ องเป็ นไปตาม มอก. 2430-2552

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3-1

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย ในการออกแบบระบบไฟฟ้ า ต้ อ งเริ่ ม ต้ นจากวงจรย่อยซึ่งเป็ นส่วนสํ าคัญที่ จะต้ องพิจ ารณา ตรวจสอบและกํ าหนดขนาดโหลดให้ เหมาะสม เพื่อนําไปคํานวณและออกแบบขนาดตัวนํา กํ าหนดขนาดอุปกรณ์ ป้ องกันของวงจรย่อย วงจรสายป้ อน และวงจรประธาน ให้ มี ขนาด เหมาะสมและทํางานได้ อย่างถูกต้ องปลอดภัยกับผู้ใช้ งาน ในบทนี ้ได้ กําหนดแนวทางในการ คํานวณโหลดและวิธีการเลือกขนาดตัวนําและอุปกรณ์ป้องกันโดยพิจารณาที่ความปลอดภัยขั้น ตํ่าเป็ นเกณฑ์ กรณีที่ต้องการออกแบบให้ รองรับการขยายตัวของโหลดในอนาคตให้ พิจารณา เพิ่มเติมจากเกณฑ์ที่กําหนดไว้

3.1 วงจรย่ อย 3.1.1 ขอบเขต ให้ ใ ช้ กับ วงจรย่ อ ยสํ า หรั บ ไฟฟ้ าแสงสว่ า งหรื อ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า หรื อ ทั้ง ไฟฟ้ าแสงสว่ า งและ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ารวมกัน ยกเว้ นวงจรย่อยสําหรับมอเตอร์ ไฟฟ้า (ดูบทที่ 6 เรื่ องวงจรมอเตอร์ ) 3.1.2 ขนาดพิกัดวงจรย่ อย ขนาดพิกดั วงจรย่อยให้ เรี ยกตามขนาดพิกัดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินที่ใช้ ตดั กระแสสําหรับ วงจรนั้นๆ วงจรย่อยซึง่ มีจดุ จ่ายไฟฟ้าตั้งแต่ 2 จุดขึ ้นไปต้ องมีขนาดไม่เกิน 50 แอมแปร์ ยกเว้ น อนุญาตให้วงจรย่อยซึ่ งมี จุดจ่ ายไฟฟ้ าตัง้ แต่ 2 จุดขึ้ นไปที ่ไม่ใช่โหลดแสงสว่างมี พิกดั เกิ น 50 แอมแปร์ ได้เฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ ี บคุ คลทีม่ ี คณ ุ สมบัติคอยดูแล และบํารุงรักษา 3.1.3 ขนาดตัวนําของวงจรย่ อย ตัวนําของวงจรย่อยต้ องมีขนาดกระแสไม่น้อยกว่าโหลดสูงสุดที่คํานวณได้ ตามข้ อ 3.1.6 และต้ อง ไม่น้อยกว่าพิกัดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินของวงจรย่อย และกําหนดให้ ขนาดตัวนําของวงจร ย่อยต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. กรณี วงจรย่อยไฟฟ้าแสงสว่าง 3 เฟส 4 สาย ที่จ่ายโหลด 1 เฟส และเดินรวมในช่องเดินสาย เดียวกัน อนุญาตให้ ใช้ ตวั นํานิวทรัลร่ วมกันได้ โดยโหลดแต่ละเฟสต้ องมีโหลดใกล้ เคียงกันและ ขนาดตัวนํานิวทรัลไม่เล็กกว่าตัวนําเฟสยกเว้ นโหลดที่มีฮาร์ มอนิกส์สงู ข้ อควรระวัง หากสายนิ วทรัลหลุดอาจทําให้เกิ ดแรงดันเกิ นได้

3-2

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3.1.4 การป้องกันกระแสเกิน 3.1.4.1 อาคารที่มีความสูงเกิน 1 ชั้น ต้ องแยกวงจรย่อยอย่างน้ อยชั ้นละ 1 วงจร ข้ อแนะนํา

สําหรับวงจรย่อยชัน้ ล่างควรแบ่งวงจรอย่างน้อยดังต่อไปนี ้ 1. ไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร 2. เต้ารับภายในอาคาร 3 ภายนอกอาคาร

3.1.4.2 วงจรย่อยต้ องมีการป้องกันกระแสเกิน โดยขนาดพิกดั เครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ อง สอดคล้ องและไม่ตํ่ากว่าโหลดสูงสุดที่คํานวณได้ 3.1.5 โหลดสําหรั บวงจรย่ อย วงจรย่อยซึ่งมีจุดต่อไฟฟ้าตั้งแต่ 2 จุดขึ ้นไป ลักษณะของโหลดต้ องเป็ นไปตามข้ อกําหนด ต่อไปนี ้ 3.1.5.1 วงจรย่อยขนาดไม่เกิน 20 แอมแปร์ โหลดของเครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ติดตั ้งถาวรหรื อที่ใช้ เต้ าเสียบแต่ละเครื่ องจะต้ องไม่เกินขนาดพิกดั วงจรย่อย กรณีมีเครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ใช้ เต้ าเสียบ รวมอยูด่ ้ วยโหลดที่ตดิ ตั้งถาวรรวมกันแล้ วจะต้ องไม่เกินร้ อยละ 50 ของขนาดพิกดั วงจรย่อย 3.1.5.2 วงจรย่อยขนาด 25 ถึง 32 แอมแปร์ ให้ ใช้ กบั ดวงโคมไฟฟ้าที่ติดตั้งถาวรขนาดดวง โคมละไม่ตํ่ากว่า 250 วัตต์ หรื อใช้ กบั เครื่ องใช้ ไฟฟ้าซึ่งไม่ใช่ดวงโคม ขนาดของเครื่ องใช้ ไฟฟ้า ชนิดใช้ เต้ าเสียบแต่ละเครื่ องจะต้ องมีขนาดไม่เกินขนาดพิกดั วงจรย่อย 3.1.5.3 วงจรย่อยขนาดเกิน 32 ถึง 50 แอมแปร์ ให้ ใช้ กบั ดวงโคมไฟฟ้าที่ติดตั ้งถาวรขนาด ดวงโคมละไม่ตํ่ากว่า 250 วัตต์หรื อใช้ กบั เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ตดิ ตั้งถาวร 3.1.5.4 วงจรย่อยขนาดเกินกว่า 50 แอมแปร์ ให้ ใช้ กบั โหลดที่ไม่ใช่แสงสว่างเท่านัน้ 3.1.6 การคํานวณโหลดสําหรั บวงจรย่ อย โหลดสําหรับวงจรย่อยต้ องคํานวณตามที่กําหนดดังต่อไปนี ้ 3.1.6.1 วงจรย่อยต้ องมีขนาดไม่น้อยกว่าผลรวมของโหลดทั้งหมดที่ตอ่ อยูใ่ นวงจรนั้น 3.1.6.2 โหลดแสงสว่างและโหลดของเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าอื่นที่ทราบแน่นอนให้ คํานวณตามที่ ติดตั้งจริ ง 3.1.6.3 โหลดของเต้ ารับใช้ งานทัว่ ไป ให้ คํานวณโหลดจุดละ 180 โวลต์แอมแปร์ ทั้งชนิด เต้ าเดี่ยว (single) เต้ าคู่ (duplex) และชนิดสามเต้ า (triplex) กรณีติดตั้งชนิดตั้งแต่ 4 เต้ า ให้ คํานวณโหลดจุดละ 360 โวลต์แอมแปร์ 3.1.6.4 โหลดของเต้ า รั บ อื ่น ที ่ไ ม่ไ ด้ ใ ช้ ง านทั ่ว ไป ให้ คํ า นวณโหลดตามขนาดของ เครื่ องใช้ ไฟฟ้านั้นๆ

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3-3

3.1.7 เต้ ารั บ 3.1.7.1 เต้ ารับที่อยูใ่ นวงจรย่อยต้ องเป็ นแบบมีขั้วสายดิน และต้ องต่อลงดินตามบทที่ 4 3.1.7.2 เต้ า รั บ ในสถานที่ เ ดีย วกัน แต่ใ ช้ แ รงดัน ต่า งกัน หรื อ เพื่ อ วัต ถุประสงค์ในการใช้ งานต่างกัน ต้ องจัดทําเพื่อให้ เต้ าเสียบไม่สามารถสลับกันได้ 3.1.8

การป้องกันไฟฟ้าดูดโดยใช้ เครื่ องตัดไฟรั่ วในที่อยู่อาศัยและที่คล้ ายคลึงกัน

วงจรย่อยต่อไปนี ้นอกจากมีสายดินของบริ ภัณฑ์ไฟฟ้ าและติดตั ้งตามบทที่ 4 แล้ ว ต้ องมีการ ป้องกันโดยใช้ เครื่ องตัดไฟรั่ว ขนาด IΔn ไม่เกิน 30 มิลลิแอมแปร์ เพิ่มเติมด้ วย คือ ก) วงจรเต้ ารับในบริ เวณห้ องนํ ้า ห้ องอาบนํ ้า โรงจอดรถยนต์ ห้ องครัว ห้ องใต้ ดนิ ข) วงจรเต้ ารั บในบริ เวณ อ่างล้ างชาม อ่างล้ างมือ (บริ เวณพื ้นที่เคาน์ เตอร์ ที่มีการ ติดตั้งเต้ ารับภายในระยะ 1.5 เมตร ห่างจากขอบด้ านนอกของอ่าง) ค) วงจรไฟฟ้าเพื่อใช้ จ่ายภายนอกอาคาร และบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่อยู่ในตําแหน่งที่บคุ คล สัมผัสได้ ทกุ วงจร ง) วงจรเต้ ารับในบริ เวณชั้นล่าง (ชั้น 1) รวมถึงในบริ เวณที่อยู่ตํ่ากว่าระดับผิวดิน ที่ อยูใ่ นพื ้นที่ปรากฏว่าเคยมีนํ ้าท่วมถึงหรื ออยูใ่ นพื ้นที่ตํ่ากว่าระดับทะเลปานกลาง จ) วงจรย่อยสําหรับ เครื่ องทํานํ ้าอุ่น เครื่ องทํานํ ้าร้ อน อ่างอาบนํ ้า หมายเหตุ ตํ าแหน่งที ่สมั ผัสได้ หมายถึ งอยู่ห่างจากพื น้ หรื อโลหะที ่ต่อลงดิ นไม่เกิ น 2.4 เมตร ในแนวดิ่ ง หรื อ 1.5 เมตร ในแนวระดับและบุคคลสามารถเข้าถึงได้โดยไม่ตงั้ ใจ

3.1.9 การป้องกันไฟฟ้าดูดโดยใช้ เครื่ องตัดไฟรั่ วในสถานประกอบการที่ไม่ ใช่ ท่ ีอยู่ อาศัย วงจรย่อยต่อไปนีน้ อกจากมีสายดินของบริ ภัณฑ์ไฟฟ้ าและติดตั ้งตามบทที่ 4 แล้ ว ต้ องมีการ ป้องกันโดยใช้ เครื่ องตัดไฟรั่ว ขนาด IΔn ไม่เกิน 30 มิลลิแอมแปร์ เพิ่มเติมด้ วย คือ ก) วงจรสําหรับสระหรื ออ่างกายภาพบําบัด ธาราบําบัด อ่างนํ ้าแร่ (spa) อ่างนํ ้าร้ อน (hot tub) อ่างนวดตัว ข) เครื่ องทํานํ ้าอุ่น เครื่ องทํานํ ้าร้ อน และเครื่ องทํานํ ้าเย็น ค) วงจรย่อยเต้ ารับ ในบริ เวณต่อไปนี ้ 1) ห้ องนํ ้า ห้ องอาบนํ ้า ห้ องครัว 2) สถานที่ทํางานก่อสร้ าง ซ่อมบํารุง บนดาดฟ้า อู่ซอ่ มรถ 3) ท่าจอดเรื อ โป๊ ะจอดเรื อ ที่ทําการเกษตร พืชสวนและปศุสตั ว์ 4) การแสดงเพื่อการพักผ่อนในที่สาธารณะกลางแจ้ ง 5) งานแสดงหรื อขายสินค้ าและที่คล้ ายคลึงกัน

3-4

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

6) วงจรเต้ ารับที่อยู่ชั้นล่าง (ชั้น 1) ชั้นใต้ ดิน รวมถึงวงจรเต้ ารับที่อยู่ตํ่ากว่า ระดับผิวดิน ที่อยู่ในพื ้นที่ปรากฏว่าเคยมีนํา้ ท่วมถึงหรื ออยู่ในพื ้นที่ตํ่ากว่า ระดับทะเลปานกลาง ยกเว้ น มี ระบบป้ องกันนํ้าท่วม หมายเหตุ การติ ด ตั้ง เครื ่ อ งตัด ไฟรั่ ว ตามข้ อ 3.1.8 และข้ อ 3.19 เป็ นการติ ด ตั้ง เพิ่ ม เติ ม นอกเหนือจากสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าตามบทที ่ 4

3.2 สายป้อน 3.2.1 ขนาดตัวนําของสายป้อน สายป้อนต้ องมีขนาดกระแสไม่น้อยกว่าโหลดสูงสุดที่คํานวณได้ และไม่น้อยกว่าขนาดพิกดั ของ เครื่ องป้องกันกระแสเกินของสายป้อน และกําหนดให้ ขนาดตัวนําของสายป้อนต้ องไม่เล็กกว่า 4 ตร.มม. 3.2.2 การป้องกันกระแสเกิน สายป้อนต้ องมีการป้องกันกระแสเกิน โดยขนาดพิกัดเครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องสอดคล้ อง และไม่ตํ่ากว่าโหลดสูงสุดที่คํานวณได้ 3.2.3 การคํานวณโหลดสําหรั บสายป้อน โหลดของสายป้อนต้ องคํานวณตามที่กําหนดดังต่อไปนี ้ 3.2.3.1 สายป้ อนต้ อ งมี ข นาดกระแสเพี ยงพอสํ าหรั บการจ่ ายโหลดและต้ องไม่ น้ อ ยกว่า ผลรวมของโหลดในวงจรย่อยเมื่อใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ 3.2.3.2 โหลดแสงสว่าง อนุญาตให้ ใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 3-1 3.2.3.3 โหลดของเต้ ารับอนุญาตให้ ใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 3-2 ได้ เฉพาะโหลดของ เต้ ารับที่มีการคํานวณโหลดแต่ละเต้ ารับไม่เกิน 180 โวลต์แอมแปร์ 3.2.3.4 โหลดเครื่ องใช้ ไฟฟ้าทัว่ ไป อนุญาตให้ ใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 3-3 ได้ 3.2.3.5 เต้ ารับในอาคารที่อยู่อาศัยที่ต่อเครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ทราบโหลดแน่นอนให้ คํานวณโหลด จากเต้ ารับที่มีขนาดสูงสุด 1 เครื่ องรวมกับร้ อยละ 40 ของขนาดโหลดในเต้ ารับที่เหลือ 3.2.3.6 ดีมานด์แฟกเตอร์ นี ้ให้ ใช้ กบั การคํานวณสายป้อนเท่านั้นห้ ามใช้ กบั การคํานวณวงจรย่อย

3-5

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

ตารางที่ 3-1 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สาํ หรับโหลดแสงสว่ าง ชนิดของอาคาร

ขนาดของไฟแสงสว่ าง (โวลต์ –แอมแปร์ )

ดีมานด์ แฟกเตอร์ (ร้ อยละ)

ไม่เกิน 2,000 ส่วนเกิน 2,000 ไม่เกิน 50,000 ส่วนเกิน 50,000 ไม่เกิน 20,000 20,001-100,000 ส่วนเกิน 100,000

100 35 40 20 50 40 30

ไม่เกิน 12,500 ส่วนเกิน 12,500 ทุกขนาด

100 50 100

ที่พกั อาศัย โรงพยาบาล* โรงแรม รวมถึง ห้ องชุด ที่ไม่มีสว่ นให้ ผ้ อู ยูอ่ าศัย ประกอบอาหารได้ * โรงเก็บพัสดุ อาคารประเภทอื่น

หมายเหตุ * ดีมานด์แฟกเตอร์ ตามตารางนี ้ ห้ามใช้สําหรับโหลดแสงสว่างในสถานทีบ่ างแห่งของ โรงพยาบาลหรื อโรงแรม ซึ่งบางขณะจํ าเป็ นต้องใช้ไฟฟ้ าแสงสว่างพร้อมกัน เช่น ใน ห้องผ่าตัด ห้องอาหารหรื อห้องโถง ฯลฯ ตารางที่ 3-2 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สาํ หรับโหลดของเต้ ารั บในสถานที่ไม่ ใช่ ท่ อี ยู่อาศัย โหลดของเต้ ารับรวม (คํานวณโหลดเต้ ารั บละ 180 VA)

ดีมานด์ แฟกเตอร์ (ร้ อยละ)

10 kVA แรก

100

ส่วนที่เกิน 10 kVA

50

3-6

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย ตารางที่ 3-3 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สาํ หรับเครื่ องใช้ ไฟฟ้าทั่วไป ชนิดของอาคาร

ประเภทของโหลด เครื่ องหุงต้ มอาหาร

1. อาคารที่อยู่อาศัย

เครื่ องทํานํ ้าร้ อน เครื่ องปรับอากาศ

2. อาคารสํานักงาน และร้ านค้ ารวมถึง ห้ างสรรพสินค้ า

เครื่ องหุงต้ มอาหาร เครื่ องทํานํ ้าร้ อน เครื่ องปรับอากาศ

3. โรงแรมและ อาคารประเภทอื่น

เครื่ องหุงต้ มอาหาร เครื่ องทํานํ ้าร้ อน เครื่ องปรับอากาศ ประเภทแยกแต่ละห้ อง

ดีมานด์ แฟกเตอร์ 10 แอมแปร์ + ร้ อยละ 30 ของ ส่วนที่เกิน 10 แอมแปร์ กระแสใช้ งานจริ งของสองตัวแรกทีใ่ ช้ งาน + ร้ อยละ 25 ของตัวที่เหลือทังหมด ้ ร้ อยละ 100 กระแสใช้ งานจริ งของตัวที่ใหญ่ที่สดุ + ร้ อยละ 80 ของตัวใหญ่รองลงมา + ร้ อยละ 60 ของตัวที่เหลือทังหมด ้ ร้ อยละ 100 ของสองตัวแรกที่ใหญ่ที่สดุ + ร้ อยละ 25 ของตัวที่เหลือทังหมด ้ ร้ อยละ 100 เหมือนข้ อ 2 เหมือนข้ อ 2 ร้ อยละ 75

หมายเหตุ สําหรับเครื ่องปรับอากาศแบบส่วนกลาง (central) ให้ดูค่าดี มานด์แฟกเตอร์ ทีแ่ นะนําไว้ ในภาคผนวก ฌ.

3.2.4 ขนาดตัวนํานิวทรั ล (Neutral) ขนาดตัวนํานิวทรัล ต้ องมีขนาดกระแสเพียงพอที่จะรับกระแสไม่สมดุลสูงสุดที่เกิดขึ ้น และต้ องมี ขนาดไม่เล็กกว่าขนาดสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าตามข้ อ 4.20 กรณีระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย ขนาดของตัวนํานิวทรัลมีข้อกําหนดดังนี ้ 3.2.4.1 กรณี สายเส้ นไฟมีกระแสของโหลดไม่ส มดุลสูง สุดไม่เกิน 200 แอมแปร์ ขนาด กระแสของตัวนํานิวทรัลต้ องไม่น้อยกว่าขนาดกระแสของโหลดไม่สมดุลสูงสุดนั้น 3.2.4.2 กรณีสายเส้ นไฟมีกระแสของโหลดไม่สมดุลสูงสุดมากกว่า 200 แอมแปร์ ขนาด กระแสของตัวนํานิวทรัลต้ องไม่น้อยกว่า 200 แอมแปร์ บวกด้ วยร้ อยละ 70 ของส่วนที่เกิน 200 แอมแปร์

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3-7

3.2.4.3 ไม่อนุญาตให้ คํานวณลดขนาดกระแสในตัวนํานิวทรัลในส่วนของโหลดไม่สมดุลที่ ประกอบด้ วยหลอดชนิดปล่อยประจุ (electric discharge) (เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็ นต้ น) อุปกรณ์เกี่ยวกับการประมวลผลข้ อมูล (data processing) หรื ออุปกรณ์อื่นที่มีลกั ษณะคล้ ายกัน ที่ทําให้ เกิดกระแสฮาร์ มอนิก (harmonic) ในตัวนํานิวทรัล หมายเหตุ 1) กระแสของโหลดไม่สมดุลสูงสุดคื อค่าสูงสุดที ่คํานวณได้จากโหลด 1 เฟส (single-phase load) ทีต่ ่อระหว่างตัวนํานิ วทรัลและสายเส้นไฟเส้นใดเส้นหนึ่ง 2) ในระบบไฟ 3 เฟส 4 สายทีจ่ ่ายให้กบั ระบบคอมพิวเตอร์ หรื อโหลดอิ เล็กทรอนิ กส์จะต้องเผือ่ ตัวนํ านิ วทรัลให้ใหญ่ ขึ้นเพื อ่ รองรับกระแสฮาร์ มอนิ กด้วย ในบางกรณี ตวั นํ านิ วทรัลอาจมี ขนาดใหญ่กว่าสายเส้นไฟ

3.3 การป้องกันกระแสเกินสําหรั บวงจรย่ อยและสายป้อน วงจรย่ อ ยและสายป้ อนต้ อ งมี ก ารป้ องกัน กระแสเกิ น และเครื่ อ งป้ องกัน กระแสเกิ น ต้ อ งมี รายละเอียดดังต่อไปนี ้ 3.3.1

เครื่ องป้องกันกระแสเกินอาจเป็ นฟิวส์ หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ก็ได้

3.3.2 ฟิ วส์ เซอร์ กิ ตเบรกเกอร์ หรื อการผสมของทัง้ สองอย่ างนี ้ จะนํ ามาต่อขนานกันไม่ ได้ ยกเว้ น เป็ นผลิ ตภัณฑ์ มาตรฐานที ป่ ระกอบสําเร็ จมาจากโรงงานผูผ้ ลิ ต และเป็ นแบบที ไ่ ด้รับ ความเห็นชอบว่าเป็ นหน่วย (unit) เดียวกัน 3.3.3 ในกรณีที่ติดตั ้งเครื่ องป้ องกันกระแสเกินเพิ่มเติมสําหรับดวงโคมหรื อเครื่ องใช้ ไฟฟ้า อื่นๆ เครื่ องป้องกันกระแสเกินเพิ่มเติมเหล่านี ้ จะใช้ แทนเครื่ องป้องกันกระแสเกินของวงจรย่อย ไม่ได้ และไม่จําเป็ นต้ องเข้ าถึงได้ ทนั ที 3.3.4 เครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องสามารถป้องกันตัวนําทุกสายเส้ นไฟและไม่ต้องติดตั้งใน ตัวนําที่มีการต่อลงดิน ยกเว้ น อนุญาตให้ติดตัง้ เครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นในตัวนําทีม่ ี การต่อลง ดิ นได้ ถ้าเครื ่ องป้ องกันกระแสเกิ นนัน้ สามารถตัดวงจรทุกเส้นรวมทัง้ ตัวนํ าที ่มีการต่อลงดิ นได้ พร้อมกัน 3.3.5 เครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องไม่ตดิ ตั้งในสถานที่ซึ่งทําให้ เกิดความเสียหาย และต้ องไม่ อยูใ่ กล้ กบั วัสดุที่ตดิ ไฟง่าย 3.3.6 เครื่ องป้องกันกระแสเกิน ต้ องบรรจุไว้ ในกล่องหรื อตู้อย่างมิดชิด (เฉพาะด้ ามสับของ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ยอมให้ โผล่ออกมาข้ างนอกได้ ) ยกเว้ น หากติ ดตัง้ ไว้ทีแ่ ผงสวิ ตช์ หรื อแผง ควบคุม ซึ่ งอยู่ในห้องที ่ไม่มีวสั ดุติดไฟง่ายและไม่มีความชื ้น เครื ่ องป้ องกันกระแสเกิ นสํ าหรับ บ้านอยู่อาศัยขนาดไม่เกิ น 16 แอมแปร์ หนึ่งเฟส ไม่ต้องบรรจุไว้ ในกล่องหรื อตู้ก็ได้

3-8

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3.3.7 กล่องหรื อตู้ที่บรรจุเครื่ องป้องกันกระแสเกิน ซึ่งติดตั ้งในสถานที่เปี ยกหรื อชื ้นต้ องเป็ น ชนิดที่ได้ รับความเห็นชอบแล้ ว และต้ องมีช่องว่างระหว่างตู้กบั ผนังหรื อพื ้นที่รองรับไม่น้อยกว่า 5 มม. 3.3.8 เครื่ อ งป้ องกัน กระแสเกิน ต้ อ งติด ตั ้งในที่ซึ่ง สามารถปฏิบ ตั ิง านได้ ส ะดวก มีที่ว่า ง และแสงสว่างอย่างพอเพียง บริ เวณหน้ าแผงต้ องมีที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานไม่น้อยกว่าที่กําหนดใน บทที่ 1 3.3.9

ต้ องติดตังเครื ้ ่ องป้องกันกระแสเกินทุกจุดต่อแยก

ข้ อยกเว้ นที่ 1 กรณี เครื ่ องป้ องกันกระแสเกิ นของสายป้ อนสามารถป้ องกันสายที ่ต่อแยกได้ไม่ ต้องติ ดตัง้ เครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นทุกจุดต่อแยก ข้ อยกเว้ นที่ 2 สายทีต่ ่อแยกจากสายป้ อนเป็ นไปตามทุกข้อดังนี ้ 2.1) ความยาวของสายทีต่ ่อแยกไม่เกิ น 7.5 เมตร 2.2) ขนาดกระแสของสายทีต่ ่อแยกไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ของขนาดกระแสสายป้ อน 2.3) จุดปลายของสายต่อแยกต้องมีเครื ่องป้ องกันกระแสเกิ น 1 ตัว 2.4) สายทีต่ ่อแยกต้องติ ดตัง้ ในช่องเดิ นสาย

3.3.10 เครื่ องป้องกันกระแสเกิ นของวงจรย่อยและสายป้อนในแผงสวิตช์ ต่าง ๆ ต้ องระบุ โหลดที่จ่ายให้ ชดั เจนติดไว้ ตามข้ อ 1.107

3.4 ตัวนําประธาน (Service Conductor) ตัวนําประธานต้ องมีขนาดเพียงพอที่จะรับโหลดทั้งหมดได้ และตัวนําประธานที่จ่ายไฟฟ้าให้ กับ อาคารหลังหนึง่ ๆ หรื อผู้ใช้ ไฟฟ้ารายหนึง่ ต้ องมีชดุ เดียว ขนาดตัวนํานิวทรั ล ต้ องมีขนาดกระแสเพียงพอที่จะรั บกระแสไม่สมดุลสูงสุดที่เกิดขึน้ ตามที่ คํานวณได้ ในข้ อ 3.2.4.1 ถึง 3.2.4.3 และต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่าขนาดสายต่อหลัก-ดินของระบบ ไฟฟ้าตามข้ อ 4.19 และไม่เล็กกว่าร้ อยละ 12.5 ของตัวนําประธานขนาดใหญ่ที่สดุ แต่ไม่ จําเป็ นต้ องใหญ่กว่าสายเฟสนอกจากเผื่อสําหรับปั ญหาฮาร์ มอนิก ยกเว้ น ยอมให้มีตวั นําประธานมากกว่า 1 ชุดได้ โดยมี ข้อกํ าหนดดังต่อไปนี ้ 1) สําหรับเครื ่องสูบนํ้าดับเพลิ ง ซึ่ งต้องการแยกระบบประธาน 2) สําหรับระบบไฟฟ้ าฉุกเฉิ นและระบบไฟฟ้ าสํารอง 3) ผูใ้ ช้ไฟฟ้ าที ม่ ี อาคารมากกว่า 1 หลัง อยู่ในบริ เวณเดี ยวกันและจํ าเป็นต้องใช้ ตัวนําประธานแยกกันภายใต้เงือ่ นไขดังนี ้

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3-9

3.1) อาคารทุกหลังต้องมี บริ ภณ ั ฑ์ ประธานโดยขนาดของเครื ่องป้ องกันกระแส เกิ นของบริ ภัณ ฑ์ ประธานรวมกันต้องไม่ เ กิ นขนาดพิ กัดเครื ่ องป้ องกัน กระแสเกิ นของเครื ่องวัดหน่วยไฟฟ้ า 3.2) ตัวนํ าประธานจากเครื ่ องวัดฯ ถึ งจุ ดแยกเข้ าแต่ ละอาคารต้องมี ขนาด กระแสไม่นอ้ ยกว่าขนาดของเครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นของอาคารทุกหลัง รวมกัน 3.3) จุดต่อแยกตัวนํ าประธานไปยังอาคารหลังอื ่นต้องอยู่ ในบริ เวณของผู้ใช้ ไฟฟ้ า 4) เป็ นอาคารที ่รับไฟจากหม้อแปลงไฟฟ้ ามากกว่า 1 ลูก หรื อที ่การไฟฟ้ า กํ าหนดให้ตอ้ งจ่ายไฟฟ้ ามากกว่า 1 แหล่งจ่าย 5) เมื อ่ ต้องการตัวนําประธานทีร่ ะดับแรงดันต่างกัน 6) เป็ นอาคารชุด อาคารสูง หรื ออาคารขนาดใหญ่เป็ นพิ เศษ ทีจ่ ํ าเป็ นต้องใช้ตวั นํา ประธานมากกว่า 1 ชุด โดยจะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯก่อน ตอน ก. สําหรั บระบบแรงตํา่ 3.4.1 ตัวนําประธานอากาศสําหรั บระบบแรงตํ่า ต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนที่ เหมาะสมและต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 4 ตร.มม. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคยอมให้ ใช้ สายอะลูมิเนียม หุ้มฉนวนที่เหมาะสมเป็ นตัวนําประธานได้ เฉพาะการเดินสายลอยในอากาศบนวัสดุภายนอก อาคาร แต่ทั้งนี ้ขนาดต้ องไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม. 3.4.2 ตัวนําประธานใต้ ดินสําหรั บระบบแรงตํ่า ต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนชนิดที่ เหมาะสมกับลักษณะการติดตั้ง และต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม. หมายเหตุ 1) การติ ดตัง้ ใต้ดิน ต้องมี แผนผังแสดงแนวสายไฟฟ้ าใต้ดินไว้พร้ อมที จ่ ะตรวจสอบได้และต้อง ทํ าป้ ายระบุแนวของสายไฟฟ้ าและบอกความลึ ก ของสายบนสุด ป้ ายต้อ งเห็น ได้ช ดั เจน ระยะห่างระหว่างป้ ายไม่เกิ น 50 เมตร 2) การติ ดตัง้ ใต้ดินทีม่ ีหลายวงจร ทีป่ ลายสายและสายทีอ่ ยู่ในช่วงช่องเปิ ดของ แ ต่ ล ะ ว ง จ ร จะต้องมีเครื ่องหมายแสดงให้เห็นความแตกต่างติ ดอยู่อย่างถาวร 3) อนุญาตให้ใช้สายเมนขนาดไม่เล็กกว่า 4 ตร.มม. ได้กรณี จ่ายโหลดผ่านเครื ่องวัดฯ ขนาด 5(15)A 1 เฟส 2 สาย โดยโหลดเป็ นลักษณะ fixed-load และอยู่บริ เวณทางเดิ นริ มถนน (sidewalk)

3-10

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

ตอน ข. สําหรั บระบบแรงสูง 3.4.3

ตัวนําประธานอากาศสําหรั บระบบแรงสูง เป็ นสายเปลือยหรื อสายหุ้มฉนวนก็ได้

3.4.4 ตัวนําประธานใต้ ดินสําหรั บระบบแรงสูง ต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนชนิดที่ เหมาะสมกับลักษณะการติดตั้งโดยจะต้ องทําป้ายระบุแนวของสายใต้ ดินและบอกความลึกของ สายบนสุด ป้ายต้ องเห็นได้ ชัดเจน ระยะห่างระหว่างป้ายไม่เกิน 50 เมตร และต้ องมีแผนผัง แสดงแนวสายใต้ ดนิ เก็บรักษาไว้ พร้ อมที่จะตรวจสอบได้

3.5 บริภณ ั ฑ์ ประธานหรือเมนสวิตช์ (Service Equipment) อาคารหรื อสิ่งปลูกสร้ างต้ องติดตั้งบริ ภณ ั ฑ์ประธานเพื่อปลดวงจรทุกสายเส้ นไฟออกจากตัวนํา ประธาน ทั้งนี ้บริ ภณ ั ฑ์ประธานประกอบด้ วยเครื่ องปลดวงจร (disconnecting means) และ เครื่ องป้องกันกระแสเกิน (overcurrent protective device) ซึง่ อาจประกอบเป็ นชุดเดียวกันหรื อ เป็ นตัวเดียวกันก็ได้ ตอน ก. สําหรั บระบบแรงตํา่ อาคารหรื อสิง่ ปลูกสร้ างที่ต้องรับไฟฟ้าแรงตํ่าจากการไฟฟ้าฯ ต้ องติดตั้งบริ ภณ ั ฑ์ประธานแรงตํ่า หรื อแผงสวิตช์ แรงตํ่า หลังเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้า เพื่อปลดวงจรทุกสายเส้ นไฟออกจากตัวนํ า ประธาน และมีการป้องกันกระแสเกินสําหรับระบบจ่ายไฟฟ้าของผู้ใช้ ไฟฟ้า ทั้งนี ้จะต้ องติดตั ้งใน ตําแหน่งที่เข้ าถึงได้ โดยสะดวกและมีลกั ษณะตามรายละเอียดและข้ อกําหนดการติดตั้งดังนี ้ 3.5.1 เครื่ องปลดวงจรของบริภณ ั ฑ์ ประธาน รายละเอียดและข้ อกําหนดการติดตั้งมีดงั นี ้ 3.5.1.1 เครื่ องปลดวงจรชนิดหนึ่งเฟสที่มีขนาดตังแต่ ้ 50 แอมแปร์ ขึ ้นไป และชนิดสามเฟส ทุกขนาดต้ องเป็ นชนิดสวิตช์สําหรับตัดโหลด (load-break) ขนาดที่ตํ่ากว่าที่กําหนดข้ างต้ นไม่ บังคับให้ เป็ นชนิดสวิตช์สําหรับตัดโหลด 3.5.1.2 เครื่ องปลดวงจรต้ องสามารถปลดวงจรทุกสายเส้ นไฟ (สายเฟส) ได้ พร้ อมกัน และ ต้ องมีเครื่ องหมายแสดงให้ เห็นว่าอยู่ในตําแหน่งปลดหรื อสับ หรื อตําแหน่งที่ปลดหรื อสับนั้น สามารถเห็นได้ อย่างชัดเจน กรณีที่สายตัวนําประธานมิได้ มีการต่อลงดินตามบทที่ 4 เครื่ องปลด วงจรต้ องสามารถปลดสายเส้ นไฟและสายนิวทรัล ทุกเส้ นพร้ อมกัน 3.5.1.3 เครื่ องปลดวงจรต้ องมีพิกัดไม่น้อยกว่าพิกัดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินขนาดมาก ที่สดุ ที่ใส่ได้ หรื อปรับตั้งได้

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3.5.1.4 ไฟฟ้า

3-11

เครื่ องปลดวงจรต้ องสามารถปลดวงจรได้ สะดวกและไม่มีโอกาสสัมผัสกับส่วนที่มี

ข้ อแนะนํา บริ ภณ ั ฑ์ ประธานสําหรับอาคารควรอยู่บนชัน้ ลอยหรื อชัน้ สอง หากเป็ นอาคารชัน้ เดี ยวขอบล่าง ของบริ ภณ ั ฑ์ประธานควรอยู่สูงจากพืน้ ไม่ตํ่ากว่า 1.6 เมตร

3.5.1.5 อนุญาตให้ ติดตั้งเครื่ องปลดวงจรได้ ทั้งภายในหรื อภายนอกอาคาร แต่ต้องเป็ นชนิด ที่เหมาะสมกับสภาพการติดตั้งและควรติดตังให้ ้ อยู่ใกล้ กับแหล่งจ่ายไฟมากที่สดุ และเข้ าถึงได้ โดยสะดวก 3.5.1.6 ห้ ามให้ ต่อบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทางด้ านไฟเข้ าของเครื่ องปลดวงจร ยกเว้ น เป็ นการต่อ เพือ่ เข้าเครื ่องวัด คาปาซิ เตอร์ สัญญาณต่างๆ อุปกรณ์ ป้องกันเสิ ร์จวงจรระบบไฟฉุกเฉิ นระบบ เตื อนและป้ องกันอัคคี ภยั ระบบป้ องกันกระแสรั่วลงดิ น หรื อเพือ่ ใช้ในวงจรควบคุมของบริ ภณ ั ฑ์ ประธานทีต่ อ้ งมี ไฟเมื อ่ เครื ่องปลดวงจรอยู่ใน ตําแหน่งปลด 3.5.1.7 ในอาคารที่มีผ้ ใู ช้ พื ้นที่หลายราย ผู้ใช้ แต่ละรายต้ องสามารถเข้ าถึงเครื่ องปลดวงจร ของตนเองได้ โดยสะดวก 3.5.1.8 ต้ องจัดให้ มีที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานที่เครื่ องปลดวงจรได้ อย่างพอเพียง และต้ องมีที่ว่าง เพื่อปฏิบตั งิ านด้ านหน้ าไม่น้อยกว่าที่กําหนดในบทที่ 1 3.5.1.9 ในกรณี ที่ จํา เป็ นต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งปลดวงจรเป็ นสวิ ต ช์ สับ เปลี่ ย น (transfer switch) ด้ วย ต้ องจัดให้ มีอินเตอร์ ลอ็ ค (interlock) ป้องกันการจ่ายไฟชนกันจากหลายแหล่งจ่าย 3.5.2 เครื่ องป้องกันกระแสเกินของบริภณ ั ฑ์ ประธาน แต่ละสายเส้ นไฟที่ตอ่ ออกจากเครื่ องปลดวงจรของบริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ องมีเครื่ องป้องกันกระแส เกิน 1) การไฟฟ้านครหลวง กําหนดพิกดั สูงสุดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินไว้ ตาม ตารางที่ 3-4 2) การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค กําหนดพิกดั สูงสุดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินไว้ ตาม ตารางที่ 3-5 3.5.2.1 ไม่ อ นุญาตให้ ติ ดตั้งเครื่ องป้ องกันกระแสเกิ นในสายที่ มี การต่ อลงดิ น ยกเว้ น เครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นที เ่ ป็ นเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ซึ่งตัดวงจรทุกสายของวงจรออกพร้อมกันเมื ่อ กระแสไหลเกิ น

3-12

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย ตารางที่ 3-4 พิกัดสูงสุดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินและโหลดสูงสุดตามขนาดเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้า (สําหรั บการไฟฟ้านครหลวง)

ขนาดเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้า (แอมแปร์ )

พิกัดสูงสุดของเครื่ องป้องกันกระแสเกิน (แอมแปร์ )

โหลดสูงสุด (แอมแปร์ )

5 (15)

16

10

15 (45)

50

30

30 (100)

100

75

50 (150)

125

100

200 250 300 400 500

150 200 250 300 400

200 400

หมายเหตุ

พิ กดั ของเครื ่ องป้ องกันกระแสเกิ น มี ค่าตํ่ ากว่าที ่กําหนดในตารางได้ แต่ทงั้ นี ้ต้องไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของโหลดทีค่ ํานวณได้ ตารางที่ 3-5 ขนาดสายไฟฟ้า เซฟตีสวิตช์ คัตเอาต์ และคาร์ ทริดจ์ ฟิวส์ สาํ หรับตัวนําประธาน (สําหรั บการไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค)

ขนาด เครื่ องวัด หน่ วยไฟฟ้า (แอมแปร์ )

โหลด สูงสุด (แอมแปร์ )

5 (15) 15 (45) 30 (100)

12 36 80

ขนาดตัวนําประธาน เล็กที่สุดที่ยอมให้ ใช้ ได้ (ตร.มม.)

เซฟตีสวิตช์ หรือ โหลดเบรกสวิตช์

บริภณ ั ฑ์ ประธาน คัตเอาต์ ใช้ ร่วมกับ คาร์ ทริดจ์ ฟิวส์

เซอร์ กิต เบรกเกอร์

สาย อะลูมิเนียม

สาย ทองแดง

ขนาดสวิตช์ ตํ่าสุด (แอมแปร์ )

ขนาดฟิ วส์ สูงสุด (แอมแปร์ )

ขนาดคัท เอาต์ ต่าํ สุด (แอมแปร์ )

ขนาดฟิ วส์ สูงสุด (แอมแปร์ )

ขนาด ปรั บตัง้ สูงสุด (แอมแปร์ )

10 25 50

4 10 35

30 60 100

15 40-50 100

20 -

16 -

15-16 40-50 100

หมายเหตุ 1) สําหรับตัวนําประธานภายในอาคารให้ใช้สายทองแดง 2) ขนาดสายในตารางนีส้ ําหรับวิ ธีการเดิ นสายลอยในอากาศวัสดุฉนวนภายนอกอาคาร หากวิ ธี เดิ นสายแบบอื น่ ให้พิจารณาขนาดตัวนําประธานในบทที ่ 5 แต่ทงั้ นี ้ ขนาดตัวนําประธานต้อง รับกระแสได้ไม่นอ้ ยกว่า 1.25 เท่าของโหลดตามตาราง

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3-13

3.5.2.2 อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินต้ องป้องกันวงจรและอุปกรณ์ทั ้งหมด อนุญาตให้ ติดตั้ง ทางด้ านไฟเข้ าของเครื่ องป้องกันกระแสเกิน เฉพาะวงจรของระบบฉุกเฉินต่างๆ เช่นเครื่ องแจ้ ง เหตุเพลิงไหม้ ระบบสัญญาณป้องกันอันตราย เครื่ องสูบนํ ้าดับเพลิง นาฬิกา เครื่ องป้องกัน อันตรายจากฟ้าผ่า คาปาซิเตอร์ เครื่ องวัดฯ และวงจรควบคุม 3.5.2.3 เครื่ องป้องกันกระแสเกิน ต้ องสามารถตัดกระแสลัดวงจรค่ามากที่สดุ ที่อาจเกิดขึ ้นที่ จุดต่อ ไฟด้ านไฟออกของเครื่ อ งป้ องกันกระแสเกิ นได้ โดยคุณสมบัติยังคงเดิม ทั้ง นี ค้ ่าพิกัด กระแสลัดวงจรไม่ตํ่ากว่า 10 กิโลแอมแปร์ ยกเว้ น ในบางพืน้ ทีท่ ีก่ ารไฟฟ้าฯ กํ าหนดเป็ นกรณี พิ เศษ 3.5.2.4 การป้องกันกระแสเกิน ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 3.3 สําหรับข้ อที่นํามาใช้ ได้ ด้ วย 3.5.2.5 อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องป้องกันกระแสเกินที่มีคณ ุ สมบัติตามข้ อ 3.5.1 ทําหน้ าที่เป็ น เครื่ องปลดวงจรได้ 3.5.2.6 กรณีระบบที่นิวทรัลของระบบวาย (wye) ต่อลงดินโดยตรง บริ ภณ ั ฑ์ประธานแรงตํ่าที่ มีขนาดตั ้งแต่ 1,000 แอมแปร์ ขึ ้นไป ต้ องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ ระบบป้องกันกระแสรั่ วลงดินต้ องมีการทดสอบการทํางานเมื่ อติดตั้งครั้งแรก ณ ที่ติดตั้งโดย ทดสอบตามคําแนะนําที่ให้ มากับบริ ภัณฑ์ ผลการทดสอบนี ้ต้ องบันทึกเป็ นลายลักษณ์ อักษร เพื่อแจ้ งให้ เจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอํานาจตรวจสอบทราบ ข้ อยกเว้ นที่ 1 ข้ อ บัง คับ ตามข้ อ นี ้ไ ม่ ใ ช้ กับ เครื ่ อ งปลดวงจรประธานของกระบวนการทาง อุตสาหกรรมแบบต่อเนื ่อง ซึ่ งหากมี การหยุดทํ างานอย่างกะทันหันจะทํ าให้ เกิ ดความเสียหายมาก ข้ อยกเว้ นที่ 2 ข้ อบังคับตามข้ อนี ้ไม่ใช้ กบั เครื่ องสูบนํ ้าดับเพลิง

ตอน ข. สําหรั บระบบแรงสูง อาคารหรื อสิ่งปลูกสร้ างที่ต้องรับไฟฟ้าแรงสูงจากการไฟฟ้าฯ ต้ องติดตั้งบริ ภณ ั ฑ์ประธานแรงสูง หรื อแผงเมนสวิตช์แรงสูง หลังเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าเพื่อปลดวงจรทุกสายเส้ นไฟออกจากตัวนํา ประธานแรงสูง และต้ องมีการป้องกันระบบไฟฟ้าและบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าแรงสูงอื่นๆ ของผู้ใช้ ไฟฟ้า โดยจะต้ องติดตั้งในตําแหน่งที่เข้ าถึงได้ โดยสะดวก และในบริ เวณใกล้ กบั หม้ อแปลงหรื อบริ ภณ ั ฑ์ แรงสูงอื่นๆ ในระยะที่มองเห็นกันได้

3-14

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

กรณี ที่ ต้ อ งรั บ ไฟฟ้ าแรงสูง ในพื น้ ที่ ป ระกาศเป็ นระบบสายป้ อนใต้ ดิ น ของการไฟฟ้ าฯ จะต้ องจัดเตรี ยมสถานที่สําหรับติดตังเครื ้ ่ องวัดหน่วยไฟฟ้าและอุปกรณ์ป้องกันแรงสูงของ การไฟฟ้าโดยสถานที่ ต้องอยู่ในตําแหน่งที่ เจ้ าหน้ าที่ ของการไฟฟ้าสามารถเข้ าออกได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง และสามารถขนย้ ายอุปกรณ์ไฟฟ้าได้ สะดวก ทั้งนี ้ต้ องมีลกั ษณะตามรายละเอียดและข้ อกําหนดการติดตังดั ้ งนี ้ 3.5.3

สวิตช์ แยกวงจร (Isolating Switches)

ต้ องติดตั้งสวิตช์ แยกวงจรทางด้ านไฟเข้ าของเครื่ องปลดวงจรด้ วย เมื่อใช้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ทํา หน้ าที่เป็ นเครื่ องปลดวงจรของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน ยกเว้ น สําหรับสวิ ตช์ เกี ยร์ ทีใ่ ช้ก๊าซเป็ นฉนวน (gas-insulated switchgear) ไม่บงั คับให้ติดตัง้ สวิ ตช์ แยกวงจรทางด้านไฟเข้า สวิตช์แยกวงจรต้ องมีรายละเอียดตามข้ อ 3.5.3.1 ถึงข้ อ 3.5.3.3 3.5.3.1 สวิตช์ แยกวงจรต้ องมีอินเตอร์ ล็อกให้ สบั -ปลดได้ เฉพาะเมื่อบริ ภัณฑ์ ประธานอยู่ใน ตําแหน่งปลด และต้ องมีป้ายเตือนที่เห็นได้ ชัดเจนไม่ให้ สบั -ปลดขณะบริ ภัณฑ์ประธาน อยู่ใน ตําแหน่งสับ 3.5.3.2 ทางด้ านโหลดของสวิตช์แยกวงจรต้ องมีอุปกรณ์สําหรับต่อลงดินเมื่อปลดวงจรออก จากแหล่งจ่ายไฟ 3.5.3.3 เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิดชักออก (draw-out) ถือว่ามีสวิตช์แยกวงจรอยูแ่ ล้ ว 3.5.4 เครื่ องปลดวงจรของบริภณ ั ฑ์ ประธาน 3.5.4.1 เครื่ องปลดวงจรต้ องปลดสายเส้ นไฟทั้งหมดพร้อมกันได้ และต้ องสับวงจรได้ ขณะที่ เกิดกระแสลัดวงจรค่ามากที่สดุ ที่อาจเกิดขึ ้น เมื่อติดตั้งฟิ วส์สวิตช์หรื อฟิ วส์ประกอบกัน ฟิ วส์นั้น จะต้ องมีคุณสมบัติที่สามารถตัดกระแสลัดวงจรขณะที่สบั เครื่ องปลดวงจรได้ โดยเครื่ องปลด วงจรนี ้ไม่เสียหาย 3.5.4.2 กรณีที่ใช้ ฟิวส์จํากัดกระแส (current limiting fuse) ทําหน้ าที่บงั คับให้ สวิตช์สําหรับ ตัด โหลดปลดวงจรออกทั้ง สามเฟสเมื่ อ ฟิ วส์ เ ส้ นใดเส้ น หนึ่ง ขาด พิ กัดกระแสขณะตัด วงจร (breaking current) ของสวิตช์สําหรับตัดโหลด ต้ องมีคา่ ไม่น้อยกว่า 7 เท่าของพิกดั กระแสฟิ วส์ (ตามมาตรฐาน IEC 60420) 3.5.4.3 กรณีที่เครื่ องปลดวงจรเป็ นชนิดคัตเอาต์พร้ อมฟิ วส์ (fuse cutout) ชนิดฟิ วส์ขาดตก (drop out) ติดตั้งบนเสาไฟฟ้าหรื อโครงสร้ างอื่นที่ทําหน้ าที่เช่นเดียวกับเสาไฟฟ้า ไม่บงั คับให้ ปลดวงจรทุกสายเส้ นไฟได้ พร้ อมกัน นอกจากการไฟฟ้าฯจะกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3-15

3.5.5 เครื่ องป้องกันกระแสเกิน เครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องติดตั้งและมีลกั ษณะเฉพาะ ดังนี ้ 3.5.5.1 ต้ องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสเกินในสายเส้ นไฟทุกเส้ น 3.5.5.2 เมื่อบริ ภณ ั ฑ์ประธานติดตั ้งในห้ องสวิตช์เกียร์ หรื อเป็ นตู้สวิตช์เกียร์ โลหะ เครื่ อง ป้องกันกระแสเกินและเครื่ องปลดวงจรต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้ ก) สวิต ช์นํ ้ามันชนิดไม่อตั โนมัติ คัตเอาต์ชนิด ฟิ วส์ใช้ นํา้ มันหรื อ สวิต ช์สํา หรับ ตัด โหลดชนิด ใช้ อ ากาศ (air–load-interrupter switch) ต้ องใช้ กับฟิ วส์ ความสามารถในการปลดวงจรของสวิตช์ดงั กล่าวต้ องไม่น้อยกว่าขนาดกระแส ใช้ งานต่อเนื่องของฟิวส์ ข) เซอร์ ก ิ ต เบรกเกอร์ ต้ อ งมี พ ิก ัด กระแสและพิก ัด ตัด กระแสลั ด วงจรที่ เหมาะสมกับการใช้ งาน 3.5.5.3 เมื่อบริ ภณ ั ฑ์ประธานไม่ได้ ติดตั ้งในห้ องสวิตช์เกียร์ หรื อไม่ได้ เป็ นตู้สวิตช์เกียร์ โลหะ เครื่ องป้องกันกระแสเกินและเครื่ องปลดวงจรต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้ ก) สวิตช์ตดั กระแสโหลดชนิดใช้ อากาศ หรื อสวิตช์อื่นที่สามารถตัดกระแสโหลดที่ กํ าหนดของวงจรได้ ต้ องใช้ ร่วมกับฟิ วส์ ที่ติดอยู่บนเสาหรื อบนโครงสร้ างที่ ยกขึ ้นให้ สูงและอยู่ภายนอกอาคาร และสวิตช์ นีต้ ้ องสับ-ปลดโดยบุคคลที่มี หน้ าที่เกี่ยวข้ อง ข) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ต้องมีพิกดั กระแสและพิกดั ตัดกระแส ลัดวงจรที่เหมาะสมและ ถ้ าต้ องติดตั้งไว้ ภายนอกอาคารให้ ติดใกล้ กับจุดที่ตัวนํ าประธานเข้ าอาคาร มากที่สดุ เท่าที่จะทําได้ 3.5.5.4 ฟิ วส์ ต้ องมีพิกดั ตัดกระแสลัดวงจรไม่น้อยกว่ากระแสลัดวงจรค่ามากที่สดุ ที่อาจ เกิดขึ ้นที่จดุ ต่อสายด้ านไฟออก โดยต้ องมีคา่ พิกดั กระแสต่อเนื่องไม่เกิน 3 เท่าของขนาดกระแส ของตัวนํา 3.5.5.5 เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ต้ องเป็ นแบบปลดได้ โดยอิสระ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ทําหน้ าที่เป็ น บริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ องมีเครื่ องหมายแสดงให้ เห็นชัดเจนว่าอยู่ในตําแหน่งสับหรื อปลด และต้ องมี พิกดั ตัดกระแสลัดวงจรไม่น้อยกว่ากระแสลัดวงจรค่ามากที่สดุ ที่อาจจะเกิดขึ ้นที่จดุ ต่อสายด้ าน ไฟออก โดยต้ องมีขนาดปรับตั้งการตัดสูงสุดไม่เกิน 6 เท่าของขนาดกระแสของตัวนํา 3.5.5.6 เครื่ องป้องกันกระแสเกิน ต้ องสามารถทํางานสัมพันธ์ กับอุปกรณ์ ป้องกันของการ ไฟฟ้าฯ

3-16

บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่ อย

3.5.5.7 ต้ องจัดทํา Wiring Diagram ของระบบป้องกันตั ้งแต่ด้านรับไฟฟ้า(Incoming) จนถึงด้ านจ่ายไฟออก(Outgoing)ของบริ ภณ ั ฑ์ประธานแรงสูง แผงเมนสวิตช์แรงสูง หม้ อแปลง ไฟฟ้า และบริ ภณ ั ฑ์ที่สําคัญอื่น ที่คงทนถาวรและเห็นได้ ชดั เจนติดตั้งไว้ ในห้ องที่ติดตั้งแผงสวิตช์ ทุกห้ อง

3.6 แรงดันตกสําหรั บระบบแรงตํ่า 3.6.1 กรณีรับไฟแรงตํ่าจากการไฟฟ้า แรงดันตกคิดจากเครื่ องวัดฯ จนถึงจุดใช้ ไฟจุดสุดท้ าย รวมกันต้ องไม่เกิน 5% จากระบบแรงดันที่ระบุ 3.6.2 กรณีรับไฟแรงสูงจากการไฟฟ้าแรงดันตกคิดจากบริ ภณ ั ฑ์ประธานแรงตํ่าจนถึงจุดใช้ ไฟจุดสุดท้ ายรวมกันต้ องไม่เกิน 5% จากระบบแรงดันที่ระบุ

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-1

บทที่ 4 การต่ อลงดิน ข้ อ กํ า หนดในบทนี เ้ กี่ ย วกับ การต่อลงดิน สํา หรั บ วงจรและระบบไฟฟ้ า การเลือ กขนาดสาย วิธีการติดตั้ง และค่าความต้ านทานระหว่างหลักดินกับดิน

4.1 วงจรและระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่ต้องต่ อลงดิน วงจรและระบบไฟฟ้ากระแสสลับตามที่กําหนดไว้ ในข้ อ 4.1.1 ถึง 4.1.2 ต้ องต่อลงดิน ส่วนวงจร และระบบอื่นนอกจากนี ้ อาจต่อลงดินก็ได้ 4.1.1 ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเกิน 50 โวลต์ แต่ ไม่ เกิน 1,000 โวลต์ ต้ องต่อลง ดินเมื่อมีสภาพตามข้ อใดข้ อหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) เป็ นระบบ 1 เฟส 2 สาย ข) เป็ นระบบ 1 เฟส 3 สาย ค) เป็ นระบบ 3 เฟส 3 สาย ง) เป็ นระบบ 3 เฟส 4 สาย 4.1.2 วงจรและระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเกิน 1,000 โวลต์ ขึ ้นไป ถ้ าจ่ายไฟให้ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดเคลื่อนที่ได้ จะต้ องต่อลงดิน แต่ถ้าจ่ายไฟให้ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าอื่นๆ อนุญาตให้ ต่อลงดินได้ แต่ต้องไม่ขดั กับข้ อกําหนดข้ ออื่นๆ ยกเว้ น ระบบที ม่ ี ตวั จ่ายแยกต่างหาก (separately derived systems) โดยเฉพาะระบบ ไฟฟ้ าที ่รั บ พลัง งานจากเครื ่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ้ า หม้ อ แปลงไฟฟ้ า คอนเวอร์ เ ตอร์ ที่มี ขดลวด ซึ่ งมี จุดประสงค์ เพือ่ จ่ายไฟให้ระบบไฟฟ้ าพิ เศษและไม่มีการต่อทางไฟฟ้ ากับ วงจรระบบอื ่น ไม่บงั คับให้ต่อลงดิ น หากต้องการต่อลงดิ นตามข้อ 4.1.1 ข้างต้น จะต้องปฏิ บตั ิ ตาม ข้อ 4.6 ด้วย

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าที่ห้ามต่ อลงดิน 4.2.1 วงจรของปั น้ จั น่ ที ่ใ ช้ ง านอยู่เ หนือ วัส ดุเ ส้ น ใยที ่อ าจลุก ไหม้ ไ ด้ ซึ ่ง อยู ่ใ นบริ เ วณ อันตราย 4.2.2 วงจรในสถานดูแลสุขภาพ (health care facility) เช่น วงจรในห้ องผ่าตัดสําหรับ โรงพยาบาล หรื อ คลินิก

4-2

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4.3 การต่ อลงดินของระบบประธาน 4.3.1 ระบบไฟฟ้าของผู้ใช้ ไฟฟ้าที่ต้องต่อลงดินตามข้ อ 4.1 จะต้ องต่อลงดินที่บริ ภัณฑ์ ประธานแต่ละชุด จุดต่อลงดินต้ องอยู่ในจุดที่เข้ าถึงสะดวกที่ปลายตัวนําประธาน หรื อบัส หรื อ ขั้วต่อที่ต่อเข้ ากับตัวนํานิวทรัลของตัวนําประธานภายในบริ ภัณฑ์ประธาน ในกรณีหม้ อแปลง ไฟฟ้าติดตั้งภายนอกอาคารจะต้ องต่อลงดินเพิ่มอีกอย่างน้ อย 1 จุด ทางด้ านไฟออกของหม้ อ แปลงไฟฟ้า ณ จุดที่ติดตั้งหม้ อแปลงหรื อจุดอื่นที่เหมาะสม ห้ ามต่อลงดินที่จดุ อื่นๆ อีกทางด้ าน ไฟออกของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน ข้ อยกเว้ นที่ 1 ถ้าอาคารนัน้ รับไฟจากตัวนํ าประธานมากกว่า 1 ชุดซึ่ งอยู่ภายในสิ่ งห่อหุ้มเดี ยวกัน หรื อ ติ ดตัง้ แยกคนละสิ่ งห่อหุ้มแต่อยู่ติดกันและต่อถึงกันทางด้านไฟออกทีจ่ ุดต่อถึงกันนีส้ ามารถ ต่อตัวนํานิ วทรัลหรื อสายทีม่ ีการต่อลงดิ นของตัวนําประธานลงหลักดิ นเพียงชุดเดียวก็ได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 ในกรณี ที่มีก ารต่ อฝาก ระหว่ างบัส บาร์ นิวทรัลกับ บัส บาร์ ต่ อ ลงดิ น ของบริ ภัณ ฑ์ ไฟฟ้ าที ่ บริ ภณ ั ฑ์ ประธานตามข้อ 4.15.6 สามารถต่อสายต่อหลักดิ นเข้ากับบัสบาร์ ต่อลงดิ นของ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าทีม่ ีการต่อฝากนัน้ ได้

4.3.2 ระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 1,000 โวลต์ ที่มีการต่อลงดินที่จดุ ใดๆ จะต้ องเดินสายที่ มีการต่อลงดินนั้นไปยังบริ ภัณฑ์ ประธานทุกชุด และต้ องต่อฝากเข้ ากับสิ่ง ห่อหุ้มของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน สายดังกล่าวจะต้ องเดินร่วมไปกับสายเส้ นไฟด้ วย

4.4 การต่ อลงดินของวงจรที่มีบริภัณฑ์ ประธานชุดเดียวจ่ ายไฟให้ อาคาร 2 หลัง หรือมากกว่ า 4.4.1 แต่ละอาคารต้ องมีหลักดินเพื่อต่อสายที่มีการต่อลงดินของวงจรและระบบไฟฟ้า กระแสสลับและเครื่ องห่อหุ้มของเครื่ องปลดวงจรลงดิน 4.4.2 อนุญาตให้ ไม่ต้องทําหลักดินของแต่ละอาคารตามข้ อ 4.4.1 ก็ได้ ถ้ ามีสภาพตามข้ อ ใดข้ อหนึง่ ต่อไปนี ้ 4.4.2.1 ในอาคารมีวงจรย่อยชุดเดียวและไม่ได้ จ่ายไฟให้ แก่บริ ภัณฑ์ ที่ต้องต่อลงดิน และ อาคารทั้งสองไม่ตอ่ ถึงกันทางไฟฟ้า 4.4.2.2 มีการเดินสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าร่ วมกับตัวนําอื่นของวงจร เพื่อไปต่อส่วนที่ไม่ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้าของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ระบบท่อโลหะภายในและโครงสร้ างของอาคาร ที่ต้องการต่อลงดิน

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-3

4.5 ตัวนําที่ต้องมีการต่ อลงดินของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ สําหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้ ภายในอาคาร สายตัวนําของระบบต้ องมีการต่อลงดิน ตัวนําที่ มีการต่อลงดินต้ องมีการกําหนด สีหรื อทําเครื่ องหมาย การต่อลงดินต้ องทําตามข้ อใดข้ อหนึ่ง ดังนี ้ ก) ระบบ 1 เฟส 2 สาย กําหนดให้ ตวั นํานิวทรัลเป็ นสายที่ตอ่ ลงดิน ข) ระบบ 1 เฟส 3 สาย กําหนดให้ ตวั นํานิวทรัลเป็ นสายที่ตอ่ ลงดิน ค) ระบบ 3 เฟส 3 สาย กําหนดให้ สายตัวนําเส้ นใดเส้ นหนึง่ ต่อลงดิน ง) ระบบ 3 เฟส 4 สาย กําหนดให้ ตวั นํานิวทรัลเป็ นสายที่ตอ่ ลงดิน

4.6 การต่ อลงดินสําหรั บระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่มีตวั จ่ ายแยกต่ างหาก ระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่มีตวั จ่ายแยกต่างหากต้ องปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดดังต่อไปนี ้ 4.6.1 ต้ องใช้ สายต่อฝากลงดิน (ที่มีขนาดตามข้ อ 4.15.6 ค) ซึ่งกําหนดขนาดจากสายเส้ น ไฟของระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก) เชื่อมต่อสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า (ของระบบที่มีตวั จ่าย แยกต่างหาก) เข้ ากับสายตัวนําที่มีการต่อลงดินของระบบไฟฟ้า การต่อฝากให้ ทําที่จดุ ใดก็ได้ ระหว่างระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหากกับเครื่ องป้องกันกระแสเกินตัวแรกเท่านั้น 4.6.2 สายต่อหลักดินที่เชื่อมต่อหลักดินเข้ ากับสายตัวนําที่มีการต่อลงดินของระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหากให้ ใช้ ขนาดตามข้ อ 4.19 ซึง่ กําหนดขนาดจากสายเส้ นไฟของระบบที่มีตวั จ่าย แยกต่างหาก 4.6.3

หลักดินต้ องเป็ นไปตามข้ อ 2.4 และต้ องอยูใ่ กล้ จดุ ต่อลงดินมากที่สดุ เท่าที่จะทําได้

4.7 การต่ อลงดินของเครื่ องห่ อหุ้มและ/หรื อช่ องเดินสายที่เป็ นโลหะของตัวนํา ประธานและของบริ ภัณฑ์ ประธาน เครื่ องห่อหุ้มและ/หรื อช่องเดินสายที่เป็ นโลหะของตัวนําประธานและของบริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ อง ต่อลงดิน

4.8 การต่ อลงดินของเครื่ องห่ อหุ้มและ/หรื อช่ องเดินสายที่เป็ นโลหะของสาย ตัวนํา เครื่ องห่อหุ้มและ/หรื อช่องเดินสายที่เป็ นโลหะของสายตัวนํา ต้ องต่อลงดิน ข้ อยกเว้ นที่ 1 เครื ่ องห่ อหุ้มและ/หรื อช่ องเดิ นสายที ่เป็ นโลหะช่ วงสัน้ ๆ ซึ่ งใช้ป้องกันความเสี ยหายทาง กายภาพทีม่ ีการต่อสายเคเบิ ลหรื อใช้จบั ยึดสาย ไม่บงั คับให้ต่อลงดิ น

4-4

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

ข้ อยกเว้ นที่ 2 เครื ่ องห่ อหุ้มและ/หรื อช่ องเดิ นสายที ่เป็ นโลหะของสายที ่ต่อจากการติ ดตัง้ เดิ มที เป็ นการ เดิ นสายแบบเปิ ดเดิ นสายบนตุ้มหรื อใช้สายที ม่ ี เปลื อกนอกไม่เป็ นโลหะไม่จําเป็ นต้องต่อลง ดิ นถ้าระยะเดิ นสายที เ่ พิ่ มมี ความยาวไม่เกิ น 8 เมตร ไม่สมั ผัสกับดิ นหรื อโลหะที ต่ ่อลงดิ น หรื อวัสดุทีเ่ ป็ นตัวนํา และมีการป้ องกันไม่ให้บคุ คลสัมผัส

4.9 การต่ อลงดินของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ หรื อชนิดที่มีการเดินสาย ถาวร บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ หรื อชนิดที่มีการเดินสายถาวร ส่วนที่เป็ นโลหะที่เปิ ดโล่งและ ไม่ได้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้าของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าดังกล่าวต้ องต่อลงดินเมื่อมีสภาพตามข้ อ ใดข้ อหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) ห่างจากพื ้นหรื อโลหะที่ต่อลงดินไม่เกิน 2.4 เมตรในแนวดิ่ง หรื อ 1.5 เมตรในแนว ระดับ และบุคคลอาจสัมผัสได้ โดยบังเอิญ ข) อยูใ่ นสถานที่เปี ยกหรื อชื ้น และไม่ได้ มีการแยกอยูต่ า่ งหาก ค) มีการสัมผัสทางไฟฟ้ากับโลหะ ง) อยูใ่ นบริ เวณอันตราย จ) รับไฟฟ้าจากสายชนิดหุ้มส่วนนํากระแสไฟฟ้าด้ วยโลหะ (metal-clad, metal-sheath) หรื อสายที่เดินในท่อสายโลหะเว้ นแต่ที่ได้ ยกเว้ นในข้ อ 4.8

4.10 การต่ อลงดินของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ทุกขนาดแรงดัน บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ทกุ ขนาดแรงดัน ส่วนที่เป็ นโลหะเปิ ดโล่งและไม่เป็ นทางเดินของ กระแสไฟฟ้า บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต่อไปนี ้ต้ องต่อลงดิน ก) โครงของแผงสวิตช์ ข) โครงของมอเตอร์ ชนิดยึดติดกับที่ ค) กล่องของเครื่ องควบคุมมอเตอร์ ยกเว้ นฝาครอบสวิตช์ ปิ ด-เปิ ดที่มีฉนวนรองด้ านใน ง) บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าของลิฟต์และปั้นจัน่ จ) บริ ภัณฑ์ ไฟฟ้ าในอู่จอดรถ โรงมหรสพ โรงถ่ ายภาพยนตร์ สถานี วิ ทยุและโทรทัศน์ ยกเว้น โคมไฟแบบแขวน ฉ) ป้ายที่ใช้ ไฟฟ้ารวมทั้งอุปกรณ์ประกอบ ช) เครื่ องฉายภาพยนตร์ ซ) เครื่ องสูบนํ ้าที่ใช้ มอเตอร์

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-5

4.11 การต่ อลงดินของบริภณ ั ฑ์ ซ่ งึ ไม่ ได้ รับกระแสไฟฟ้าโดยตรง บริ ภณ ั ฑ์ซงึ่ ไม่ได้ รับกระแสไฟฟ้าโดยตรง ส่วนที่เป็ นโลหะของบริ ภณ ั ฑ์ตอ่ ไปนี ้ต้ องต่อลงดิน ก) โครงและรางของปั น้ จัน่ ที่ใช้ ไฟฟ้า ข) โครงของตู้โดยสารลิฟต์ที่ไม่ได้ ขบั เคลื่อนด้ วยไฟฟ้าแต่มีสายไฟฟ้าติดอยู่ ค) ลวดสลิงซึง่ ใช้ ยกของด้ วยแรงคนและลวดสลิงของลิฟต์ที่ใช้ ไฟฟ้า ง) สิ่งกั้นที่เป็ นโลหะ รั้ว หรื อสิ่งห่อหุ้มของบริ ภัณฑ์ไฟฟ้าที่มีแรงดันระหว่างสายเส้ นไฟ เกิน 1,000 โวลต์ จ) โครงสร้ างโลหะที่ใช้ ตดิ ตั้งบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า

4.12 การต่ อลงดินของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าที่มีสายพร้ อมเต้ าเสียบ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่มีสายพร้ อมเต้ าเสียบ ส่วนที่เป็ นโลหะเปิ ดโล่งของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าจะต้ องต่อลง ดินถ้ ามีสภาพตามข้ อใดข้ อหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) ใช้ ในบริ เวณอันตราย ข) ใช้ แรงดันไฟฟ้าวัดเทียบกับดินเกิน 150 โวลต์ ข้ อยกเว้ นที่ 1 มอเตอร์ ทีม่ ีการกัน้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 โครงโลหะของเครื ่ องใช้ไฟฟ้ าทางความร้ อน ซึ่ งมี ฉนวนกัน้ ระหว่างโครงโลหะกับดิ นอย่าง ถาวร ข้ อยกเว้ นที่ 3 บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าที ร่ ะบุว่าเป็ นฉนวน 2 ชัน้ หรื อเที ยบเท่า ซึ่ งมี เครื ่องหมายแสดงชัดเจนว่าไม่ ต้องต่อลงดิ น

เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ใช้ ในสถานที่อยูอ่ าศัยต่อไปนี ้ ก) ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง เครื่ องปรับอากาศ ข) เครื่ องซักผ้ า เครื่ องอบผ้ า เครื่ องล้ างจาน เครื่ องสูบนํา้ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าในตู้เลี ้ยง ปลา ค) เครื่ องมือชนิดมือถือที่ทํางานด้ วยมอเตอร์ (hand-held motor-operated tools) ง) เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ทํางานด้ วยมอเตอร์ เช่น เครื่ องเล็มต้ นไม้ เครื่ องตัดหญ้ า เครื่ อง ขัดถูชนิดใช้ นํ ้า จ) ดวงโคมไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้ ยกเว้ น บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าทีร่ ะบุว่าเป็ นฉนวน 2 ชัน้ หรื อเทียบเท่า ซึ่ งมี เครื ่องหมายแสดงชัดเจนว่า ไม่ตอ้ งต่อลงดิ น 4.12.3

4-6 4.12.4

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ไม่ได้ ใช้ ในสถานที่อยูอ่ าศัย ต่อไปนี ้ ก) ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง เครื่ องปรับอากาศ ข) เครื่ องซักผ้ า เครื่ องอบผ้ า เครื่ องล้ างจาน เครื่ องสูบนํ ้า เครื่ องประมวลผลข้ อมูล เครื่ องใช้ ไฟฟ้าในตู้เลี ้ยงปลา ค) เครื่ องมือชนิดมือถือที่ทํางานด้ วยมอเตอร์ ง) เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ทํางานด้ วยมอเตอร์ เช่น เครื่ องเล็มต้ นไม้ เครื่ องตัดหญ้ าเครื่ องขัด ถูชนิดใช้ นํ ้า จ) เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่มีสายพร้ อมเต้ าเสียบใช้ ในสถานที่เปี ยกหรื อชื ้น หรื อบุคคลที่ใช้ ยืน อยูบ่ นพื ้นดินหรื อพื ้นโลหะ หรื อทํางานอยูใ่ นถังโลหะหรื อหม้ อนํ ้า ฉ) เครื่ องมือที่อาจนําไปใช้ ในที่เปี ยก หรื อ ใช้ ในบริ เวณที่นําไฟฟ้าได้ ช) ดวงโคมไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้

ข้ อยกเว้ นที่ 1

ข้ อยกเว้ นที่ 2

เครื ่ องมื อและดวงโคมไฟฟ้ าชนิ ดหยิ บยกได้ ที อ่ าจนําไปใช้ในที ่เปี ยกหรื อใช้ในบริ เวณที น่ ํ า ไฟฟ้ าได้ ไม่บงั คับให้ต่อลงดิ นถ้ารับพลังไฟฟ้ าจากหม้อแปลงนิ รภัยทีข่ ดลวดด้านไฟออกม แรงดันไฟฟ้ าไม่เกิ น 50 โวลต์ และไม่ต่อลงดิ น บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าทีร่ ะบุว่าเป็ นฉนวน 2 ชัน้ หรื อเที ยบเท่าซึ่ งมี เครื ่องหมายแสดงชัดเจนว่าไม่ ต้องต่อลงดิ น

4.13 ระยะห่ างจากตัวนําระบบล่ อฟ้า ช่องเดินสายเครื่ องห่อหุ้ม โครงโลหะ และส่วนโลหะอื่นของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ที่ไม่เป็ นทางเดินของ กระแสไฟฟ้าต้ องมีระยะห่างจากตัวนําระบบล่อฟ้าไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร หรื อต้ องต่อฝากเข้ า กับตัวนําระบบล่อฟ้า

4.14 วิธีต่อลงดิน 4.14.1 การต่อ สายดิน ของบริ ภ ณ ั ฑ์ไ ฟฟ้ าที่มีต วั จ่า ยแยกต่า งหากโดยเฉพาะ ต้ อ งปฏิบัติ ตามที่ได้ กําหนดไว้ ในข้ อ 4.6.1 การต่อสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่บริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ องปฏิบตั ิ ดังนี ้ ก) ระบบไฟฟ้าที่มีการต่อลงดิน ให้ ต่อฝากสายดินของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าเข้ ากับตัวนํ า ประธานที่มีการต่อลงดินและสายต่อหลักดิน ยกเว้ น กรณี ต่อลงดิ นของห้องชุด ในอาคารชุดให้เป็ นไปตามทีก่ ํ าหนดในบทที ่ 9 ข) ระบบไฟฟ้าที่ไม่มีการต่อลงดิน ให้ ต่อฝากสายดินของบริ ภัณฑ์ไฟฟ้าเข้ ากับสาย ต่อหลักดิน

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-7

4.14.2 ทางเดินสู่ดนิ ที่ใช้ ได้ ผลดี ทางเดินสูด่ นิ จากวงจร บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า และเครื่ องห่อหุ้มสายที่เป็ นโลหะ ต้ องมีลกั ษณะดังนี ้ ก) เป็ นชนิดติดตั้งถาวรและมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า ข) มีขนาดเพียงพอสําหรับนํากระแสลัดวงจรทุกชนิดที่อาจเกิดขึ ้นได้ อย่างปลอดภัย ค) มีอิมพีแดนซ์ตํ่าเพียงพอที่จะจํากัดแรงดันไฟฟ้าวัดเทียบกับดินไม่ให้ สงู เกินไป และ ช่วยให้ เครื่ องป้องกันกระแสเกินในวงจรทํางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4.14.3 การใช้ หลักดินร่ วมกัน ถ้ าระบบไฟฟ้ากระแสสลับมี การต่อลงดินเข้ ากับหลักดินภายในอาคารหรื อสถานที่ตามที่ได้ กําหนดไว้ ในข้ อ 4.3 และข้ อ 4.4 แล้ ว ต้ องใช้ หลักดินนันสํ ้ าหรับต่อเครื่ องห่อหุ้มสายและส่วนที่ เป็ นโลหะของบริ ภัณฑ์ไฟฟ้าลงดินด้ วย สําหรับอาคารที่รับไฟจากแหล่งจ่ายไฟแยกกันต้ องใช้ หลักดินร่วมกัน หลักดินสองหลักหรื อมากกว่าที่ตอ่ ฝากเข้ าด้ วยกันอย่างใช้ ได้ ผลดีถือว่าเป็ นหลัก ดินหลักเดียว 4.14.4 การต่ อของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าชนิดยึดติดกับที่ หรื อชนิดที่มีการเดินสายถาวร ส่วนที่เป็ นโลหะของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและไม่ได้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้าถ้ าต้ องการต่อลงดิน จะต้ องต่อโดยวิธีใดวิธีหนึง่ ต่อไปนี ้ ก) โดยใช้ สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าประเภทต่างๆ ตามที่ได้ กําหนดไว้ ในข้ อ 4.17 ข) โดยใช้สายดิ น ของบริ ภัณ ฑ์ ไฟฟ้ าเดิ น สายร่ ว มไปกั บ สายวงจรภายในท่ อ สาย เดียวกันหรื อเป็ นส่วนหนึ่งของสายเคเบิลหรื อสายอ่อน สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า อาจหุ้มฉนวนหรื อไม่ห้ ุมฉนวนก็ได้ ฉนวนหรื อเปลือกของสายดินต้ องเป็ นสีเขียว หรื อสีเขียวแถบเหลือง ข้ อยกเว้ นที่ 1 สายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าชนิ ดหุ้มฉนวนขนาดใหญ่ กว่า 10 ตร.มม. อนุญาตให้ทํา เครื ่ องหมายที ่ถาวรเพื ่อแสดงว่าเป็ นสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าที ่ปลายสายและทุกแห่ งที ่ เข้าถึงได้ การทําเครื ่องหมาย ต้องใช้วิธีหนึ่งวิ ธีใดดังต่อไปนี ้ 1.1) ปอกฉนวนหรื อเปลือกส่วนทีม่ องเห็นทัง้ หมดออก 1.2) ทําให้ฉนวนหรื อเปลือกส่วนทีม่ องเห็นเป็ นสีเขี ยว 1.3) ทําเครื ่องหมายบนฉนวนหรื อเปลื อกส่วนที ม่ องเห็นด้วยเทปพันสายหรื อแถบกาวสี เขี ยว ข้ อยกเว้ นที่ 2 ถ้าการบํารุงรักษากระทําโดยผูม้ ีหน้าทีเ่ กี ย่ วข้อง อนุญาตให้ทําเครื ่องหมายถาวรทีป่ ลายสาย และทุกแห่งที ่เข้าถึ งได้ที่ฉนวนของตัวนํ าในเคเบิ ลหลายแกนเพื อ่ แสดงว่าเป็ นสายดิ นของ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า การทําเครื ่องหมายต้องใช้วิธีหนึ่งวิ ธีใดดังต่อไปนี ้ 2.1) ปอกฉนวนหรื อเปลือกส่วนทีม่ องเห็นทัง้ หมดออก

4-8

บทที่ 4 การต่ อลงดิน 2.2) ทําให้ฉนวนหรื อเปลือกส่วนทีม่ องเห็นเป็ นสีเขี ยว 2.3) ทํ าเครื ่องหมายบนฉนวนหรื อเปลื อกส่วนที ม่ องเห็นด้วยเทปพันสายหรื อแถบกาวสี เขี ยว

4.14.5 บริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าที่ถือว่ ามีการต่ อลงดินอย่ างใช้ ได้ ผลดี ส่วนที่เป็ นโลหะของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าซึ่งไม่ได้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้า เมื่อมีสภาพดังต่อไปนี ้ ถือว่ามีการต่อลงดินแล้ ว ก) บริ ภ ณ ั ฑ์ไฟฟ้ ากระแสสลับ ที่ยดึ แน่นและสัมผัสทางไฟฟ้ ากับโครงสร้ างโลหะที่ รองรับ และโครงสร้ างโลหะนั้นต่อลงดินตามที่ได้ กําหนดไว้ ในข้ อ 4.14.4 แล้ วไม่ อนุญาตให้ ใช้ โครงสร้ างโลหะของอาคารแทนสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้านั้น ข) โครงโลหะของตู้โดยสารลิฟต์ที่แขวนกับลวดสลิง ซึง่ คล้ องหรื อพันรอบเพลากว้ าน ของมอเตอร์ ลฟิ ต์ที่ตอ่ ลงดินตามที่ได้ กําหนดไว้ ในข้ อ 4.14.4 แล้ ว 4.14.6 บริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าที่มีสายพร้ อมเต้ าเสียบ ส่วนที่เป็ นโลหะของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่มีสายพร้ อมเต้ าเสียบ ซึ่งไม่ได้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้า ถ้ าต้ องต่อลงดินให้ ใช้ วิธีหนึง่ วิธีใดดังต่อไปนี ้ ก) โดยใช้ สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าเดินสายร่ วมกับสายวงจรอยู่ภายในสายเคเบิล หรื อสายอ่อ นเดียวกัน และปลายสายต่อเข้ ากับขาดินของเต้ าเสียบชนิดขาดิน ตายตัว (fixed grounding contact) สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าอาจไม่ห้ มุ ฉนวนก็ ได้ ถ้ าหุ้มฉนวนสีของฉนวนต้ องเป็ นสีเขียวหรื อสีเขียวแถบเหลือง ข) โดยใช้ สายอ่อนหรื อแถบโลหะแยกต่างหากอาจจะหุ้มฉนวนหรื อไม่ห้ มุ ฉนวนก็ได้ แต่ต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

4.15 การต่ อฝาก การต่อ ฝากมี จุด ประสงค์ เ พื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่า มี ค วามต่อ เนื่ อ งทางไฟฟ้ า และสามารถรั บ กระแส ลัดวงจรใดๆ ที่อาจเกิดขึ ้น 4.15.1 การต่ อฝากที่บริภณ ั ฑ์ ประธาน ส่วนที่เป็ นโลหะซึง่ ไม่ได้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้าของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต่อไปนี ้ต้ องมีการต่อฝาก ถึงกันอย่างใช้ ได้ ผลดี ก) ท่อสาย รางเคเบิลและเปลือกนอกที่เป็ นโลหะของตัวนําประธาน ข) เครื่ องห่อหุ้มของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน ค) ท่อสายโลหะของสายต่อหลักดิน

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-9

4.15.2 วิธีต่อฝากที่บริภณ ั ฑ์ ประธาน การต่อถึงกันทางไฟฟ้าที่บริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ องปฏิบตั ติ ามข้ อใดข้ อหนึง่ ต่อไปนี ้ ก) ต่อฝากตู้บริ ภณ ั ฑ์ประธานเข้ ากับตัวนําประธานเส้ นที่มีการต่อลงดินตามวิธีที่ได้ กําหนดไว้ ในข้ อ 4.22 ยกเว้ น บริ ภณ ั ฑ์ ประธานของห้องชุดให้เป็ นไปตามข้อ 9.1.12 ข) โดยใช้ ข้อต่อแบบมีเกลียวต่อเข้ ากับกล่องหรื อสิ่งห่อหุ้มที่ทําเกลียวในเมื่อใช้ ท่อ โลหะหนาหรื อท่อโลหะหนาปานกลางการต่อให้ ใช้ ประแจขันให้ แน่น ค) โดยใช้ ข้อต่อแบบไม่ต้องทําเกลียวต่อกับท่อให้ แน่นสนิทเมื่อใช้ ท่อโลหะบาง ง) ใช้ สายต่อฝากหรื ออุปกรณ์อื่นที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสมรอบรอยต่อที่ช่องน็อกเอ้ าต์ (knockout) เพื่อให้ การต่อลงดินมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า จ) ใช้ อปุ กรณ์อื่นๆ เช่น ใช้ บชุ ชิงแบบมีขั้วต่อสายดินพร้ อมกับล็อกนัต 4.15.3 การต่ อขัว้ ต่ อสายดินของเต้ ารั บเข้ ากับกล่ องโลหะ ต้ องใช้ สายต่อฝากต่อระหว่างขั้วต่อสายดินของเต้ ารับชนิดมีสายดินกับกล่องโลหะที่มีการต่อลง ดินไว้ แล้ ว ข้ อยกเว้ นที่ 1 กล่อ งโลหะเป็ น แบบติ ด ตัง้ บนพื น้ ผิ ว การสัม ผัส โดยตรงระหว่ า งกล่ อ งกับ เต้ารับถื อได้ว่าเป็ นการต่อลงดิ นของเต้ารับเข้ากับกล่ อง ข้อยกเว้นนี ้ไม่ ใช้กบั เต้ารับทีต่ ิ ดตัง้ บนฝาครอบทีไ่ ด้ระบุว่ามี ความต่อเนือ่ งทางไฟฟ้ าเพียงพอระหว่าง กล่องกับเต้ารับ ข้ อยกเว้ นที่ 2 อุปกรณ์ สมั ผัสหรื อก้านยื ่นซึ่ งได้ออกแบบและระบุว่าให้ใช้ร่วมกับสกรู ยึดเพื อ่ เป็ นวงจรต่อลงดิ นระหว่างเต้ารับกับกล่องชนิ ดติ ดตัง้ เสมอผิ ว ข้ อยกเว้ นที่ 3 กล่องแบบติ ดตัง้ บนพืน้ ผิ วซึ่ งได้ออกแบบและระบุว่ามี ความต่อเนื ่องลงดิ นทาง ไฟฟ้ าระหว่างกล่องกับอุปกรณ์ ข้ อยกเว้ นที่ 4 ในกรณี ทีต่ อ้ งการลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าในวงจรสายดิ น อาจใช้ เต้ารับชนิ ดที ม่ ี ฉนวนคัน่ ระหว่างขัว้ ต่อลงดิ นกับสิ่ งที ใ่ ช้ยึดหรื อติ ดตัง้ เต้ารับ โดย ต่ อขั้วต่ อสายดิ นของเต้ารับเข้ากับสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าซึ่ งเป็ นสายหุ้ม ฉนวนเดิ นร่ วมไปกับสายของวงจร สายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ านีอ้ าจเดิ นผ่านแผง ย่อยแผงเดียวหรื อหลายแผงโดยไม่ตอ้ งต่อกับตัวแผงก็ได้แล้วไปต่อเข้ากับขัว้ ต่อ สายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ประธานด้านไฟออก

4-10

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4.15.4 การต่ อฝากเครื่ องห่ อหุ้มอื่นๆ ท่อสายที่เป็ นโลหะ รางเคเบิล เครื่ องห่อหุ้ม โครงเครื่ องประกอบในการติดตั้งและส่วนที่เป็ นโลหะ อื่นๆ ที่ไม่ได้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้า ถ้ าสิง่ เหล่านี ้ทําหน้ าที่แทนสายดินต้ องมีการต่อถึงกัน ทางไฟฟ้ าและสามารถทนกระแสลัดวงจรใดๆ ที่อาจเกิดขึ ้นได้ เกลียวและหน้ าสัมผัสให้ ขูดสี หรื อสิ่งเคลือบอื่นๆที่ไม่เป็ นตัวนําไฟฟ้าออกก่อนทําการต่อ เว้ นแต่ใช้ อปุ กรณ์การต่อที่ออกแบบ ไว้ โดยเฉพาะ 4.15.5 การต่ อฝากในบริเวณอันตราย ส่ ว นที่ เ ป็ นโลหะของบริ ภั ณ ฑ์ ไ ฟฟ้ าและไม่ ไ ด้ เป็ นทางเดิ น ของกระแสไฟฟ้ าที่ ทุ ก ระดั บ แรงดัน ไฟฟ้ า ซึ่ง อยู่ใ นบริ เ วณอัน ตรายต้ อ งต่อ ถึ ง กัน ทางไฟฟ้ าตามวิ ธี ที่ ไ ด้ กํ า หนดไว้ ใ นข้ อ 4.15.2 ข) - 4.15.2 จ) โดยเลือกวิธีให้ เหมาะกับการเดินสาย 4.15.6

สายต่ อฝากลงดิน และสายต่ อฝากของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ก) สายต่อฝากลงดิน และสายต่อฝากของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต้ องเป็ นชนิดตัวนําทองแดง ข) สายต่อฝากลงดิน และสายต่อฝากของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าต้ องติดตั ้งตามที่ได้ กําหนด ไว้ ในข้ อ 4.22 เมื่อเป็ นสายต่อลงดินของวงจรหรื อบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า และข้ อ 4.24 เมื่อ เป็ นสายต่อหลักดิน ค) สายต่อฝากของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าทางด้ านไฟเข้ าของบริ ภัณฑ์ ประธานและสายต่อ ฝากลงดิน ต้ อ งมี ข นาดไม่เ ล็ก กว่า ขนาดของสายต่อ หลัก ดินที่ ไ ด้ กํ าหนดไว้ ใ น ตารางที่ 4-1 ถ้ าสายเส้ นไฟของตัวนําประธานมีขนาดใหญ่กว่าที่กําหนดไว้ ใน ตารางที่ 4-1 ให้ ใช้ สายต่อฝากขนาดไม่เล็กกว่าร้ อยละ 12.5 ของตัวนําประธาน ขนาดใหญ่ที่สดุ ถ้ าใช้ ตวั นําประธานเดินในท่อสาย หรื อเป็ นสายเคเบิลมากกว่า 1 ชุดขนานกัน แต่ละท่อสายหรื อสายเคเบิลให้ ใช้ สายต่อฝากที่มีขนาดไม่เล็กกว่าที่ ได้ กําหนดไว้ ในตารางดังกล่าวโดยคํานวณจากขนาดของสายในแต่ละท่อสายหรื อ สายเคเบิล ง) สายต่อฝากของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าด้ านไฟออกของบริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ องมีขนาดไม่ เล็กกว่าขนาดของสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ได้ กําหนดไว้ ในตารางที่ 4-2

4.16 ชนิดของสายต่ อหลักดิน สายต่อหลักดินต้ องเป็ นตัวนําทองแดง เป็ นชนิดตัวนําเดี่ยวหรื อตัวนําตีเกลียวหุ้มฉนวนและต้ อง เป็ นตัวนําเส้ นเดียวยาวตลอดโดยไม่มีการต่อ แต่ถ้าเป็ นบัสบาร์ อนุญาตให้ มีการต่อได้ ยกเว้ น จุดทดสอบตามทีก่ ํ าหนดไว้ในมาตรฐานฯ

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-11

4.17 ชนิดของสายดินของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่เดินสายร่วมไปกับสายของวงจรต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้ ก) ตัวนําทองแดง หุ้มฉนวนหรื อไม่ห้ มุ ฉนวนก็ได้ ข) เปลือกโลหะของสายเคเบิลชนิด AC, MI และ MC ค) บัสเวย์ที่ได้ ระบุให้ ใช้ แทนสายสําหรับต่อลงดินได้

4.18 วิธีการติดตัง้ สายดิน 4.18.1 สายต่อหลัก ดินหรื อเครื่ องห่อหุ้มต้ อ งยึดแน่นกับสิ่งรองรั บสายนี จ้ ะต้ องร้ อยในท่อ สายไฟฟ้าหรื อใช้ เคเบิลแบบมีเกราะเมื่อใช้ ในสถานที่ที่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ 4.18.2 เครื่ องห่อหุ้มโลหะของสายต่อหลักดินจะต้ องมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้านับตั้งแต่จุดที่ ต่อกับตู้ หรื อบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าจนถึงหลักดิน และต้ องมีการต่อเข้ ากับหลักดินอย่างมั่นคงด้ วยแค ลมป์ หรื ออุปกรณ์ อื่นๆ ที่เหมาะสม ถ้ าเครื่ องห่อหุ้มนี ้ไม่ต่อเนื่องทางไฟฟ้าให้ ใช้ สายต่อฝากที่ ปลายทั้งสองของเครื่ องห่อหุ้ม 4.18.3 สายดิน ของบริ ภัณฑ์ ไ ฟฟ้ าที่ เป็ น เกราะหุ้ม สายเคเบิ ล เปลือ กนอกโลหะของสาย เคเบิลหรื อ เป็ นสายเดินแยกในช่องเดินสายหรื อแกนๆ หนึ่งในเคเบิลต้ องติดตั้งโดยใช้ เครื่ อง ประกอบ หัว ต่อ ข้ อ ต่อ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองสํ า หรั บ การเดิ น สายวิ ธี นั้น ๆ ในการติ ด ตั้ง ต้ อ งใช้ เครื่ องมือที่เหมาะสมและต้ องขันให้ แน่น

4.19 ขนาดสายต่ อหลักดินของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ สายต่อหลักดินต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่าที่ได้ กําหนดไว้ ในตารางที่ 4-1

4.20 ขนาดสายดินของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า 4.20.1 กําหนดให้ สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า ต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่าที่ได้ กําหนดไว้ ในตาราง ที่ 4-2 4.20.2 ในกรณีเดินสายควบ ถ้ ามีสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ให้ เดินขนานกันไปในแต่ละท่อ สาย และให้ คํานวณขนาดสายดินจากพิกัดหรื อขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันกระแสเกินของ วงจรนั้น ในกรณีเดินสายหลายวงจรในท่อสายเดียวกัน แต่ใช้ สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าร่ วมกันในท่อสาย นั้น ให้ คํานวณขนาดสายดินจากพิกดั หรื อขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันกระแสเกินที่ใหญ่ที่สดุ ที่ป้องกันสายในท่อสายนั้น

4-12

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

ในกรณีเครื่ องป้องกันกระแสเกินเป็ นชนิดอัตโนมัติปลดวงจรทันที หรื อเป็ นเครื่ องป้องกันกระแส ลัดวงจรของมอเตอร์ ขนาดสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้านั้น ให้ เลือกตามพิกดั ของเครื่ องป้องกันการ ใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ ข้ อยกเว้ นที่ 1 สํ า หรับ สายพร้ อ มเต้า เสี ย บของบริ ภ ณ ั ฑ์ ไ ฟฟ้ า ซึ่ ง ใช้ไ ฟฟ้ าจากวงจรซึ่ งมี เครื ่ องป้ องกัน กระแสเกิ นที ม่ ี ขนาดไม่เกิ น 20 แอมแปร์ สายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าซึ่ งเป็ นตัวนําทองแดง และเป็ นแกนหนึ่งของสายอ่อน อาจมี ขนาดเล็กกว่าทีก่ ํ าหนดไว้ในตารางที ่ 4-2 ได้แต่ตอ้ งไม่ เล็กกว่าขนาดสายตัวนําของวงจรและไม่เล็กกว่า 1.0 ตร.มม. ข้ อยกเว้ นที่ 2 สายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า ไม่จําเป็ นต้องใหญ่กว่าสายตัวนําของวงจรของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ านัน้ ข้ อยกเว้ นที่ 3 ในกรณี ที่ใช้เกราะหุ้มสายเคเบิ ลหรื อเปลื อกหุ้มสายเคเบิ ล เป็ นสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ า ตามทีอ่ นุญาตในข้อ 4.17 ข)

4.21 จุดต่ อของสายต่ อหลักดิน (เข้ ากับหลักดิน) จุดต่อของสายต่อหลักดิ นเข้ากับหลักดิ นต้องอยู่ในทีเ่ ข้าถึงได้ โดยต้องเลื อกจุดต่อและวิ ธีการต่อ เพือ่ ให้มีความคงทนและใช้ได้ผลดี ยกเว้ น จุดต่อกับหลักดิ นทีอ่ ยู่ในคอนกรี ต หรื อฝั งอยู่ในดิ น ไม่จําเป็ นต้องอยู่ในทีซ่ ึ่ งเข้าถึงได้ ตารางที่ 4-1 ขนาดตํ่าสุดของสายต่ อหลักดินของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ขนาดตัวนําประธาน (ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.) ไม่เกิน 35 เกิน 35 แต่ไม่เกิน เกิน 50 แต่ไม่เกิน เกิน 95 แต่ไม่เกิน เกิน 185 แต่ไม่เกิน เกิน 300 แต่ไม่เกิน เกิน 500

50 95 185 300 500

ขนาดตํ่าสุดของสายต่ อหลักดิน (ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.) 10* 16 25 35 50 70 95

หมายเหตุ * แนะนําให้ติดตัง้ ในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อโลหะบาง หรื อ ท่ออโลหะ และการติ ดตัง้ สอดคล้องตามข้อ 5.4 และ 5.8

4.22 การต่ อสายดินเข้ ากับสายหรือบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า การต่อสายดินและสายต่อฝาก ต้ องใช้ วิธีเชื่อมด้ วยความร้ อน (exothermic welding) หรื อใช้ หัวต่อแบบบีบ ประกับจับสาย หรื อสิง่ อื่นที่ระบุให้ ใช้ เพื่อการนี ้ ห้ ามต่อโดยใช้ การบัดกรี เป็ นหลัก

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-13

ตารางที่ 4-2 ขนาดตํ่าสุดของสายดินของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า พิกัดหรือขนาดปรั บตัง้ ของ เครื่ องป้องกันกระแสเกินไม่ เกิน (แอมแปร์ ) 20 40 70 100 200 400 500 800 1000 1250 2000 2500 4000 6000 หมายเหตุ

ขนาดตํ่าสุดของสายดินของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า (ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.) 2.5* 4* 6 10 16 25 35 50 70 95 120 185 240 400

* หากความยาวของวงจรย่ อยเกิ น 30 เมตร ให้พิจารณาขนาดสายดิ นของ บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ า โดยคํานึงถึงค่า earth fault loop impedance ของวงจร ทีแ่ สดง ในภาคผนวก ญ

4.23 การต่ อสายดินเข้ ากับกล่ อง ในแต่ละกล่อง ถ้ ามีสายดินของบริ ภัณฑ์ไฟฟ้าอยู่หลายเส้ น แต่ละเส้ นต้ องต่อถึงกันทางไฟฟ้า เป็ นอย่างดี และต้ องจัดให้ การต่อลงดินมีความต่อเนื่องโดยไม่ขาดตอนแม้ ว่าจะถอดหรื อปลด วงจรเครื่ องประกอบ หรื อสิง่ อื่นที่รับไฟฟ้าจากกล่องนั้น 4.23.1 กล่ องโลหะ ต้ องต่อสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่มีอยู่ในกล่องโลหะ ซึ่งอาจเป็ นสายเดียวหรื อหลายสายเข้ า กับกล่องโลหะ โดยต่อที่สลักเกลียวสายดิน (grounding screw) ซึ่งห้ ามใช้ งานหน้ าที่อื่น หรื อ ต่อโดยใช้ อปุ กรณ์ที่ได้ ระบุให้ ใช้ สําหรับการต่อลงดิน

4-14

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4.23.2 กล่ องอโลหะ สายดินของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าที่อยู่ในกล่องอโลหะต้ องต่อเข้ ากับขั ้วต่อสายดินของเต้ าเสียบหรื อ อุปกรณ์ประกอบที่ตดิ ตั้งไว้ ในกล่องนี ้

4.24 วิธีการต่ อสายต่ อหลักดิน (เข้ ากับหลักดิน) การต่อสายต่อหลักดินเข้ ากับหลักดินต้ องใช้ วิธีเชื่อมด้ วยความร้ อน (exothermic welding) หู สาย หัวต่อแบบบีบอัด ประกับต่อสาย หรื อสิ่งอื่นที่ระบุให้ ใช้ เพื่อการนี ้ ห้ ามต่อโดยใช้ การบัดกรี เป็ นหลัก อุปกรณ์ที่ใช้ ต่อต้ องเหมาะสมกับวัสดุที่ใช้ ทําหลักดินและสายต่อหลักดิน ห้ ามต่อสาย ต่อหลักดินมากกว่า 1 เส้ นเข้ ากับหลักดิน นอกจากอุปกรณ์ที่ใช้ ในการต่อเป็ นชนิดที่ออกแบบมา ให้ ตอ่ สายได้ มากกว่า 1 เส้ น

4.25 การป้องกันการยึดติด (สายต่ อหลักดินและสายดิน) ประกับสายต่อหลักดินและสายดินหรื อสิ่งต่ออื่นๆ ต้ องเป็ นชนิดใช้ งานได้ ทวั่ ไปโดยไม่ต้องมีการ ป้องกัน หรื อมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพด้ วยวิธีหนึง่ วิธีใดดังต่อไปนี ้ ก) ติดตั้งในที่ซงึ่ จะไม่เกิดความเสียหายทางกายภาพ ข) ใช้ โลหะ ไม้ หรื อสิง่ ครอบอย่างอื่น เป็ นเครื่ องห่อหุ้ม

4.26 ความสะอาดของผิวของสิ่งที่จะต่ อลงดิน เกลียวและหน้ าสัมผัสของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าที่จะต่อลงดิน ต้ องขูดสิ่งเคลือบที่ไม่เป็ นตัวนําเช่น สี หรื อแลกเกอร์ ออก เพื่อให้ เป็ นที่แน่ใจว่ามีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าอย่างดี

4.27 ความต้ านทานการต่ อลงดิน (Resistance to Ground) ค่าความต้ านทานการต่อลงดินต้ องไม่เกิน 5 โอห์ม ยกเว้ น พื น้ ที ่ที่ยากในการปฏิ บตั ิ และการไฟฟ้าฯ เห็นชอบ ยอมให้ค่าความต้านทานของหลัก ดิ นกับดิ นต้องไม่เกิ น 25 โอห์ม หากทําการวัดแล้วยังมี ค่าเกิ น ให้ปักหลักดิ นเพิ่ มอี ก 1 แท่ง

4.28 การต่ อลงดินของเครื่องมือวัด มิเตอร์ และรีเลย์ 4.28.1 วงจรหม้ อแปลงของเครื่ องวัด วงจรด้ านทุตยิ ภูมิหม้ อแปลงกระแสและหม้ อแปลงแรงดันของเครื่ องวัดต้ องต่อลงดิน เมื่อขดลวด ด้ านปฐมภูมิต่อเข้ ากับระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินตั ้งแต่ 220 โวลต์ขึ ้นไป หรื อเมื่อ หม้ อแปลงเครื่ องวัดติดตั้งอยูบ่ นแผงสวิตช์โดยไม่ต้องคํานึงถึงขนาดแรงดันไฟฟ้า

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

4-15

ยกเว้ น วงจรไฟฟ้ าที ด่ า้ นปฐมภูมิ ห ม้อ แปลงของเครื ่อ งวัด ต่อ เข้า กับ ระบบไฟฟ้ าที ่ มี แรงดันไฟฟ้ าเที ยบกับดิ นตํ่ากว่า 600 โวลต์ ซึ่ งไม่มีส่วนทีม่ ี ไฟฟ้ าและเปิ ดโล่ง หากมี ส่วนที ่มีไฟฟ้ าและเปิ ดโล่งต้องติ ดตัง้ ในพื ้นที ่หรื อบริ เวณที ่เข้าถึ งได้เฉพาะบุคคลที ่มี หน้าทีเ่ กี ่ยวข้องเท่านัน้ 4.28.2 เปลือกหุ้มหม้ อแปลงเครื่ องวัด เปลือกหุ้มหม้ อแปลงเครื่ องวัดต้ องต่อลงดินถ้ าบุคคลทัว่ ไปเข้ าถึงได้ 4.28.3 เปลื อ กหุ้ มเครื่ องมื อ วั ด มิ เ ตอร์ และรี เ ลย์ ที่ ใ ช้ งานกั บ ระบบไฟฟ้ าที่ มี แรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินตํ่ากว่ า 600 โวลต์ เปลือกหุ้มเครื่ องมือวัด มิเตอร์ และรี เลย์ ที่ใช้ งานกับระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินตํ่า กว่า 600 โวลต์ ต้ องต่อลงดินตามข้ อใดข้ อหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) เครื่ องมือวัด มิเตอร์ และรี เลย์ ที่ไม่ได้ ติดตั้งอยู่บนแผงสวิตช์ เมื่อใช้ งานกับระบบ ไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินตั้งแต่ 220 โวลต์ขึ ้นไปและบุคคลทัว่ ไปเข้ าถึง ได้ เปลือกหุ้มและส่วนที่เป็ นโลหะต้ องต่อลงดิน ข) เครื่ อ งมื อ วัด มิ เ ตอร์ และรี เ ลย์ ที่ ติ ด ตั้ง อยู่บ นแผงสวิ ต ช์ ช นิ ด ด้ า นหน้ า ไม่ มี ไ ฟ (dead-front) เปลือกหุ้มต้ องต่อลงดิน ค) เครื่ องมือวัด มิเตอร์ และรี เลย์ ที่ติดตั้งอยู่บนแผงสวิตช์ชนิดด้ านหน้ ามีไฟ (livefront) และเปิ ดโล่งติดตั้งอยู่ด้านหน้ าแผงสวิตช์ เปลือกหุ้มต้ องไม่ตอ่ ลงดิน และ หากติดตั้งใช้ งานกับระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินตั้งแต่ 220 โวลต์ขึ ้น ไป ต้ องจัดหาฉนวนยางหรื อทําฉนวนที่พื ้นสําหรับรองรับพื ้นที่ปฏิบตั งิ านด้ วย 4.28.4 เปลือกหุ้มเครื่ องมือวัด, มิเตอร์ และรี เลย์ ที่ใช้ งานกับระบบไฟฟ้าที่มี แรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินตัง้ แต่ 600 โวลต์ ขึน้ ไป เปลือกหุ้มเครื่ องมือวัด มิเตอร์ และรี เลย์ ที่ใช้ งานกับระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟ-ฟ้าเทียบกับดิน ตั้งแต่ 600 โวลต์ขึ ้นไป ต้ องแยกการติดตั้ง เครื่ องมือวัด มิเตอร์ และรี เลย์ โดยการยกระดับ หรื อ ใช้ การกั้นที่เหมาะสม (หากเป็ นโลหะต้ องต่อวัสดุที่กั้นลงดิน) หรื อใช้ ฉนวนหุ้ม และเปลือกหุ้ม ต้ องไม่ตอ่ ลงดิน 4.28.5 สายดินเครื่ องมือวัด สายดินที่ใช้ ต่อลงดินด้ านทุติยภูมิหม้ อแปลงเครื่ องวัดและสายดินที่ใช้ ต่อลงดินของเปลือกหุ้ม เครื่ องมือวัดต้ องเป็ นตัวนําทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 4 ตร.มม. เปลือกหุ้มหม้ อแปลงเครื่ องวัด

4-16

บทที่ 4 การต่ อลงดิน

เครื่ องมือวัด มิเตอร์ และรี เลย์ ให้ ถือว่าได้ ตอ่ ลงดินแล้ ว เมื่อติดตั้งกับส่วนที่เป็ นโลหะที่ตอ่ ลงดิน แล้ วหรื อเมื่อติดตั้งกับแผงสวิตช์ซงึ่ ส่วนที่เป็ นโลหะได้ ตอ่ ลงดินแล้ ว

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-1

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ข้ อกําหนดในบทนี ้เกี่ยวกับการเดินสายในระบบแรงตํ่า แรงสูง วิธีการเดินสายแบบต่างๆ และ ขนาดกระแสของสายสําหรับวิธีการเดินสายต่างๆ รวมถึงกล่องสําหรับงานไฟฟ้า แผงสวิตช์ แผง ย่อ ยและสายไฟฟ้ า ซึ่งเป็ นข้ อ กํ า หนดโดยทั่ว ไป การใช้ จ ะต้ อ งดูแ ต่ละเรื่ อ งที่ เกี่ ย วข้ อ ง ประกอบด้ วย

5.1 ข้ อกําหนดการเดินสายสําหรั บระบบแรงตํ่า 5.1.1 ขอบเขต ข้ อกําหนดนี ้ครอบคลุมการเดินสายทั้งหมด ยกเว้ น การเดิ นสายที ่เป็ นส่วนประกอบภายใน ของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ า เช่น มอเตอร์ แผงควบคุมและแผงสวิ ตช์ ต่างๆ ซึ่ งประกอบสําเร็ จรู ปจาก โรงงาน การเดิ นสายนอกเหนือจากทีก่ ล่าวในบทนีอ้ นุญาตให้ทําได้แต่ตอ้ งได้รับความเห็นชอบ จากการ ไฟฟ้ าฯ ก่อน

5.1.2

การเดินสายไฟของระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันต่ างกัน

5.1.2.1 ไฟฟ้าแรงตํ่าทั้งระบบกระแสสลับและกระแสตรง อนุญาตให้ ติดตั้งสายไฟรวมกันอยู่ ภายในช่องร้ อยสายหรื อเครื่ องห่อหุ้มเดียวกันได้ ถ้ าฉนวนของสายทั้งหมดที่ติดตั้งนั้นเหมาะสม กับระบบแรงดันสูงสุดที่ใช้ 5.1.2.2 ห้ ามติดตั ้งสายไฟที่ใช้ กบั ระบบแรงตํ่ารวมกับสายไฟที่ใช้ กบั ระบบแรงสูงในท่อร้ อย สาย บ่อพักสาย หรื อเครื่ องห่อหุ้มเดียวกัน ยกเว้ น ในแผงสวิ ตช์ หรื อเครื ่องห่อหุ้มอื ่นที ไ่ ม่ได้ใช้ เพือ่ การเดิ นสาย 5.1.3 การป้องกันความเสียหายทางกายภาพของสายไฟ 5.1.3.1 การเดินสายผ่านโครงสร้ างไม้ ที่ต้องเจาะรูผ่านกลางโครงสร้ าง รูที่เจาะต้ องห่างจาก ขอบไม่น้อยกว่า 30 มม. หากรูที่เจาะห่างจากขอบน้ อยกว่า 30 มม. หรื อเดินสายในช่องบากต้ อง ป้องกันไม่ให้ ตะปูหรื อหมุดเกลียวถูกสายได้ 5.1.3.2 การเดินสายที่มีเปลือกนอกไม่เป็ นโลหะ ผ่านโครงสร้ างโลหะที่เจาะเป็ นช่องหรื อรู ต้ องมี บุชชิงยาง (bushing grommet) ยึดติดกับช่องหรื อรูเพื่อป้องกันฉนวนของสายชํารุด ยกเว้ น ช่องหรื อรู ทีม่ ี ขอบมนและผิ วเรี ยบ

5-2

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.1.3.3 การเดินสายผ่านโครงสร้ างอื่ น ต้ องมี ปลอกที่ เป็ นฉนวนไฟฟ้าสวม หรื อจัดทํ ารู ให้ เรี ยบร้ อยเพื่อป้องกันฉนวนที่ห้ มุ สายเสียหาย 5.1.4 การติดตัง้ ใต้ ดนิ การติดตั ้งใต้ ดนิ ต้ องเป็ นไปตามข้ อกําหนดดังต่อไปนี ้ 5.1.4.1 ความลึกในการติดตัง้ ใต้ ดิน สายเคเบิลฝั งดินโดยตรง ท่อร้อยสายหรื อเครื่ อง ห่อหุ้มสายไฟฟ้าประเภทอื่นที่ได้ รับการรับรองแล้ ว ความลึกในการติดตั้งต้ องเป็ นไปตามตาราง ที่ 5-1 5.1.4.2 สายเคเบิลใต้ ดินติดตั้งใต้ อาคาร ต้ องติดตั ้งอยู่ในท่อร้ อยสายและท่อร้ อยสายต้ อง ยาวเลยผนังด้ านนอกของอาคารออกไป 5.1.4.3 สายเคเบิลที่ฝังดินโดยตรง ส่วนที่โผล่ขึ ้นจากดินต้ องมีการป้องกันด้ วยเครื่ องห่อหุ้ม หรื อท่อร้ อยสายสูงจากระดับพื ้นดินไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และเครื่ องห่อหุ้มหรื อท่อร้ อยสายต้ อง ฝั งจมลงในดินตามตารางที่ 5-1 5.1.4.4 การต่อสายหรื อต่อแยกให้ เป็ นไปตามที่กําหนดไว้ ในแต่ละวิธีการเดินสาย สําหรับ สายเคเบิลใต้ ดินที่อยู่ในราง (trench) อนุญาตให้ มีการต่อสายหรื อต่อแยกสายในรางได้ แต่การ ต่อและต่อแยกต้ องทําด้ วยวิธีและใช้ วสั ดุที่ได้ รับการรับรองแล้ ว 5.1.4.5 ห้ ามใช้ วสั ดุที่มีคม หรื อเป็ นสิง่ ที่ทําให้ ผกุ ร่อน หรื อมีขนาดใหญ่ กลบสายหรื อท่อร้ อย สาย 5.1.4.6 ท่อร้ อยสายซึ่งความชื ้นสามารถเข้ าไปยังส่วนที่มีไฟฟ้าได้ ต้ องอุดที่ปลายใดปลาย หนึง่ หรื อทั้งสองปลายของท่อร้ อยสาย ตามความเหมาะสม 5.1.4.7 ปลายท่ อ ซึ่ ง ฝั ง อยู่ ใ นดิ น ณ จุ ด ที่ ส ายเคเบิ ล ออกจากท่ อ ต้ อ งมี บุ ช ชิ ง ชนิ ด อุ ด (conduit sealing bushing) อนุญาตให้ ใช้ วสั ดุอื่นที่มีคณ ุ สมบัติในทางป้องกันเทียบเท่ากับบุช ชิงชนิดอุดแทนได้ 5.1.4.8 ในกรณี ที่มีการเดินสายเคเบิลใต้ ดินเข้ าไปในอาคาร ต้ องมีการป้องกันฉนวนสาย ชํารุดเนื่องจากดินทรุด 5.1.4.9 ในการติดตั ้งบ่อพักสายหรื อท่อร้ อยสายเคเบิลใต้ ดิน ให้ พิจารณาระยะห่างระหว่าง บ่อพักสายหรื อท่อร้ อยสายเคเบิลใต้ ดนิ กับสาธารณูปโภคต่าง ๆ ด้ วย (ดูภาคผนวก ค.)

5-3

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-1 ความลึกในการติดตัง้ ใต้ ดนิ สําหรั บระบบแรงตํ่า วิธีท่ ี วิธีการเดินสาย 1 สายเคเบิลฝั งดินโดยตรง สายเคเบิลฝั งดินโดยตรงและมีแผ่นคอนกรี ตหนาไม่น้อยกว่า 2 50 มม.วางอยู่เหนือสาย 3 ท่อโลหะหนาและหนาปานกลาง ท่ออโลหะซึง่ ได้ รับการรับรองให้ ฝังดินโดยตรงได้ โดยไม่ต้องมี 4 คอนกรี ตหุ้ม (เช่น ท่อเอชดีพีอี และ ท่อพีวีซ)ี 5 ท่อใยหิน หุ้มคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 6 ท่อร้ อยสายอื่นๆ ซึง่ ได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯ

ความลึกน้ อยสุด (เมตร) 0.60 0.45 0.15 0.45 0.45 0.45

หมายเหตุ 1) ท่อร้ อยสายที ่ได้รับการรับรองให้ฝังดิ นได้โดยมี คอนกรี ตหุ้มต้องหุ้มด้วยคอนกรี ตหนาไม่ น้อยกว่า 50 มม. 2) สําหรับวิ ธีที่ 4, 5 และ 6 หากมี แผ่นคอนกรี ตหนาไม่นอ้ ยกว่า 50 มม. วางอยู่เหนือสาย ยอมให้ความลึกลดลงเหลือ 0.30 เมตร ได้ 3) ข้อกํ าหนดสําหรับความลึกนีไ้ ม่ใช้บงั คับสําหรับการติ ดตัง้ ใต้อาคารหรื อใต้พืน้ คอนกรี ตซึ่ งหนา ไม่นอ้ ยกว่า 100 มม. และยืน่ เลยออกไปจากแนวติ ดตัง้ ไม่นอ้ ยกว่า 150 มม. 4) บริ เวณทีม่ ีรถยนต์วิ่งผ่าน ความลึกต้องไม่นอ้ ยกว่า 0.60 เมตร

5.1.5

การป้องกันการผุกร่ อน

ท่อร้ อยสาย เกราะหุ้มสายเคเบิล (cable armor) เปลือกนอกของสายเคเบิล กล่อง ตู้ ข้ องอ (elbow) ข้ อต่อ (coupling) และเครื่ องประกอบการเดินท่ออื่นๆ ต้ องใช้ วสั ดุที่เหมาะสมหรื อมีการ ป้องกันที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมที่สงิ่ นั้นติดตั้งอยู่ การป้องกันการผุกร่ อนต้ องทําทั ้งภายใน และภายนอกบริ ภณ ั ฑ์ โดยการเคลือบด้ วยวัสดุที่ทนต่อการผุกร่อน เช่น สังกะสีแคดเมียม หรื อ อี นาเมล (enamel) ในกรณีที่มีการป้องกันการผุกร่ อนด้ วยอีนาเมล ไม่อนุญาตให้ ใช้ ในสถานที่ เปี ยก หรื อภายนอกอาคาร กล่องต่อสายหรื อตู้ที่ใช้ กรรมวิธีป้องกันการผุกร่ อนด้ วย สารเคลือบ อินทรี ย์ (organic coating) อนุญาตให้ ใช้ ภายนอกอาคารได้ แต่ต้องได้ รับความเห็นชอบจาก การไฟฟ้าฯ ก่อน 5.1.6 การติดตัง้ วัสดุและการจับยึด 5.1.6.1 ท่อร้ อยสาย รางเดินสาย รางเคเบิล สายเคเบิล กล่อง ตู้และเครื่ องประกอบการเดิน ท่อ ต้ องยึดกับที่ให้ มนั่ คง

5-4

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.1.6.2 ช่องเดินสาย เกราะหุ้มสายเคเบิล และเปลือกนอกของสายเคเบิลทั้งที่เป็ นโลหะและ อโลหะต้ องต่อกันอย่างต่อเนื่องทางกลระหว่าง ตู้ กล่อง เครื่ องประกอบการเดินท่อ เครื่ องห่อหุ้ม อย่า งอื่ น หรื อ จุด ต่อ ไฟฟ้ า เพื่ อ ให้ มี ค วามต่อ เนื่ อ งทางไฟฟ้ าที่ มี ป ระสิทธิ ผ ล นอกจากจะได้ อนุญาตไว้ ในส่วนอื่นของมาตรฐานนี ้ ช่องเดินสายและอุปกรณ์ ประกอบสายเคเบิลต้ องยึดอย่างมั่นคงกับกล่อง เครื่ องประกอบการ เดินท่อ ตู้ และเครื่ องห่อหุ้มอื่น 5.1.6.3 การเดินสายในท่อร้ อยสาย สําหรับแต่ละจุดที่มีการต่อสาย ปลายท่อ จุดต่อไฟฟ้า จุดต่อแยก จุดติดสวิตช์ หรื อจุดดึงสาย ต้ องติดตั้งกล่องหรื อเครื่ องประกอบการเดินท่อ ยกเว้ น การต่อสายในเครื ่องห่อหุม้ สายทีม่ ี ฝาเปิ ดออกได้ และเข้าถึงได้ภายหลังการติ ดตัง้ 5.1.6.4 สายไฟฟ้าในช่องเดินสายแนวดิง่ ต้ องมีการจับยึดที่ปลายบนของช่องเดินสายและต้ อง มีการจับยึดเป็ นช่วงๆ โดยมีระยะห่างไม่เกินตามที่กําหนดในตารางที่ 5-2 ยกเว้ น ถ้าระยะ ตามแนวดิ่ งน้อยกว่าร้อยละ 25 ของระยะทีก่ ํ าหนดในตารางที ่ 5-2 ไม่ตอ้ งใช้ทีจ่ บั ยึด ตารางที่ 5-2 ระยะห่ างสําหรั บการจับยึดสายไฟในแนวดิ่ง ขนาดของสายไฟฟ้า (ตร.มม.) ไม่เกิน 50 70-120 150-185 240 300 เกินกว่า 300

ระยะจับยึดสูงสุด (เมตร) 30 24 18 15 12 10

5.1.7 จุ ด เปลี่ ย นการเดิ น สายจากวิ ธี ใ ช้ ท่ อ ร้ อยสายเป็ นวิ ธี เ ดิ น สายในที่ โ ล่ ง หรื อ เดินสายซ่ อน ต้ อ งใช้ ก ล่อ งหรื อ เครื่ อ งประกอบการเดิ น ท่ อ เช่ น ตัว ต่อ ตัว นํ า ประธาน (service-entrance connector) ตรงปลายท่อที่มีรูเป็ นบุชชิงแยกกัน 1 รู สําหรับ 1 สาย อนุญาตให้ ใช้ บชุ ชิง แทน การใช้ กล่อง หรื อเครื่ องประกอบที่ปลายท่อ (terminal fitting) ในเมื่อปลายของท่อร้ อยสายเดิน ลํ ้าเข้ าไปในแผงสวิตช์แบบเปิ ด หรื อแผงควบคุมแบบเปิ ดได้

5-5

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.1.8 การป้องกันไม่ ให้ เกิดกระแสเหนี่ยวนําในเครื่ องห่ อหุ้มหรื อช่ องเดินสายที่เป็ น โลหะ ต้ องป้องกันไม่ให้ เกิดกระแสเหนี่ยวนําในเครื่ องห่อหุ้มหรื อช่องเดินสายที่เป็ นโลหะดังต่อไปนี ้ 5.1.8.1 เมื่อติดตั ้งสายสําหรับระบบไฟฟ้ ากระแสสลับในเครื่ องห่อหุ้มหรื อช่องเดินสายที่ เป็ นโลหะต้ องจัดทําไม่ให้ เกิดความร้ อนแก่โลหะที่ล้อมรอบเนื่องจากผลของการเหนี่ยวนํา เช่น การรวมสายเส้ นไฟทุกเส้ นและตัวนํานิวทรัล (ถ้ ามี) รวมทั้งสายดินของเครื่ องอุปกรณ์ไฟฟ้าไว้ ใน เครื่ องห่อหุ้มหรื อช่องเดินสายเดียวกัน ในการเดินสายควบและใช้ ท่อร้ อยสายหลายท่อในแต่ละ ท่อร้ อยสายต้ องมีครบทังสายเส้ ้ นไฟ ตัวนํานิวทรัลและสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า 5.1.8.2 เมื่อสายเดี่ยวของวงจรเดินผ่านโลหะที่มีคณ ุ สมบัติเป็ นสารแม่เหล็ก จะต้ องจัดให้ ผล จากการเหนี่ยวนํามีน้อยที่สดุ โดยการตัดร่ องให้ ถึงกันระหว่างรูแต่ละรู ที่ร้อยสายแต่ละเส้ น หรื อ โดยการร้ อยสายทุกเส้ นของวงจรผ่านช่องเดียวกัน 5.1.8.3 สายไฟแกนเดียวทุกเส้ นของวงจรเดียวกัน รวมทั้งสายที่มีการต่อลงดินและสายดิน ต้ องติดตั้งในท่อร้ อยสายเดียวกัน หากติดตั้งในรางเดินสาย (wireways) หรื อรางเคเบิล (cable trays) ให้ วางเป็ นกลุม่ เดียวกัน 5.1.9 การต่ อลงดิน ช่องเดินสาย กล่อง ตู้ เครื่ องประกอบ และเครื่ องห่อหุ้มที่เป็ นโลหะ ต้ องต่อลงดินตามบทที่ 4 5.1.10 จํานวนสายไฟฟ้าสูงสุดในท่ อร้ อยสาย ให้ คํานวณจากพื ้นที่หน้ าตัดรวมทั้งฉนวนและเปลือกของสายทุกเส้ นในท่อร้อยสายรวมกันคิด เป็ นร้ อยละเทียบกับพื ้นที่หน้ าตัดภายในของท่อต้ องไม่เกินที่กําหนดในตารางที่ 5-3 หมายเหตุ สําหรับสายไฟฟ้ าตามมอก.11-2553 รหัสชนิ ด 60227 IEC 01 และ NYY ชนิ ดแกนเดีย่ ว จํ านวน สูงสุดของสายไฟฟ้ าขนาดเดียวกันทีใ่ ห้ใช้ในท่อโลหะตาม มอก.770-2533 ให้ดูในภาคผนวก ฎ

ตารางที่ 5-3 พืน้ ที่หน้ าตัดสูงสุดรวมของสายไฟทุกเส้ นคิดเป็ นร้ อยละเทียบกับพืน้ ที่หน้ าตัดของท่ อ จํานวนสายในท่ อร้ อยสาย สายไฟทุกชนิด ยกเว้ น สายชนิ ดมี ปลอกตะกัว่ หุม้ สายไฟชนิดมีปลอกตะกัว่ หุ้ม

1

2

3

4

มากกว่ า 4

53

31

40

40

40

55

30

40

38

35

5-6

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.1.11 การกําหนดสีของสายไฟหุ้มฉนวน ระบบแรงตํ่า 5.1.11.1 ตัวนํานิวทรัล ใช้ สีฟ้า 5.1.11.2 สายเส้ นไฟ ต้ องใช้ สายที่มีสีต่างไปจากตัวนํานิวทรัล และตัวนําสําหรับต่อลงดิน สี ของสายไฟฟ้าในระบบไฟฟ้า 3 เฟส ให้ ใช้ สายที่มีสีฉนวนหรื อทําเครื่ องหมายเป็ นสีนํ ้าตาล ดํา และเทา สําหรับเฟส 1, 2 และ 3 ตามลําดับ 5.1.11.3 สายดินของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าใช้ สีเขียว หรื อสีเขียวแถบเหลือง หรื อเป็ นสายเปลือย ข้ อยกเว้ นที่ 1 สายไฟฟ้ าแกนเดียวทีม่ ี ขนาดตัง้ แต่ 16 ตร.มม. อาจทําเครื ่องหมายทีป่ ลาย สายแทนการกําหนดสีได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 สายออกจากเครื ่ องวัดหน่ วยไฟฟ้ าถึ งบริ ภณ ั ฑ์ ประธาน (ตัวนําประธานเข้า อาคาร)

5.1.12 ในท่อร้ อยสาย รางเคเบิล ช่องสําหรับการเดินสาย (electrical shaft) ต้ องไม่มีท่อ สําหรับงานอื่นที่ไม่ใช่งานไฟฟ้าเดินร่วมอยูด่ ้ วย เช่น ท่อไอนํ ้า ท่อประปา ท่อก๊ าซ ฯลฯ 5.1.13 การติดตั้งไฟฟ้าที่ผ่านผนัง ฉากกั ้น พื ้น เพดานหรื อช่องท่อไฟฟ้า (shaft) ต้ องมีการ ป้องกันไม่ให้ ไฟลุกลามตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภยั ของ วสท. 5.1.14 เมื่อเดินช่องร้ อยสายผ่านที่มีอุณหภูมิแตกต่างกันมาก เช่นเดินท่อร้ อยสายเข้ า-ออก ห้ องเย็นต้ องมีการป้องกันการไหลเวียนของอากาศภายในท่อ จากส่วนที่มีอณ ุ หภูมิสงู ไปส่วนที่มี อุณหภูมิเย็นกว่าเพื่อไม่ให้ เกิดความควบแน่นเป็ นหยดนํ ้าภายในท่อ 5.1.15 การเดินสายควบ อนุญาตให้ วงจรไฟฟ้าเส้ นไฟและนิวทรัล เดินควบสายได้ โดย สายไฟฟ้าต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 50 ตร.มม. สายที่เดินควบต้ องเป็ นสายชนิดเดียวกัน ขนาด เท่ากัน มีความยาวเท่ากัน และใช้ วิธีตอ่ สายเหมือนกัน หมายเหตุ การเดิ นสายควบคือการใช้สายไฟฟ้ าตัง้ แต่สองเส้นขึ้นไป โดยสายทัง้ หมดมีการ ต่ อ ที ่ป ลายสาย ทัง้ สองข้างเข้าด้วยกัน

5.2 ข้ อกําหนดการเดินสายสําหรั บระบบแรงสูง การติดตั้งในส่วนที่เกี่ยวข้ องต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.1 และข้ อเพิ่มเติมดังนี ้ 5.2.1 กล่อ ง เครื่ อ งประกอบการเดิ น ท่ อ และเครื่ อ งห่ อ หุ้ม อื่ น ที่ ค ล้ า ยกัน ต้ อ งมี ฝ าปิ ดที่ เหมาะสมเพื่อป้องกันการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้าโดยบังเอิญและป้องกันความเสียหายทางกายภาพ ต่อชิ ้นส่วนต่างๆ หรื อฉนวน

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-7

5.2.2 รั ศมีการดัดโค้ งของสายไฟฟ้า 5.2.2.1 สายไฟชนิดไม่มีปลอกคัน่ หรื อไม่มีเปลือกตะกัว่ ต้ องมีรัศมีการดัดโค้ งไม่น้อยกว่า 8 เท่าของเส้ นผ่านศูนย์กลางภายนอก 5.2.2.2 สายไฟชนิดมีปลอกคัน่ หรื อมีเปลือกตะกัว่ หุ้ม ต้ องมีรัศมีการดัดโค้ งไม่น้อยกว่า 12 เท่าของเส้ นผ่านศูนย์กลางภายนอก 5.2.3 การติดตัง้ ใต้ ดนิ สายใต้ ดินต้ องฝั งดินลึกไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร ในทุกกรณี ถ้ าเป็ นสายฝั งดินโดยตรงต้ องมีแผ่น คอนกรี ตหนาไม่น้อยกว่า 100 มม. ปิ ดทับอีกชั้นหนึ่งเหนือสายเคเบิลระหว่าง 0.30 ถึง 0.45 เมตร แผ่นคอนกรี ตต้ องกว้ างพอที่จะปิ ดคลุมออกไปจากแนวสายทั้งสองข้ าง อย่างน้ อยข้ างละ 0.15 เมตร 5.2.4

อนุญาตให้ ใช้ ตวั นําอะลูมิเนียมในระบบสายอากาศที่ตดิ ตั้งภายนอกอาคาร

5.3 การเดินสายเปิ ดหรื อเดินลอย (Open Wiring) บนวัสดุฉนวน 5.3.1 ทั่วไป การเดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวนหมายถึงวิธีการเดินสายแบบเปิ ดโล่งโดยใช้ ต้ มุ หรื อลูกถ้ วยเพื่อการ จับยึด สายที่ใช้ ต้องเป็ นสายแกนเดียวและต้ องไม่ถกู ปิ ดบังด้ วยโครงสร้ างของอาคาร 5.3.2 สําหรั บระบบแรงตํ่า 5.3.2.1 อนุญาตให้ ใช้ การเดิ นสายเปิ ดบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร ได้ เฉพาะในโรงงาน อุตสาหกรรม งานเกษตรกรรมและงานแสดงสินค้ าเท่านัน้ 5.3.2.2 ต้ องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ ตามที่กําหนดในข้ อ 5.1.3 และสายที่ ยึดเกาะไปกับผนังหรื อกําแพงต้ องอยูส่ งู จากพื ้นไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร 5.3.2.3 การเดินสายในสถานที่ชื ้น เปี ยก หรื อมีไอที่ทําให้ เกิดการผุกร่ อน ต้ องมีการป้องกัน ไม่ให้ เกิดความเสียหายแก่สายไฟฟ้า 5.3.2.4 สายที่ใช้ ต้องเป็ นสายหุ้มฉนวน ยกเว้ น สายทีจ่ ่ายไฟฟ้ าให้ปั้นจัน่ ชนิ ดเคลื อ่ นทีไ่ ด้ บนราง 5.3.2.5 การเดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร ให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในตาราง ที่ 5-4 5.3.2.6 วัสดุฉนวนสําหรับการเดินสายต้ องเป็ นชนิดที่เหมาะสมกับสภาพการใช้ งาน 5.3.2.7 การเดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวนภายนอกอาคาร ให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนดดังต่อไปนี ้

5-8

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ก) การเดินสายบนตุ้มให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 5-4 โดยมี ข้อ เพิ่มเติมคือ ถ้ าเดินผ่านในที่โล่งขนาดสายต้ องไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. และ ระยะระหว่างจุดจับยึดสายไม่เกิน 5.0 เมตร ข) การเดินสายบนลูกถ้ วยให้ เป็ นไปตามที่กําหนดใน ตารางที่ 5-5 ตารางที่ 5-4 การเดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร ระยะสูงสุดระหว่ าง การติดตัง้ จุดจับยึดสาย (เมตร) บนตุ้ม 2.5 บนลูกถ้ วย 5.0

ระยะห่ างตํ่าสุดระหว่ าง (เมตร) สายไฟฟ้ากับ สายไฟฟ้า สิ่งปลูกสร้ าง 0.10 0.025 0.15 0.05

ขนาดสายทองแดง ใหญ่ สุด (ตร.มม) 50 ไม่กําหนด

ตารางที่ 5-5 การเดินสายเปิ ดบนลูกถ้ วยภายนอกอาคาร ระยะสูงสุดระหว่ าง จุดจับยึดสาย (เมตร) ไม่เกิน 10 11-25 26-40

ระยะห่ างตํ่าสุดระหว่ าง (เมตร) สายไฟฟ้ากับ สายไฟฟ้า สิ่งปลูกสร้ าง 0.15 0.05 0.20 0.05 0.20 0.05

ขนาดสายทองแดง เล็กสุด (ตร.มม.) 2.5 4 6

5.3.2.8 สายไฟฟ้าซึ่งติดตังบนตุ ้ ้ มหรื อลูกถ้ วยจะต้ องยึดกับฉนวนที่รองรับให้ มนั่ คง ในกรณี ที่ใช้ ลวดผูกสาย (tie wire) ให้ ใช้ ชนิดที่มีฉนวนที่ทนแรงดันเทียบเท่าฉนวนของสายไฟฟ้านั ้น ใน กรณีที่อาจจะสัมผัสได้ โดยพลั้งเผลอ 5.3.2.9 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้า ให้ ใช้ คา่ กระแสตามตารางที่ 5-22, 5-28 และ 5-42 5.3.3 สําหรั บระบบแรงสูง 5.3.3.1 การติดตั้งต้ องเข้ าถึงได้ เฉพาะผู้มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเท่านั้น 5.3.3.2 ในกรณีที่ติดตังสายยึ ้ ดโยง (guy wire) จะต้ องติดตั ้งลูกถ้ วยสายยึดโยง (guy strain insulator) ในสายยึดโยง ลูกถ้ วยสายยึดโยงนี ้ต้ องอยู่สงู จากพื ้นไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และต้ องมี

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-9

คุณสมบัตทิ ั้งทางกลและทางไฟฟ้าเหมาะสมกับสภาพการใช้ งาน (มอก. 280-2529) ยกเว้ น สําหรับ แรงดัน 33 kV สายยึดโยงให้ติดตัง้ ตามมาตรฐานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 5.3.3.3 การเดินสายต้ องเป็ นไปตามที่ กําหนดในข้ อ 5.3.2.3 และข้ อ 5.3.2.6 ด้ วย 5.3.3.4 ลวดผูกสายต้ องมีขนาดเหมาะสมกับสภาพการใช้ งาน แต่ต้องไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม. ลวดผูกสายจะต้ องเป็ นชนิดที่ไม่ทําให้ เกิดการผุกร่อนเนื่องจากโลหะต่างชนิดกัน 5.3.3.5 ระยะห่างของการติดตั ้งต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 1-4 และ 1-5 ด้ วย แล้ วแต่กรณี

5.4 การเดินสายในท่ อโลหะหนา (Rigid Metal Conduit) ท่ อโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit) และท่ อโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing) 5.4.1 การใช้ งาน ท่อโลหะดังกล่าวสามารถใช้ กบั งานเดินสายทัว่ ไปทั้งในสถานที่แห้ ง ชื ้นและเปี ยก นอกจากจะได้ ระบุไว้ เฉพาะเรื่ องนั้นๆ โดยต้ องติดตั้งให้ เหมาะสมกับสภาพใช้ งาน 5.4.2 ข้ อกําหนดการติดตัง้ 5.4.2.1 ในสถานที่เปี ยก ท่อโลหะและส่วนประกอบที่ใช้ ยึดท่อโลหะ เช่นสลักเกลียว (bolt) สแตรป (strap) สกรู (screw) ฯลฯ ต้ องเป็ นชนิดที่ทนต่อการผุกร่อน 5.4.2.2 ปลายท่อที่ถกู ตัดออกต้ องลบคม เพื่อป้องกันไม่ให้ บาดฉนวนของสาย การทํา เกลียวท่อต้ องใช้ เครื่ องทําเกลียวชนิดปลายเรี ยว 5.4.2.3 ข้ อต่อ (coupling) และข้ อต่อยึด (connector) ชนิดไม่มีเกลียวต้ องต่อให้ แน่น เมื่อ ฝั งในอิฐก่อหรื อคอนกรี ตต้ องใช้ ชนิดฝั งในคอนกรี ต (concretetight) เมื่อติดตั้งในสถานที่เปี ยก ต้ องใช้ ชนิดกันฝน (raintight) 5.4.2.4 การต่อสาย ให้ ต่อได้ เฉพาะในกล่องต่อสายหรื อกล่องจุดต่อไฟฟ้าที่สามารถเปิ ด ออกได้ สะดวก ปริ มาตรของสายและฉนวน รวมทั้งหัวต่อสายเมื่อรวมกันแล้ วต้ องไม่เกินร้ อยละ 75 ของปริ มาตรภายในกล่องต่อสายหรื อกล่องจุดต่อไฟฟ้า 5.4.2.5 การติดตั้งท่อร้ อยสายเข้ ากับกล่องต่อสาย หรื อเครื่ องประกอบการเดินท่อต้ องจัดให้ มีบชุ ชิงเพื่อป้องกันไม่ให้ ฉนวนหุ้มสายชํารุด ยกเว้ น กล่อ งต่อ สายและเครื ่ อ งประกอบการ เดิ นท่อที ่ได้ออกแบบเพือ่ ป้ องกันการชํารุดของฉนวนไว้แล้ว 5.4.2.6 ห้ ามทําเกลียวกับท่อโลหะบาง 5.4.2.7 มุมดัดโค้ งระหว่างจุดดึงสายรวมกันแล้ วต้ องไม่เกิน 360 ºC

5-10

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.4.3 ห้ า มใช้ ท่อ โลหะบางฝั ง ดิน โดยตรงหรื อ ใช้ ใ นระบบไฟฟ้ าแรงสูง หรื อ ที่ซึ่ง อาจเกิ ด ความเสียหายหลังการติดตั้ง 5.4.4

ห้ ามใช้ ทอ่ โลหะขนาดเล็กกว่า 15 มม.

5.4.5

จํานวนสายสูงสุด ต้ องเป็ นไปตามตารางที่ 5-3

5.4.6

การติดตั้งใต้ ดนิ ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.1.4

5.4.7 ท่อที่ขนาดใหญ่กว่า 15 มม. หากร้ อยสายชนิดไม่มีปลอกตะกัว่ รัศมีดดั โค้ งด้ านใน ของท่อต้ องไม่น้อยกว่า 6 เท่าของขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางของท่อ ถ้ าเป็ นสายไฟฟ้าชนิดมีปลอก ตะกัว่ รัศมีดดั โค้ งด้ านในต้ องไม่น้อยกว่า 10 เท่าของเส้ นผ่านศูนย์กลางของท่อ สําหรับท่อขนาด 15 มม. หากร้ อยสายชนิดไม่มีปลอกตะกัว่ รัศมีดดั โค้ งด้ านในของท่อต้ องไม่น้อยกว่า 8 เท่าของ เส้ นผ่านศูนย์กลางของท่อ และถ้ าเป็ นสายไฟฟ้าชนิดมีปลอกตะกั่ว รัศมีดดั โค้ งด้ านในต้ องไม่ น้ อยกว่า 12 เท่า ของเส้ นผ่านศูนย์กลางของท่อ การดัดโค้ งต้ องไม่ทําให้ ทอ่ ชํารุด 5.4.8

ต้ องติดตั้งระบบท่อให้ เสร็ จก่อน จึงทําการเดินสายไฟฟ้า

5.4.9 การเดินสายด้ วยท่อโลหะไปยังบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ควรเดินด้ วยท่อโลหะโดยตลอดและ ช่วงต่อสายเข้ าบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าควรเดินด้ วยท่อโลหะอ่อน หรื อใช้ วิธีการอื่นตามที่เหมาะสม 5.4.10 5.4.11 5-37

ห้ ามใช้ ทอ่ โลหะเป็ นตัวนําสําหรับต่อลงดิน ขนาดกระแสของสายไฟฟ้า ให้ ใช้ ค่ากระแสตามตารางที่ 5-20, 5-23, 5-27, 5-29 และ

5.4.12 ท่อ ร้ อ ยสายต้ อ งยึด กับ ที่ใ ห้ มัน่ คงด้ ว ยอุป กรณ์จ บั ยึด ที่เ หมาะสม โดยมีร ะยะห่าง ระหว่างจุดจับยึดไม่เกิน 3.0 เมตร และห่างจากกล่องต่อสาย หรื ออุปกรณ์ต่างๆ ไม่เกิน 0.9 เมตร

5.5 การเดินสายในท่ อโลหะอ่ อน (Flexible Metal Conduit) 5.5.1

ลักษณะการใช้ งาน ต้ องเป็ นไปตามข้ อกําหนดทุกข้ อดังนี ้ ก) ในสถานที่แห้ ง ข) ในที่เข้ าถึงได้ และเพื่อป้ องกันสายจากความเสียหายทางกายภาพ หรื อเพื่อการ เดินซ่อนสาย ค) ให้ ใช้ สําหรับเดินเข้ าบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าหรื อกล่องต่อสายและความยาวไม่เกิน 2 เมตร

5-11

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.5.2

ห้ ามใช้ ท่อโลหะอ่ อน ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ในปล่องลิฟต์หรื อปล่องขนของ ข) ในห้ องแบตเตอรี่ ค) ในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น ง) ฝั งในดินหรื อฝั งในคอนกรี ต จ) ห้ ามใช้ ในสถานที่เปี ยก นอกจากจะใช้ สายไฟฟ้าชนิดที่เหมาะสมกับสภาพการ ติดตั้ง และในการติดตั้งท่อโลหะอ่อนต้ องป้องกันไม่ให้ นํ ้าเข้ าไปในช่องร้ อยสายที่ ท่อโลหะอ่อนนี ้ต่ออยู่

5.5.3 ห้ ามใช้ ท่อโลหะอ่อนที่มีขนาดเล็กกว่า 15 มม. มากับขัว้ หลอดไฟและมี ความยาวไม่เกิ น 1.80 เมตร

ยกเว้ น ท่อโลหะอ่อนที ป่ ระกอบ

5.5.4

จํานวนสายไฟฟ้าสูงสุดในท่อโลหะอ่อนต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 5-3

5.5.5

มุมดัดโค้ งระหว่างจุดดึงสายรวมกันแล้ วต้ องไม่เกิน 360 ºC

5.5.6

ต้ องติดตั้งระบบท่อให้ เสร็ จก่อน จึงทําการเดินสายไฟฟ้า

5.5.7

ห้ ามใช้ ทอ่ โลหะอ่อนเป็ นตัวนําสําหรับต่อลงดิน

5.5.8 ระยะห่างระหว่างอุปกรณ์จบั ยึดต้ องไม่เกิน 1.50 เมตร และห่างจากกล่องต่อสาย หรื ออุปกรณ์ตา่ งๆ ไม่เกิน 0.30 เมตร 5.5.9 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 5-20, 5-23, 5-27 และ 5-29

5.6 การเดินสายในท่ อโลหะอ่ อนกันของเหลว (Liquidtight Conduit)

Flexible

Metal

5.6.1 ลักษณะการใช้ งาน ใช้ ในที่สภาพการติดตั้ง การใช้ งานและการบํารุ งรักษาที่ต้องการความอ่อนตัวของท่อ หรื อเพื่อ ป้องกันของแข็ง ของเหลว ไอ หรื อในบริ เวณอันตราย 5.6.2

ห้ ามใช้ ท่อโลหะอ่ อนกันของเหลว ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ที่ซงึ่ อาจได้ รับความเสียหายทางกายภาพ ข) ที่ซึ่งอุณหภูมิของสายไฟฟ้าและอุณหภูมิโดยรอบสูงจนทําให้ ท่อเสียหาย

5-12

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.6.3 ที่ 5-3

จํานวนสายไฟฟ้าสูงสุดในท่อโลหะอ่อนกันของเหลวต้ องไม่เกินตามที่กําหนดในตาราง

5.6.4

มุมดัดโค้ งระหว่างจุดดึงสายรวมกันแล้ วต้ องไม่เกิน 360 ºC

5.6.5

ต้ องติดตั้งระบบท่อให้ เสร็ จก่อน จึงทําการเดินสายไฟฟ้า

5.6.6

ห้ ามใช้ ทอ่ โลหะอ่อนกันของเหลวที่มีขนาดเล็กกว่า 15 มม. หรื อใหญ่กว่า 100 มม.

5.6.7

ห้ ามใช้ ทอ่ โลหะอ่อนกันของเหลวเป็ นตัวนําสําหรับต่อลงดิน

5.6.8 ในการติดตั ้งท่อโลหะอ่อนกันของเหลว จะต้ องใช้ กบั ข้ อต่อยึดซึง่ ได้ รับการรับรองเพื่อ ใช้ กบั งานชนิดนี ้เท่านั้น 5.6.9

ระยะห่างในการจับยึดต้ องเป็ นไปตาม ข้ อ 5.5.8 ด้ วย

5.6.10

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าให้ เป็ นตามที่กําหนดในตารางที่ 5-20 และ 5-27

5.7 การเดินสายในท่ ออโลหะอ่ อน (Electrical Nonmetallic Tubing) ท่ออโลหะอ่อนในที่นี ้หมายถึง ท่อร้ อยสายที่มีลกั ษณะเป็ นลอน (corrugated) โดยท่อร้ อยสาย และเครื ่ อ งประกอบการเดิน ท่อ ต้ อ งทํ า ด้ ว ยวัส ดุที่เ หมาะสมสํ า หรับ งานทางไฟฟ้ าทนต่อ ความชื ้น สารเคมี และมีคณ ุ สมบัติต้านเปลวเพลิง (flame-retardant) ท่อร้ อยสายชนิดนี ้จะต้ อง สามารถดัดโค้ งได้ ด้วยมือ โดยไม่ต้องใช้ อุปกรณ์อื่นช่วย ยกเว้ น หากฝั งในคอนกรี ตไม่ต้องมี คุณสมบัติตา้ นเปลวเพลิ ง 5.7.1

อนุญาตให้ ใช้ ท่ออโลหะอ่ อน ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ในที่เปิ ดโล่ง (exposed) ซึง่ ไม่ได้ รับความเสียหายทางกายภาพและใช้ กบั อาคารที่ มีความสูงไม่เกิน 3 ชั้น เหนือพื ้นดิน ข) ในที่ซ่อนเช่นผนัง พื ้น หรื อเพดาน ซึ่งกั้นด้ วยแผ่นกั้นที่ทนไฟได้ ไม่น้อยกว่า 15 นาที ยกเว้ น อาคารทีต่ ิ ดตัง้ ระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิ งไม่ตอ้ งมี แผ่นกัน้ ทนไฟ ค) ในบริ เวณที่ไม่ทําให้ ทอ่ ผุกร่อน ง) ในที่ซอ่ น สถานที่แห้ งหรื อสถานที่ชื ้น ซึง่ ไม่ถกู ห้ ามใช้ ตามข้ อ 5.7.2 จ) ฝั งในคอนกรี ต โดยใช้ ทอ่ และเครื่ องประกอบการเดินท่อที่เหมาะสม

5.7.2

ห้ ามใช้ ท่ออโลหะอ่ อน ในกรณีตอ่ ไปนี ้ ก) ในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น ข) ใช้ เป็ นเครื่ องแขวนและจับยึดดวงโคม

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ค) ง) จ) ฉ) ช)

5-13

อุณหภูมิโดยรอบหรื ออุณหภูมิใช้ งานของสายเกินกว่าอุณหภูมิของท่อที่ระบุไว้ ฝั งดินโดยตรง แรงดันที่ใช้ งานเกิน 750 โวลต์ ในที่เปิ ดโล่ง ยกเว้ น ทีร่ ะบุไว้ในข้อ 5.7.1 ก) ในโรงมหรสพ

5.7.3

ห้ ามใช้ ทอ่ อโลหะอ่อนที่มีขนาดเล็กกว่า 15 มม. หรื อใหญ่กว่า 26 มม.

5.7.4

จํานวนสายไฟฟ้าในท่ออโลหะอ่อนต้ องไม่เกินที่กําหนดไว้ ในตารางที่ 5-3

5.7.5

มุมดัดโค้ งระหว่างจุดดึงสายรวมกันต้ องไม่เกิน 360 ºC

5.7.6

ต้ องมีการจับยึดท่ออโลหะอ่อนให้ แน่นทุกระยะไม่เกิน 1 เมตร

5.7.7

ต้ องติดตั ้งระบบท่อให้ เสร็ จก่อนจึงทําการเดินสายไฟฟ้า

5.7.8

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 5-20 และ 5-27

5.8 การเดินสายในท่ ออโลหะแข็ง (Rigid Nonmetallic Conduit) ท่ออโลหะแข็งและเครื่ องประกอบการเดินท่อต้ องใช้ วัสดุที่เหมาะสม ทนต่อความชืน้ สภาวะ อากาศและสารเคมี สําหรับท่อที่ใช้ เหนือดินต้ องมีคณ ุ สมบัติต้านเปลวเพลิง ทนแรงกระแทกและ แรงอัด ไม่บิดเบี ้ยวเพราะความร้ อนภายใต้ สภาวะที่อาจเกิดขึ ้นเมื่อใช้ งาน ในสถานที่ใช้ งานซึ่ง ท่อร้ อยสายมีโอกาสถูกแสงแดดโดยตรงต้ องใช้ ทอ่ ร้ อยสายชนิดทนต่อแสงแดด สําหรับท่อที่ใช้ ใต้ ดินวัสดุที่ใช้ ต้องทนความชื น้ ทนสารที่ทําให้ ผุกร่ อนและมี ความแข็งแรงเพียงพอที่จะทนแรง กระแทกได้ โดยไม่เสียหาย ถ้ าใช้ ฝังดินโดยตรงโดยไม่มีคอนกรี ตหุ้ม วัสดุที่ใช้ ต้องสามารถทน นํ ้าหนักกดที่อาจเกิดขึ ้นภายหลังการติดตั้งได้ 5.8.1

อนุญาตให้ ใช้ ท่ออโลหะแข็ง ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) เดินซ่อนในผนัง พื ้นและเพดาน ข) ในบริ เ วณที ่ทํา ให้ เ กิด การผุก ร่ อ นและเกี ่ย วข้ อ งกับ สารเคมี ถ้ า ท่อ และเครื่ อ ง ประกอบการเดินท่อได้ ออกแบบไว้ สําหรับใช้ งานในสภาพดังกล่าว ค) ในที่เปี ยกหรื อชื ้นซึง่ ได้ จดั ให้ มีการป้องกันนํ ้าเข้ าไปในท่อ ง) ในที่เปิ ดโล่ง (exposed) ซึง่ ไม่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ จ) การติดตั้งใต้ ดนิ โดยต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.1.4

5-14 5.8.2

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ห้ ามใช้ ท่ออโลหะแข็ง ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น ข) ใช้ เป็ นเครื่ องแขวนและจับยึดดวงโคม ค) อุณหภูมิโดยรอบหรื ออุณหภูมิใช้ งานของสายเกินกว่าอุณหภูมิของท่อที่ระบุไว้ ง) ในโรงมหรสพ นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น

5.8.3 เมื่อเดินท่อเข้ ากล่องหรื อส่วนประกอบอื่นๆ ต้ องจัดให้ มีบชุ ชิง หรื อมีการป้องกันไม่ให้ ฉนวนของสายชํารุด 5.8.4

ห้ ามใช้ ทอ่ อโลหะแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 15 มม.

5.8.5

จํานวนสายไฟฟ้าในท่ออโลหะแข็งต้ องไม่เกินตามที่กําหนดในตารางที่ 5-3

5.8.6

มุมดัดโค้ งระหว่างจุดดึงสายรวมกันแล้ วต้ องไม่เกิน 360 ºC

5.8.7

ต้ องติดตั ้งระบบท่อให้ เสร็ จก่อน จึงทําการเดินสายไฟฟ้า

5.8.8 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 5-20, 5-23, 5-27, 5-29 และ 5-37

5.9 การเดินสายในท่ ออโลหะอ่ อนกันของเหลว (Liquidtight Flexible Nonmetallic Conduit) ท่ออโลหะอ่อนกันของเหลว เป็ นท่อกลม ไม่มีตะเข็บ ทําด้ วยวัสดุต้านทานเปลวเพลิง และต้ อง เป็ นชนิดที่ผลิตเพื่อใช้ เป็ นท่อร้ อยสายไฟฟ้า 5.9.1

อนุญาตให้ ใช้ ท่ออโลหะอ่ อนกันของเหลว ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ติดตั้งได้ ทั้งแบบเปิ ดโล่ง หรื อเดินซ่อน ข) ใช้ ในสภาพการติดตั้ง การใช้ งาน และการบํารุ งรักษาที่ต้องการความอ่อนตัวของ ท่อหรื อป้องกันสายไฟฟ้าชํารุดจากไอ ของเหลว หรื อของแข็ง

5.9.2

ห้ ามใช้ ท่ออโลหะอ่ อนกันของเหลว ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) สถานที่ซงึ่ อาจได้ รับความเสียหายทางกายภาพ ข) ในที่ซึ่งผลรวมของอุณหภูมิซึ่งเกิดจากอุณหภูมิโดยรอบและอุณหภูมิของตัวนําเกิน กว่าอุณหภูมิวสั ดุของท่อ ค) มีความยาวเกิน 2.0 เมตร ง) ในระบบแรงสูง

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-15

5.9.3

ห้ ามใช้ ทอ่ อโลหะอ่อนกันของเหลวที่มีขนาดเล็กกว่า 15 มม. หรื อใหญ่กว่า 100 มม.

5.9.4

จํานวนสายไฟฟ้าในท่ออโลหะอ่อนกันของเหลวต้ องไม่เกินที่กําหนดในตารางที่ 5-3

5.9.5

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 5-20 และ 5-27

5.10 การเดินสายในช่ องเดินสายโลหะบนพืน้ ผิว (Surface Metal Raceway) 5.10.1

อนุญาตให้ ใช้ ช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิว ในสถานที่แห้ งเท่านั้น

5.10.2

ห้ ามใช้ ช่องเดินสายโลหะบนพืน้ ผิว ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ในสถานที่ที่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพอย่างรุนแรง ข) ในบริ เวณที่มีไอที่ทําให้ ผกุ ร่อน ค) ในปล่องขนของหรื อปล่องลิฟต์ ง) ในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น จ) ในที่ซอ่ น ยกเว้ น ใต้พืน้ ยก ฉ) ในระบบแรงสูง

5.10.3 ขนาดกระแสของสายในช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิวใช้ ตามตารางที่ 5-20 หรื อ 5-27 แล้ วแต่กรณี และต้ องใช้ ตวั คูณปรับค่าตามตารางที่ 5-8 5.10.4

ห้ ามต่อช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิวตรงจุดที่ผา่ นผนังหรื อพื ้น

5.10.5 อนุญ าตให้ ต ่อ สายได้ เ ฉพาะในส่ว นที ่ส ามารถเปิ ดออก และเข้ า ถึง ได้ ส ะดวก ตลอดเวลาเท่านั้น และพื ้นที่หน้ าตัดของสายรวมทั้งหัวต่อสาย เมื่อรวมกันแล้ วต้ องไม่เกินร้ อยละ 75 ของพื ้นที่หน้ าตัดภายในของ ช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิว ณ จุดต่อสาย 5.10.6 ห้ ามดัดโค้ งช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิวและถ้ ามีหวั สกรู อยู่ภายในช่องเดินสายโลหะ บนพื ้นผิวต้ องเรี ยบเสมอกับผิวภายในและไม่มีสว่ นคมที่อาจบาดสายได้ การติดตั้งช่องเดินสาย โลหะบนพื ้นผิว รวมทั ้งข้ องอ ข้ อต่อ และเครื่ องประกอบต้ องออกแบบให้ ชิ ้นส่วนต่างๆ มีความ ต่อเนื่องกันทั้งทางกลและทางไฟฟ้า และต้ องไม่เป็ นผลให้ สายในช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิวนั ้น ชํารุดได้ ฝาครอบและส่วนประกอบที่ไม่ใช่โลหะที่นํามาใช้ กบั ช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิว ต้ อง เป็ นชนิดที่ได้ รับการเห็นชอบเพื่อใช้ สําหรับงานนั้นแล้ ว 5.10.7

ปลายของช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิวต้ องปิ ด

5.10.8

ห้ ามใช้ ช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิวเป็ นตัวนําสําหรับต่อลงดิน

5-16

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.10.9

ช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิวต้ องมีความหนาไม่ตํ่ากว่าที่กําหนดในตารางที่ 5-6 ตารางที่ 5-6 ความหนาตํ่าสุดของช่ องเดินสายโลหะบนพืน้ ผิว (Surface Metal Raceway) ขนาดความสูง x กว้ าง (มม.) ไม่เกิน 50x100 ไม่เกิน 100x150 ไม่เกิน 100x200 ไม่เกิน 150x200 ไม่เกิน 150x300 เกิน 150x300

ความหนา (มม.) 0.8 1.2 1.2 1.4 1.4 1.6

5.11 การเดินสายในช่ องเดินสายอโลหะบนพืน้ ผิว (Surface Nonmetallic Raceway) ช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิวต้ องทําด้ วยวัสดุทนความชื ้น ทนบรรยากาศที่มีสารเคมี ต้ านเปลว เพลิง ทนแรงกระแทก ไม่บิดเบี ้ยวจากความร้อนในสภาวะการใช้ งานและสามารถใช้ งานในที่ อุณหภูมิตํ่าได้ 5.11.1

อนุญาตให้ ใช้ ช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิวในสถานที่แห้ งเท่านั้น

5.11.2

ห้ ามใช้ ช่องเดินสายอโลหะบนพืน้ ผิว ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ในที่ซอ่ น ข) ที่ซึ่งอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพได้ นอกจากเป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรอง เพื่อใช้ สําหรับงานนั้นแล้ ว ค) ในระบบแรงสูง ง) ในปล่องขนของหรื อปล่องลิฟต์ จ) ในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น ฉ) อุณหภูมิโดยรอบหรื ออุณหภูมิใช้ งานของสายเกินกว่าอุณหภูมิของช่องเดินสาย อโลหะบนพื ้นผิวที่ระบุไว้

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-17

5.11.3 ขนาดกระแสของสายในช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิว ให้ ใช้ ขนาดกระแสตามตารางที่ 5-20 และต้ องใช้ ตวั คูณปรับค่าตามตารางที่ 5-8 5.11.4

ห้ ามต่อช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิว ตรงจุดที่ผา่ นผนังหรื อพื ้น

5.11.5 การต่อสายในช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิว ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.10.5 5.11.6

ปลายของ ช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิว ต้ องปิ ด

5.12 การเดินสายในรางเดินสาย (Wireways) อนุญาตให้ ใช้ รางเดินสายได้ เฉพาะการติดตั้งในที่เปิ ดโล่งซึ่งสามารถเข้ าถึงเพื่อตรวจสอบและ บํารุ งรักษาได้ ตลอดความยาวของรางเดินสาย ห้ ามเดินในฝ้าเพดาน ถ้ าติดตั้งภายนอกอาคาร ต้ องเป็ นชนิดกันฝน (raintight) และต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะไม่เสียรู ปภายหลังการ ติดตั้งและต้ องเป็ นไปตามข้ อกําหนดดังต่อไปนี ้ 5.12.1 ห้ ามใช้ รางเดินสายในบริ เวณที่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ ในบริ เวณที่มีไอที่ ทําให้ ผกุ ร่อน หรื อในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น 5.12.2 พื น้ ที่ ห น้ าตั ด ของตั ว นํ า และฉนวนทั้ง หมดรวมกั น ต้ องไม่ เ กิ น ร้ อยละ 20 ของ พื ้นที่หน้ าตัดภายในรางเดินสาย 5.12.3 ขนาดกระแสของสายในรางเดินสายให้ ใช้ ค่ากระแสตามตารางที่ 5-20 หรื อ 5-27 กรณีตวั นํากระแส 3 เส้ น โดยไม่ต้องใช้ ตวั คูณลดกระแสเรื่ องจํานวนสายตามตารางที่ 5-8 หาก ตัวนําที่มีกระแสไหลรวมกันไม่เกิน 30 เส้ น ตัวนําวงจรสัญญาณ หรื อวงจรควบคุมที่อาจมีกระแส ไหลในช่วงระยะเวลาสั้น ไม่ถือว่าเป็ นตัวนําที่มีกระแสไหล 5.12.4 สายไฟแกนเดี่ยวของวงจรเดียวกันรวมทั้งสายดิน ต้ องวางเป็ นกลุ่มเดียวกันแล้ วมัด รวมเข้ าด้ วยกัน 5.12.5 รางเดินสายต้ องจับยึดอย่างมัน่ คง แข็งแรงทุกระยะไม่เกิน 1.50 เมตร แต่ยอมให้ จุดจับยึดห่างมากกว่า 1.50 เมตร ได้ ในกรณีที่จําเป็ น แต่ต้องไม่เกิน 3.00 เมตร 5.12.6 รางเดินสายในแนวดิ่งต้ องจับยึดอย่างมัน่ คงแข็งแรงทุกระยะไม่เกิน 4.50 เมตร ห้ ามมี จุดต่อเกิน 1 จุดในแต่ละระยะจับยึด จุดจับยึดต้ องห่างจากปลายรางเดินสายไม่เกิน 1.50 เมตร ด้ วย

5-18 5.12.7

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ห้ ามติดตั้งหรื อใช้ รางเดินสายในกรณีตอ่ ไปนี ้ ก) ต่อรางเดินสายตรงจุดที่ผา่ นผนังหรื อพื ้น ข) เป็ นตัวนําสําหรับต่อลงดิน ค) ขนาดเกิน 150¯300 มิลลิเมตร

5.12.8 อนุญาตให้ ต่อสายเฉพาะในส่วนที่สามารถเปิ ดออก และเข้ าถึงได้ สะดวกตลอดเวลา เท่านั ้น และพื ้นที่หน้ าตัดของตัวนํา และฉนวนรวมทั ้งหัวต่อสายรวมกันแล้ วต้ องไม่เกินร้ อยละ 75 ของพื ้นที่หน้ าตัดภายในของรางเดินสาย ณ จุดต่อสาย 5.12.9 ในรางเดินสายตรงตําแหน่งที่ต้องมีการดัด งอสาย เช่นปลายทาง ตําแหน่งที่มีท่อร้ อย สายเข้ า-ออกรางเดินสาย ต้ องจัดให้ มีที่ว่างสําหรับดัดงอสายอย่างเพียงพอ และมีการป้องกัน ไม่ให้ มีสว่ นคมที่อาจบาดสายได้ 5.12.10 การเดินสายในแนวดิง่ ต้ องมีการจัดยึดสายตามที่กําหนดในข้ อ 5.1.6.4 5.12.11 จุดปลายรางเดินสายต้ องปิ ด

5.13 การติดตัง้ บัสเวย์ (Busways) หรือบัสดัก (Bus Duct) 5.13.1 บัสเวย์ หรื อบัสดัก ต้ องติดตั้งในที่เปิ ดเผย มองเห็นได้ และสามารถเข้ าถึงได้ เพื่อการ ตรวจสอบและบํารุงรักษาตลอดความยาวทังหมด ้ ยกเว้ น ยอมให้บสั เวย์ ทีต่ ิ ดตัง้ หลังทีก่ ํ าบัง เช่น เหนื อฝ้ าเพดาน โดยจะต้องมี ทางเข้าถึงได้และ ต้องเป็ นไปตามข้อกํ าหนดดังต่อไปนีท้ งั้ หมด 1) ไม่มีการติ ดตัง้ เครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นอยู่ทีบ่ สั เวย์ นอกจากเครื ่องป้ องกันกระแส เกิ นสําหรับดวงโคม หรื อโหลดอื น่ ๆ เฉพาะจุด 2) ช่องว่างด้านหลังที ่กําบังที ่จะเข้าถึงได้ต้องไม่ใช้เป็ นช่องลมปรับอากาศ (airhandling) 3) บัสเวย์ตอ้ งเป็ นชนิ ดปิ ดมิ ดชิ ด ไม่มีการระบายอากาศ 4) จุดต่อระหว่างช่องและเครื ่องประกอบ ต้องเข้าถึงได้เพือ่ การบํารุงรักษา 5.13.2

ห้ ามใช้ บัสเวย์ ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) บริ เวณที่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพอย่างรุนแรง หรื อมีไอทําให้ เกิดการผุ กร่อน ข) ในปล่องขนของ หรื อปล่องลิฟต์

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-19

ค) ในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น ง) กลางแจ้ ง สถานที่ชื ้น และสถานที่เปี ยก นอกจากจะเป็ นชนิดที่ได้ ออกแบบให้ ใช้ ได้ สําหรับงานนั้นๆ 5.13.3 บัสเวย์ต้องยึดให้ มนั่ คงและแข็งแรง ระยะห่างระหว่างจุดจับยึดต้ องไม่เกิน 1.50 เมตร หรื อตามการออกแบบของผู้ผลิตและที่ปลายของบัสเวย์ต้องปิ ด 5.13.4

ในการต่อแยกบัสเวย์ต้องใช้ เครื่ องประกอบที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ

5.13.5

พิกดั เครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 3

5.13.6 การลดขนาดของบัส เวย์ ต้ อ งติ ด ตั้ง เครื่ อ งป้ องกัน กระแสเกิ น เพิ่ ม เติ ม ยกเว้ น เฉพาะในงานอุตสาหกรรม บัสเวย์ ที่เล็ กลงมี ขนาดกระแสไม่ น้อยกว่าหนึ่ งในสามของขนาด กระแสของบัสเวย์ตน้ ทาง หรื อหนึ่งในสามของขนาดปรับตัง้ ของเครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นทีอ่ ยู่ตน้ ทางของบัสเวย์ชดุ เดียวกัน และความยาวของบัสเวย์ทีเ่ ล็กลงนัน้ ไม่เกิ น 15 เมตร 5.13.7

บัสเวย์ต้องไม่ตดิ ตั้งให้ สมั ผัสกับวัสดุที่ตดิ ไฟได้ งา่ ย

5.13.8 การต่อแยกบัสเวย์ต้องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสเกินที่จดุ ต่อแยก เพื่อใช้ ป้องกันวงจร ที่ตอ่ แยกนัน้ นอกจากจะระบุไว้ เป็ นอย่างอื่นในเรื่ องนั้นๆ 5.13.9

เปลือกหุ้มที่เป็ นโลหะของบัสเวย์ต้องต่อลงดิน

5.13.10 อนุญาตให้ ใช้ เปลือกหุ้มของบัสเวย์เป็ นตัวนําสําหรับต่อลงดินได้ ออกแบบให้ ใช้ เปลือกหุ้มเป็ นตัวนําสําหรับต่อลงดิน

ถ้ าบัสเวย์นั้นได้

5.13.11 ขนาดกระแสของบัสเวย์ให้ ใช้ ตามที่กําหนดโดยผู้ผลิต คิดที่อณ ุ หภูมิโดยรอบ 40 ºC โดยผ่านการรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้

5.14 การเดินสายบนผิวหรื อเดินสายเกาะผนัง (Surface Wiring) อนุญาตให้ ใช้ ได้ กับการเดินสายแรงตํ่าภายในอาคารทัว่ ไป ยกเว้ น ในบริ เวณอันตราย (นอกจากจะระบุไว้เป็ นอย่างอื ่นในเรื ่องนัน้ ๆ) หรื อ ทีไ่ ด้ระบุว่าห้ามใช้ในเรื ่องนัน้ ๆ โดยสายไฟฟ้ าที ่ ใช้จะต้องเหมาะสมกับสภาพทีต่ ิ ดตัง้ ด้วย 5.14.1 สายไฟฟ้ าต้ อ งเป็ นชนิ ด ที่ มี เ ปลื อ กนอก การเดิน สายต้ อ งป้ องกัน ไม่ ใ ห้ ฉ นวนหรื อ เปลือกชํารุด

5-20

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.14.2 การเดินสายผ่านผนังหรื อสิ่งก่อสร้ างต้ องมีการป้องกันความเสียหายเนื่องจากฉนวน หรื อเปลือกนอกถูกบาดด้ วยสิง่ ที่แหลมคม 5.14.3 สายไฟฟ้าต้ องจับยึดให้ มนั่ คงด้ วยอุปกรณ์ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะหรื อใช้ ท่อร้ อย สายไฟฟ้าเป็ นตัวจับยึด 5.14.4

การต่อและการต่อแยกให้ ทําได้ เฉพาะในกล่องสําหรับงานไฟฟ้าเท่านั้น

5.14.5 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าให้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-21 และไม่ต้องใช้ ตวั คูณปรับค่า ขนาดกระแสตามตารางที่ 5-8 กรณีจับยึดด้ วยท่อร้ อยสาย หากความยาวท่อร้ อยสายในวงจร เกินกึ่งหนึ่งของความยาวทั้งหมดหรื อเกิน 6 เมตร ขนาดกระแสให้ ใช้ ตามการเดินสายร้ อยท่อ ตามข้ อ 5.4.11 5.14.6

การเดินสายให้ ตดิ ตั้งเรี ยงเป็ นชั้นเดียว ห้ ามติดตั้งซ้ อนกัน

5.15 การเดินสายในรางเคเบิล (Cable Trays) ครอบคลุมรางเคเบิลแบบบันไดแบบระบายอากาศ และแบบด้ านล่างทึบ 5.15.1 การใช้ งาน 5.15.1.1 วิธีการเดินสาย สายและอุปกรณ์ตอ่ ไปนี ้ อนุญาตให้ ตดิ ตั้งในรางเคเบิลได้ แต่ต้องเป็ นไปตามวิธีการที่กําหนดของ การเดินสายหรื อของอุปกรณ์นั้นๆ ก) สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ (mineral insulated cable), ชนิด MC (metal-clad cable) และ ชนิด AC (armored cable) ข) สายเคเบิลแกนเดีย วชนิดมีเปลือ กนอกทั ้งในระบบแรงสูง และแรงตํ่า และ ขนาดไม่เล็กกว่า 25 ตร.มม. ค) สายดินทุกขนาด ง) สายเคเบิลหลายแกนในระบบแรงสูงและระบบแรงตํ่าทุกขนาด จ) สายชนิดหลายแกนสําหรับควบคุมสัญญาณและไฟฟ้ากําลัง ฉ) ท่อร้ อยสายชนิดต่างๆ 5.15.1.2 ในบริ เ วณอัน ตราย ต้ อ งใช้ ส ายเฉพาะที่อ นุญ าตให้ ใ ช้ ใ นเรื่ อ งบริ เวณอันตราย เท่านั้น 5.15.1.3 ห้ ามใช้ รางเคเบิลในปล่องลิฟต์ หรื อสถานที่ที่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ 5.15.1.4 ในสถานที่ใช้ งานซึ่งสายมีโอกาสถูกแสงแดดโดยตรง ต้ องใช้ สายชนิดทนแสงแดด

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-21

5.15.1.5 ห้ า มติด ตั ้งท่อ สํา หรับ งานอื่น ที่ไ ม่ใ ช่ง านไฟฟ้ าเช่น ท่อ ไอนํา้ ท่อ ประปา ท่อแก๊ ส เป็ นต้ น อยูบ่ นรางเคเบิล 5.15.2 ข้ อกําหนดโครงสร้ างรางเคเบิล รางเคเบิลต้ องเป็ นดังนี ้ 5.15.2.1 ต้ องมีความแข็งแรงและมัน่ คง สามารถรับนํ ้าหนักสาย ทั้งหมดที่ติดตั้งและไม่มีสว่ น แหลมคมที่อาจทําให้ ฉนวนและเปลือกสายเสียหาย 5.15.2.2 มีการป้องกันการผุกร่อนอย่างพอเพียงกับสภาพการใช้ งาน 5.15.2.3 ต้ องมีผนังด้ านข้ าง และใช้ เครื่ องประกอบการติดตั้งที่เหมาะสม 5.15.2.4 ถ้ าเป็ นรางเคเบิลอโลหะ ต้ องทําด้ วยวัสดุต้านทานเปลวเพลิง 5.15.3 การติดตัง้ รางเคเบิลและสายเคเบิล 5.15.3.1 รางเคเบิลต้ องต่อเนื่องโดยตลอดทั้งทางกล และทางไฟฟ้า 5.15.3.2 สายที่ตดิ ตั้งบนรางเคเบิลเมื่อเดินแยกเข้ าช่องร้ อยสายอื่นต้ องมีการจับยึดให้ มนั่ คง 5.15.3.3 ห้ า มติดตั ้งสายเคเบิลระบบแรงตํ่าในรางเคเบิลเดียวกันกับสายเคเบิลระบบแรง สูง ยกเว้ น มี แผ่นกัน้ ทีแ่ ข็งแรงและไม่ติดไฟ 5.15.3.4 รางเคเบิล ต้ อ งติด ตั ้งในที ่เ ปิ ดเผยและเข้ า ถึง ได้ และมีที ่ว ่า งพอเพี ย งที่ จ ะ ปฏิบตั งิ านบํารุงรักษาสายเคเบิลได้ สะดวก 5.15.3.5 เมื่อใช้ สายเคเบิลแกนเดียว สายเส้ นไฟและสายนิวทรัลของแต่ละวงจร ต้ องเดิน รวมกันเป็ นกลุ่ม (ในแต่ละกลุ่มประกอบด้ วยสายเส้ นนิวทรัล 1 เส้ น และสายเส้ นไฟเฟสละ 1 เส้ น) และสายต้ องมัดเข้ าด้ วยกันเพื่อป้องกันการเกิดกระแสไม่สมดุล เนื่องจากการเหนี่ยวนํา และป้องกันสายเคเบิลเคลื่อนตัวอย่างรุนแรงเมื่อเกิดกระแสลัดวงจร 5.15.3.6 การต่อสายในรางเคเบิลต้ องทําให้ ถูกต้ องตามวิธีการต่อสาย แต่จุดต่อสายต้ องอยู่ ภายในรางเคเบิล และต้ องไม่สงู เลยขอบด้ านข้ างของรางเคเบิล 5.15.4 จํานวนสายเคเบิลระบบแรงตํ่าในรางเคเบิล สายเคเบิลที่อนุญาตให้ วางอยู่ในรางเคเบิลเดียวกันต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 5-30 ถึง 5-33 5.15.5 ขนาดกระแสของสายเคเบิลแรงตํ่าในรางเคเบิล ขนาดกระแสของสายเคเบิลแรงตํ่าในรางเคเบิล เป็ นไปตามตารางที่ 5-30 ถึง 5-33 5.15.6 จํานวนสายเคเบิลระบบแรงสูงในรางเคเบิล จํานวนสายเคเบิลต้ องไม่เกินที่กําหนดในตารางที่ 5-36

5-22

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.15.7 ขนาดกระแสของสายเคเบิลระบบแรงสูงในรางเคเบิล ขนาดกระแสของสายเคเบิล เป็ นไปตามตารางที่ 5-36 5.15.8 การเดินสายที่อนุญาต การเดินสายในรางเคเบิลให้ ทําได้ เท่าที่กําหนดไว้ ในข้ อ 5.15 นี ้เท่านั ้น 5.15.9 การต่ อลงดิน รางเคเบิลโลหะสําหรับใช้ วางสายไฟฟ้าต้ องต่อลงดิน แต่ห้ามใช้ รางเคเบิลเป็ นตัวนําต่อลงดิน

5.16 กล่ องสําหรั บงานไฟฟ้า (Box) 5.16.1 ขอบเขต ครอบคลุมการติดตั้งและการใช้ กล่องสําหรับงานไฟฟ้า เช่นกล่องสําหรับจุดต่อไฟฟ้าของสวิตช์ หรื ออุปกรณ์ กล่องต่อสาย กล่องดึงสาย กล่องแยกสายและกล่องอื่นๆ ที่ติดตั้งเพื่อวัตถุประสงค์ ในการเดินสาย 5.16.2 ข้ อกําหนดและลักษณะการใช้ งาน 5.16.2.1 กล่อ งต้ อ งทํ า จากวัส ดุที ่ท นต่อ การผุก ร่ อ น หรื อ มีก ารป้ องกัน ที ่เ หมาะสมทั้ง ภายในและภายนอก เช่น เคลือบด้ วยสีหรื ออาบสังกะสี หรื อวิธีอื่นๆ 5.16.2.2 ต้ องจัดให้ มีบชุ ชิง หรื อเครื่ องประกอบที่มีขอบมนเรี ยบ ตรงบริ เวณที่ตวั นําหรื อสาย เคเบิลผ่านผนังของกล่อง 5.16.2.3 กล่องต้ องสามารถบรรจุตวั นําหรื อสายเคเบิลได้ ทั้งหมด 5.16.2.4 เมื่อติดตั ้งกล่องแล้ ว ต้ องเข้ าถึงได้ โดยไม่ต้องรื อ้ ถอนส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคาร และต้ องมีที่วา่ งให้ สามารถทํางานได้ สะดวก 5.16.2.5 กล่องต้ องมีฝาปิ ดที่เหมาะสมและปิ ดอย่างแน่นหนา 5.16.2.6 กล่องที่ใช้ กบั ระบบแรงสูงต้ องมีป้าย "อันตรายไฟฟ้าแรงสูง" ติดไว้ อย่างถาวร ป้าย ที่จดั ทําต้ องอยูด่ ้ านนอกของฝากล่องและเห็นได้ ชดั 5.16.2.7 หลังการติดตั้งแล้ ว กล่องต้ องไม่มีรูหรื อช่องที่โตพอให้ วัตถุที่มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง ขนาด 7.5 มม. ลอดเข้ าไปได้

5.17 ข้ อกําหนดสําหรับแผงสวิตช์ (Switchboard) และแผงย่ อย (Panelboard) 5.17.1 ทั่วไป 5.17.1.1 ขอบเขต ให้ ใช้ กบั แผงสวิตช์และแผงย่อย ซึ่งใช้ ควบคุมไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ ากําลัง รวมทั ้งแผงชาร์ จ

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-23

ไฟเข้ าแบตเตอรี่ โดยต่อจากวงจรไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากําลัง ยกเว้ น แผงสวิ ตช์ หรื อส่วน ของแผงสวิ ตช์ ซึ่งใช้ควบคุมวงจรและทํางานโดยไฟจากแบตเตอรี ่ 5.17.1.2 การติดตัง้ แผงสวิตช์และแผงย่อย ต้ องอยู่ในห้ องหรื อที่ซึ่งจัดไว้ โดยเฉพาะ ห้ ามมีท่อลม ท่องานอื่น หรื อ บริ ภัณฑ์ สํา หรั บงานอื่ น ซึ่งไม่ใช่เครื่ องมื อหรื อบริ ภัณฑ์ ที่เ กี่ ยวกับแผงสวิตช์ หรื อ แผงย่อยนัน้ ติดตั้งเหนือหรื อใต้ แผงสวิตช์ หรื ออยูใ่ นห้ อง หรื อทางเดินเข้ าสูห่ ้ อง ข้ อยกเว้ นที่ 1 ระบบดับเพลิ งสําหรับแผงสวิ ตช์หรื อแผงย่อย ข้ อยกเว้ นที่ 2 บริ ภณ ั ฑ์ ทีใ่ ช้ในการหมุนเวี ยนอากาศ ทํ าความร้ อนหรื อทํ าความเย็นที ่ใช้สําหรับห้องหรื อ บริ เวณทีต่ ิ ดตัง้ แผงสวิ ตช์และแผงย่อย ข้ อยกเว้ นที่ 3 แผงสวิ ตช์ หรื อแผงย่อยที ่ติดตัง้ ทัว่ ไป ซึ่ งแยกจากบริ ภณ ั ฑ์ อื่นโดยติ ดตัง้ บนที ่สูง,ในที ่ล้อม หรื อมี สิ่งปกปิ ด ซึ่ งมี การป้ องกันทางกลเพียงพอจากยานพาหนะ การสัมผัสโดยบังเอิ ญ จากบุคคลทัว่ ไป หรื อจากการรั่วไหลของระบบท่อต่างๆ ไม่ต้องอยู่ในห้องหรื อที ่ซึ่งจัดไว้ โดยเฉพาะ ข้ อยกเว้ นที่ 4 แผงสวิ ต ช์ ห รื อ แผงย่ อ ย ชนิ ด ติ ด ตัง้ ภายนอกอาคาร มี เครื ่ องห่อหุ้มที ่ทนสภาพอากาศ มี การป้ องกันจากการสัมผัสโดยบังเอิ ญของบุคคลทัว่ ไป ยานพาหนะหรื อการรั่วไหลของระบบ ท่อต่างๆ ไม่ตอ้ งอยู่ในห้องหรื อทีซ่ ึ่งจัดไว้โดยเฉพาะ

5.17.1.3 การยึดและการจัดบัสบาร์ และตัวนํา 5.17.1.3.1 ตัวนําและบัสบาร์ ในแผงสวิตช์หรื อแผงย่อย ต้ องติดตั ้งอย่างมัน่ คงในตําแหน่งที่ ปลอดภัยจากความเสียหายทางกายภาพ ตัวนําทุกเส้ นที่จะต่อเข้ ากับอุปกรณ์ซงึ่ ติดตั้งอยู่ในช่อง ใดต้ องเดินอยู่ในช่องนั้นเท่านัน้ นอกจากจะเป็ นการต่อเชื่ อมระหว่างช่องและสายไฟในวงจร ควบคุม บัสบาร์ และขั้วต่อสายต้ องมีสิ่งปิ ดกั้นแยก (barrier) ออกจากส่วนอื่นๆ ของแผงสวิตช์ หรื อแผงย่อย 5.17.1.3.2 การจัดวางบัสบาร์ และตัวนํา ต้ องหลีกเลี่ยงไม่ให้ เกิดความร้ อนสูงเนื่องจากการ เหนี่ยวนํา 5.17.1.3.3 ขั ้วต่อสายในแผงสวิตช์หรื อแผงย่อย ควรติดตั ้งในลักษณะที่สามารถต่อสายไป ยังโหลดได้ โดยไม่ต้องข้ ามบัสบาร์ เส้ นไฟ 5.17.1.3.4 การจัดเฟสของแผงสวิตช์และแผงย่อย เมื่อมองจากด้ านหน้ าให้ อยู่ในลักษณะเฟส เป็ น 1, 2 และ 3 (หรื อ เฟส เอ(A) บี(B) ซี(C)) ตามลําดับ โดยเรี ยงจากด้ านหน้ าไปด้ านหลังของ แผง จากด้ านบนลงด้ านล่างหรื อจากด้ านซ้ ายมือไปด้ านขวามือ การจัดเฟสลักษณะอื่นอนุญาต ให้ ใช้ ได้ เฉพาะการเชื่อมต่อเข้ ากับระบบที่มีอยูแ่ ล้ ว แต่ต้องทําเครื่ องหมายให้ เห็นได้ ชดั เจน 5.17.1.3.5 แต่ละบัสบาร์ จะต้ องมีการทําเครื่ องหมายแสดงเฟสอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี ้

5-24

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ก) เป็ นตัวอักษร ได้ แก่ - L1 สําหรับ เฟส 1 หรื อเฟส A - L2 สําหรับ เฟส 2 หรื อเฟส B - L3 สําหรับ เฟส 3 หรื อเฟส C - N สําหรับ นิวทรัล - E หรื อ สําหรับ บัสดิน/ขั้วสายดิน ข) เป็ นสีได้ แก่ - สีนํ ้าตาล สําหรับ เฟส 1 หรื อเฟส A - สีดํา สําหรับเฟส 2 หรื อเฟส B - สีเทา สําหรับเฟส 3 หรื อเฟส C - สีฟ้า สําหรับนิวทรัล - สีเขียว สําหรับ บัสดิน/ขั้วสายดิน หรื อเขียว แถบเหลือง 5.17.2 แผงสวิตช์ (Switchboard) 5.17.2.1 แผงสวิตช์ที่มีส่วนที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่ง ต้ องติดตั้งในสถานที่แห้ ง เข้ าถึงได้ และควบคุม โดยบุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเท่านั้น เมื่อติดตั้งในสถานที่เปี ยกหรื อนอกอาคาร ต้ องมีเครื่ อง ห่อหุ้ม (กล่องหรื อตู้) ที่ทนสภาพอากาศ นอกจากแผงสวิตช์จะเป็ นชนิดที่ออกแบบไว้ สําหรับ ติดตั้งภายนอกอาคารได้ แผงสวิตช์ซึ่งอยู่ในสถานที่ที่มีวตั ถุติดไฟได้ ง่ายต้ องติดตั้งในตําแหน่งที่ แผงสวิตช์จะไม่ทําให้ เกิดเพลิงไหม้ ตอ่ วัตถุตดิ ไฟข้ างเคียง 5.17.2.2 ส่วนบนของแผงสวิตช์ต้องอยู่ห่างจากเพดานที่ติดไฟได้ ไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร หาก เป็ นเพดานไม่ติดไฟ หรื อมี แผ่นกั้นที่ไม่ติดไฟระหว่างแผงสวิตช์ กับเพดาน ระยะห่างระหว่าง ส่วนบนของแผงสวิตช์และเพดานต้ องไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร 5.17.2.3 สําหรับระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ โครงของแผงสวิตช์รวมทั้งโครงที่รองรับที่เป็ นโลหะ ทั ้งของสวิตช์และบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต้ องต่อลงดิน เครื่ องมือวัด รี เลย์ มิเตอร์ หรื อหม้ อแปลงเครื่ องวัด ซึง่ ติดตั้งในแผงสวิตช์ ต้ องต่อลงดินด้ วย 5.17.3 แผงย่ อย (Panelboard) 5.17.3.1 แผงย่อยต้ องมีพิกดั ไม่ตํ่ากว่าขนาดของสายป้อนที่คาํ นวณได้ ตามบทที่ 3 5.17.3.2 การติดตั้งแผงย่อยในสถานที่เปี ยกหรื อชื ้น ต้ องมีการป้องกันไม่ให้ ความชื ้นหรื อนํ ้า เข้ าไปในแผงได้ และต้ องติดตังให้ ้ ห่างจากผนังหรื อพื ้นรองรับไม่น้อยกว่า 5 มม. ถ้ าติดตั้งใน สถานที่เปี ยกต้ องเป็ นแบบทนสภาพอากาศ (weatherproof)

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-25

5.17.3.3 แผงย่อยต้ องติดตั้งในตู้ กล่องอุปกรณ์ตดั ตอน (cutout box) หรื อในเครื่ องห่อหุ้มที่ ออกแบบเฉพาะ และต้ องเป็ นแบบด้ านหน้ าไม่มีไฟ ยกเว้ น สําหรับแผงย่อยขนาดไม่เกิ น 16 แอมแปร์ 1 เฟส 5.17.3.4 การติดตั้งฟิวส์ในแผงย่อย ฟิวส์ต้องติดตั้งอยูด่ ้ านโหลดของสวิตช์ 5.17.3.5 ส่วนที่เป็ นโลหะและไม่ได้ ใช้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้าต้ องต่อลงดิน 5.17.3.6 การป้องกันกระแสเกิน 5.17.3.6.1 แผงย่อยของวงจรย่อยแสงสว่างและเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าทุกแผง ต้ อ งติด ตั ้งเครื ่ อ ง ป้องกันกระแสเกินทางด้ านไฟเข้ า ยกเว้ น สายป้ อนของแผงย่อยนัน้ ได้ติดตัง้ เครื ่ องป้ องกัน กระแสเกิ น ไม่เกิ นขนาดของแผงย่อยอยู่แล้ว 5.17.3.6.2 แผงย่อยที่ประกอบด้ วยสวิตช์ธรรมดาขนาดไม่เกิน 30 แอมแปร์ หลายตัว ต้ องมี เครื่ องป้องกันกระแสเกินที่มีพิกดั ไม่เกิน 200 แอมแปร์ 5.17.3.7 จํานวนเครื่ องป้องกันกระแสเกินในแผงย่ อย เครื่ องป้องกันกระแสเกินในแผงย่อยแต่ละแผง ต้ องไม่เกิน 42 ขั ้ว ไม่รวมขั้วที่เป็ นประธาน 5.17.4 ข้ อกําหนดโครงสร้ าง 5.17.4.1 แผงสวิตช์และแผงย่อย ต้ องทําด้ วยวัสดุไม่ดดู ซับความชื ้นและไม่ตดิ ไฟ 5.17.4.2 วงจรที่จ่ายไฟให้ กับเครื่ องวัด หลอดไฟสัญญาณ หม้ อแปลงแรงดันและอุปกรณ์อื่น ของแผงสวิตช์ที่มีขดลวดแรงดัน ต้ องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสเกินพิกัดไม่เกิน 16 แอมแปร์ ยกเว้ น ถ้าการทํางานของเครื ่ องป้ องกันกระแสเกิ นทําให้เกิ ดความเสียหายต่อการทํางาน ของอุปกรณ์ นนั้ 5.17.4.3 ใบมีดที่เปิ ดโล่งของสวิตช์ใบมีด ต้ องไม่มีไฟเมื่ออยู่ในตําแหน่งปลด ยกเว้ น หากมี การจัดทํ าหรื อการกัน้ ที ่เหมาะสมที ่สามารถป้ องกันอันตรายจากการสัมผัสส่วนที ่มีไฟฟ้ าขณะที ่ เปิ ดฝาตูข้ องแผงสวิ ตช์ ได้ 5.17.4.4 แผงย่อยต้ องมีที่วา่ งสําหรับงอสายอย่างเพียงพอ 5.17.4.5 ระยะห่างของบัสบาร์ ระยะห่างตํ่าสุดระหว่างส่วนที่มีไฟฟ้าเปลือยกับส่วนที่มีไฟฟ้า เปลือย และระหว่างส่วนที่มีไฟฟ้าเปลือยกับดินต้ องไม่น้อยกว่าที่กําหนดในตารางที่ 5-7 ข้ อยกเว้ นที่ 1 ทีส่ วิ ตช์ หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ข้ อยกเว้ นที 2 ทีว่ ่างภายในของอุปกรณ์ ถ้าการใกล้กนั ไม่ทําให้เกิ ดความร้อนเกิ นแล้ว อนุญาต ให้ขวั้ เดี ยวกันหรื อเฟสเดี ยวกันของสวิ ตช์ ฟิ วส์ ที่มีเครื ่ องห่อหุ้มและอื ่นๆ อยู่ ใกล้กนั ได้ ข้ อยกเว้ นที่ 3 แผงสวิ ตช์ ทีผ่ ่านการทดสอบ type test โดยสถาบันการทดสอบทีก่ ารไฟฟ้ าฯ ยอมรับ ระยะห่างตํ่าสุดสามารถลดลงได้

5-26

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.17.4.6 แผงสวิตช์ ต้องมี ระยะห่างระหว่าง บัสบาร์ กับด้ านล่างของตู้สําหรับระบบแรงตํ่า ไม่น้อยกว่า 200 มม. สําหรับบัสบาร์ ห้ มุ ฉนวน และ 250 มม. สําหรับบัสบาร์ เปลือย ตารางที่ 5-7 ระยะห่ างตํ่าสุดระหว่ างส่ วนที่มีไฟฟ้าเปลือยกับส่ วนที่มีไฟฟ้าเปลือย และระหว่ างส่ วนที่มีไฟฟ้าเปลือยกับดิน (มม.) แรงดันระหว่ าง สายเส้ นไฟ (โวลต์ ) ไม่เกิน 125 ไม่เกิน 250 ไม่เกิน 1,000

ขัว้ ต่ างกันเมื่อติดตัง้ บนพืน้ ผิวเดียวกัน 19 31.5 50

ขัว้ ต่ างกันเมื่อ ขึงในอากาศ 12.5 19 25

ส่ วนที่มีไฟฟ้าเปลือย กับดิน 12.5 12.5 25

หมายเหตุ สําหรับระบบแรงสูง 11 ถึง 33 เควี ให้อา้ งอิ งตาม IEC 60071-2

5.17.5 ข้ อกําหนดเพิ่มเติมสําหรั บแผงสวิตช์ แรงสูง แผงสวิตช์แรงสูงที่ใช้ กับแรงดันไฟฟ้ามากกว่า 1,000 โวลต์ แต่ไม่เกิน 33,000 โวลต์ ให้ ใช้ ข้ อกําหนดโครงสร้ างตามข้ อ 5.17.4 และเพิ่มเติมดังนี ้ 5.17.5.1 บริ ภณ ั ฑ์ประธาน ต้ องเป็ นไปตามข้ อกําหนดในข้ อ 3.5 ตอน ข. 5.17.5.2 ตัวนําและบัสบาร์ ในแผงสวิตช์ต้องติดตั้งอย่างมั่นคงในตําแหน่งที่ปลอดภัยจาก ความเสียหายทางกายภาพ บัสบาร์ แต่ละเฟส ต้ องมีการทําเครื่ องหมายแสดงเฟส ในการทํา เครื่ องหมาย ให้ ใช้ สีแดง เหลือง นํ ้าเงิน สําหรับเฟส R, Y, B ตามลําดับ การจัดเฟสของบัสบาร์ ใน แผงสวิตช์ เมื่อมองจากด้ านหน้ าให้ อยู่ในลักษณะ เฟส R, Y, B เรี ยงจากด้ านหน้ าไปด้ านหลัง แผง จากด้ านบนลงด้ านล่างหรื อจากซ้ ายมือไปขวามือ การจัดเฟสลักษณะอื่นอนุญาตให้ ใช้ เฉพาะการเชื่อมต่อเข้ ากับระบบที่มีอยูแ่ ล้ ว แต่ต้องทําเครื่ องหมายให้ เห็นได้ ชดั เจน 5.17.5.3 ต้ องจัดให้ มีบสั ต่อลงดิน (grounded bus) ทําด้ วยทองแดงตามบทที่ 2 ที่มี พื ้นที่หน้ าตัดไม่เล็กกว่า 95, 50 และ 35 ตร.มม. สําหรับแผงสวิตช์ขนาดแรงดัน 12, 24 และ 33 เควี ตามลําดับ 5.17.5.4 ถ้ ามีกบั ดักเสิร์จ (surge arrester) ตัวนําสําหรับต่อลงดินของกับดักเสิร์จต้ องต่อ ร่ วมกับชีลด์ (Shield) ของสายเคเบิลแรงสูงในแผงสวิตช์ และต้ องแยกออกจากบัสต่อลงดินของ แผงสวิตช์

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-27

5.17.5.5 ตัวนําสําหรับต่อลงดินของกับดักเสิร์จ ต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนที่ทนแรงดัน ไม่น้อยกว่า 1,000 โวลต์ มีพื ้นที่หน้ าตัดไม่น้อยกว่า 16 ตร.มม. ติดตั ้งบนฉนวนที่มี ระดับแรงดัน (voltage class) ไม่น้อยกว่า 1,000 โวลต์ 5.17.5.6 ตู้ของแผงสวิตช์แรงสูงต้ องมีการต่อลงดิน โดยใช้ ตวั นําต่อฝาก ต่อลงดินที่บสั ต่อลง ดิน บานประตูต้ ูแผงสวิตช์ ต้องมี การต่อฝากกับตู้แผงสวิตช์ ด้วย ตัวนํ าต่อฝากต้ องมี พิกัดรั บ กระแสที่เกิดในระยะเวลาสั้นๆ (short-time current rating) สอดคล้ องกับกระแสลัดวงจรค่ามาก ที่สดุ ที่อาจเกิดขึ ้นที่แผงสวิตช์นั้น หรื อเป็ นสายทองแดงขนาดพื ้นที่หน้ าตัดไม่น้อยกว่า 10 ตร.มม. หรื อมีหนังสือรับรองจากผู้ผลิตว่าได้ ผา่ นการทดสอบในเรื่ องนี ้แล้ ว 5.17.5.7 สายดินของตู้แผงสวิตช์แรงสูงกับแผงสวิตช์แรงตํ่า ต้ องแยกจากกันและใช้ หลักดิน แยกจากกันด้ วย หากค่าความต้ านทานของหลักดินไม่เกิน 1 โอห์ม และจุดติดตั้งอยู่ห่างจาก สถานีไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 1 กิโลเมตร อนุญาตให้ ตอ่ ประสานหลักดินของอุปกรณ์แรงสูง และหลัก ดินของอุปกรณ์แรงตํ่าร่วมเข้ าด้ วยกันได้ โดยมีการป้องกันแรงดันเกินที่เหมาะสม 5.17.5.8 ตู้ของแผงสวิตช์ต้องมีช่องระบายแรงดัน (pressure relief flap) เพื่อระบายแรงดันที่ อาจเกิดขึ ้นภายในแผงสวิตช์ โดยไม่ก่อให้ เกิดอันตรายแก่ผ้ ปู ฏิบตั งิ าน 5.17.5.9 ในกรณีที่มีแผงสวิตช์อยู่ติดกันหรื อแผงสวิตช์อยู่ติดกับตู้หม้ อแปลงไฟฟ้าต้ องมีแผ่น กั้น กั้นระหว่างแผงสวิตช์ กับแผงสวิตช์ หรื อแผงสวิ ตช์ กับตู้หม้ อแปลงไฟฟ้าโดยตลอด เพื่ อ ป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ ้นไม่ให้ ลกุ ลามไปยังส่วนอื่น และจุดที่สายไฟฟ้าหรื อบัสบาร์ ผ่าน ต้ องจัดทําด้ วยวิธีที่เหมาะสมรวมทั้งใช้ อปุ กรณ์ที่เหมาะสมด้ วย เช่น บุชชิงให้ ตวั นําลอด (drawthrough bushing) ซึง่ ทําด้ วยวัสดุไม่ดดู ความชื ้นและไม่ติดไฟ ถ้ าทําด้ วยโลหะต้ องหนาไม่น้อย กว่า 1 มม. หากทําด้ วยวัสดุอื่นที่ไม่ใช่ โลหะต้ องหนาไม่น้อยกว่า 3 มม. 5.17.5.10 การต่อ สายแรงตํ่ า ทัง้ หมด ต้ อ งทํ า ภายในช่ อ งตู้ส่ว นแรงตํ่ า (low voltage compartment) เท่านั้น และช่องตู้ (compartment) ต้ องมีการป้องกันอันตรายจากการสัมผัส ส่วนของไฟฟ้าแรงสูงในขณะทําการบํารุ งรักษา ยกเว้ นส่วนที่จําเป็ นต้ องต่อเข้ ากับขั้วสายของ อุปกรณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับอุปกรณ์แรงสูง 5.17.5.11 ข้ อกําหนดข้ อ 5.17.5.8 และ 5.17.5.9 ไม่บงั คับใช้ กบั แผงสวิตช์ชนิดที่ใช้ ของเหลว หรื อก๊ าซเป็ นฉนวน (liquid-insulated or gas-insulated) 5.17.5.12 ตู้แผงสวิตช์ต้องมีแผ่นปิ ดด้ านล่างเพื่อป้องกันสัตว์ เช่น หนูหรื อแมลงเข้ าไปในตู้ 5.17.5.13 หากสวิตช์ตอ่ ลงดิน (earthing switch) ติดตั้งทางด้ านไฟเข้ าของสวิตช์สําหรับตัด โหลด (load break switch) จะต้ องมีที่ใส่กญ ุ แจซึ่งสามารถล็อคสวิตช์ตอ่ ลงดินได้ ทั้งตําแหน่ง เปิ ดและปิ ด และต้ องมีป้ายเตือน "ก่ อนสับสวิตช์ ต้องแจ้ งการไฟฟ้าฯ" ให้ เห็นอย่างชัดเจนด้ วย

5-28

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

หากอยู่ในพื ้นที่จ่ายไฟด้ วยระบบสายใต้ ดินซึ่งแผงสวิตช์แรงสูงรับไฟจาก ริ งเมนยูนิต (ring main unit) ของการไฟฟ้าฯ จะต้ องเก็บลูกกุญแจไว้ ที่ ริ งเมนยูนิต ของการไฟฟ้าฯ เท่านั้น ข้ อ 5.18 - 5.24 ว่ าง

5.25 สายไฟฟ้า 5.25.1 ขนาดกระแส ให้ ใช้ ตามตารางที่ 5-20 ถึง 5-47 5.25.1.1 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงหุ้ ม ฉนวนพีวีซี ที่ผ ลิต ตามมาตรฐานของ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่ มอก.11-2553 ให้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-20 ถึง 5-26 และ 5-30 ถึง 5-31 หมายเหตุ 1 การติ ดตัง้ ที อ่ อกแบบโดยใช้สายไฟฟ้ าทีผ่ ลิ ตตามมาตรฐาน มอก.11-2531 แต่สายไฟฟ้ าที ่ นํามาใช้งานเป็ นสายที ่ผลิ ตตาม มอก.11-2553 อนุญาตให้ใช้ขนาดกระแสของสายตาม ตารางในมาตรฐานการติ ดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 (ฉบับปรับปรุงครั้งที ่ 1 พ.ศ. 2551) ได้ 2 การออกแบบที ใ่ ช้สายไฟฟ้ าผลิ ตตาม มอก.11-2553 แต่ในการติ ดตัง้ อาจมี สายทีผ่ ลิ ตตาม มอก.11-2531 รวมอยู่ดว้ ย อนุญาตให้ใช้ขนาดกระแสของสายตามมาตรฐานการติ ดตัง้ ทาง ไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ได้

5.25.1.2 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์พอลิเอทิลีน ระบบแรงดัน 0.6/1 กิโลโวลต์ ให้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-21, 5-27 ถึง 5-29 และ 5-32 ถึง 5-33 5.25.1.3 ขนาดกระแสของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ให้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-34 ถึง 5-35 5.25.1.4 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์พอลิเอทิลีนมี ชีลด์ระบบ แรงดัน 3.6/6 กิโลโวลต์ ถึง 18/30 กิโลโวลต์ ให้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-36 และ 5-37 5.25.1.5 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าอะลูมิเนี ยมหุ้มฉนวนพีวีซี ที่ ผลิตตามมาตรฐานของ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่ มอก.293-2541 ให้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-42 หมายเหตุ ขนาดของกระแสสายไฟฟ้ า และการติ ดตัง้ ที ่น อกเหนื อ ไปจากตารางที ่กํ า หนด การไฟฟ้ าฯ อนุญาตให้มีการคํานวณโดยใช้หลักวิ ศวกรรมได้ เอกสารการคํานวณทีแ่ นะนํามีดงั ต่อไปนี ้ • IEC Publication No. 60287 • IEC Publication No. 60364-5-523

5.25.1.6 ถ้ ามีสายในช่องเดินสายไฟฟ้าเดียวกันมากกว่า 1 กลุ่มวงจร โดยไม่นบั สายดินของ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าให้ ใช้ ตวั คูณปรับค่าขนาดกระแสสําหรับตารางที่ 5-20, 5-23, 5-27 และ 5-29 ตามตารางที่ 5-8

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-29

ข้ อยกเว้ นที่ 1 สายไฟฟ้ าที ่มีระบบแรงดันไฟฟ้ าต่างกัน ซึ่ งวางสายไว้ในช่องเดิ นสายเดี ยวกันให้ใช้ตวั คูณ เพือ่ ลดขนาดกระแสเฉพาะสายสําหรับวงจรกํ าลังวงจรแสงสว่างและวงจรควบคุมที ม่ ี โหลด ต่อเนือ่ ง ข้ อยกเว้ นที่ 2 สําหรับสายทีต่ ิ ดตัง้ ในรางเคเบิ ลให้ปฏิ บตั ิ ตามข้อ 5.15 ข้ อยกเว้ นที่ 3 สําหรับสายส่วนทีอ่ ยู่ในนิ ปเพิ ล (nipple) และนิ ปเพิ ลมี ความยาวไม่เกิ น 0.60 เมตร ไม่ตอ้ ง ใช้ตวั คูณปรับค่าขนาดกระแส ข้ อยกเว้ นที่ 4 สําหรับสายใต้ดินส่วนที เ่ ข้าหรื อออกจากช่องรางเดิ นสาย (cable trench) ซึ่ งอยู่ภายนอก อาคาร และมี จํานวนสายหรื อแกนไม่เกิ น 1 กลุ่มวงจร และมี การป้ องกันทางกายภาพด้วย ท่อร้อยสายชนิ ดโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลางหรื อท่ออโลหะ ซึ่งท่อส่วนทีอ่ ยู่เหนือผิ วดิ น ทีค่ วามยาวไม่เกิ น 3 เมตรไม่ตอ้ งใช้ตวั คูณปรับค่าขนาดกระแส

ตารางที่ 5-8 ตัวคูณปรั บค่ าขนาดกระแสเนื่องจากจํานวนสายที่นํากระแสในช่ องเดินสายไฟฟ้า เดียวกันมากกว่ า 1 กลุ่มวงจร จํานวนกลุ่มวงจร 2 3 4 5 6 7 8 9 10-12 13-16 17-20

ตัวคูณปรั บค่ า 0.80 0.70 0.65 0.60 0.57 0.54 0.52 0.50 0.45 0.41 0.38

หมายเหตุ 1) ให้ใช้กบั กลุ่มของเคเบิ ลทีม่ ีรูปแบการเดิ นสายแบบเดียวกัน 2) ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าเดียวกันสําหรับ - กลุ่มเคเบิ ลแกนเดียวทัง้ 2, 3 และ 4 สาย - กลุ่มเคเบิ ลหลายแกน (วงจร 1 เฟส 2 สาย นับเป็ น 1 กลุ่มวงจร, วงจร 3 สายหรื อ 4 สาย นับเป็ น 1 กลุ่มวงจร)

5-30

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ 3) ถ้ากลุ่มเคเบิ ลในช่องเดิ นสายไฟฟ้ าเดี ยวกันประกอบด้วยเคเบิ ล 2, 3 และ4 แกน ให้นบั จํ านวนเคเบิ ลทัง้ หมดเป็ นจํ านวนกลุ่มวงจร และให้ใช้ตวั คูณปรับค่าเดี ยวกับสํ าหรับกลุ่ม เคเบิ ล 2, 3 และ4 แกน 4) ถ้ากลุ่มเคเบิ ลประกอบด้วยเคเบิ ลแกนเดียวจํ านวนตัวนํากระแส n เส้น อาจพิ จารณาเป็ น วงจร 1 เฟสได้ n/2 วงจร หรื อวงจร 3 เฟสได้ n/3 วงจร เช่น วงจร 3 เฟส จํ านวน 2 วงจร และ วงจร 1 เฟส จํ านวน 2 วงจร ติ ดตัง้ รวม ในช่องเดิ นสายเดียวกัน ถ้าคิ ดเป็ นวงจร 1 เฟส จะได้กลุ่มวงจร = (2 x 3 / 2) + 2 = 5 จะได้ตวั คูณปรับค่าของวงจร 1 เฟส = 0.60 ถ้าคิ ดเป็ นวงจร 3 เฟส จะได้กลุ่มวงจร = (2 x 2 / 3) + 2 = 3.3 จะได้ตวั คูณปรับค่าของ วงจร 3 เฟส = 0.68(ค่าระหว่าง 3 กับ 4 กลุ่มวงจร) 5) ถ้ากลุ่มเคเบิ ลประกอบด้วยตัวนําทีม่ ีอณ ุ หภูมิการใช้งานแตกต่างกันอยู่ในกลุ่มเดียวกัน พิ กดั กระแสของกลุ่มให้คํานวณตามเคเบิ ลทีม่ ีพิกดั ของอุณหภูมิการใช้งานตํ่าทีส่ ดุ 6) ไม่ตอ้ งนับจํ านวนกลุ่มวงจรในช่องเดิ นสายไฟฟ้ าเดียวกันทีร่ ู้แน่นอนแล้วว่ามี กระแสโหลดไม่ เกิ นร้ อยละ 30 (สามสิ บ) ของพิ กดั กระแส เมื ่อคิ ดตัวคูณปรับค่าที ไ่ ด้นบั รวมจํ านวนกลุ่ม วงจรนัน้ ด้วยแล้ว เช่น การเดิ นสายในท่อทีป่ ระกอบด้วย กลุ่มเคเบิ ลแกนเดียว 2 สาย 3 กลุ่ม และกลุ่มเคเบิ ล 4 แกน 4 กลุ่ม ตัวคูณปรับค่าทีพ่ ิ จารณาครั้งแรกคิ ดจากจํ านวนกลุ่มวงจรทัง้ หมด 7 กลุ่ม แต่เมื อ่ พิ จารณาพิ กดั กระแสทีค่ ิ ดตัวคูณปรับค่าแล้วพบว่ามี กลุ่มเคเบิ ลแกนเดี ยว 2 สาย 1 กลุ่ม และกลุ่มเคเบิ ล 4 แกน 2 กลุ่ม ที จ่ ่ายโหลดไม่เกิ นร้ อยละ 30 (สามสิ บ) ของพิ กดั กระแสที ค่ ิ ดตัวคูณปรับค่า ให้พิจารณาตัวคูณปรับค่าใหม่จากกลุ่มวงจรที เ่ หลื อคื อ 4 กลุ่ม วงจร

5.25.1.7 ขนาดกระแสตามที่กําหนดในตารางใช้ สําหรับอุณหภูมิโดยรอบ 30ºC และ 40ºC แล้ วแต่กรณี สําหรั บค่าอุณหภูมิอื่นให้ ใช้ ตวั คูณปรั บค่าตามที่กําหนดไว้ ในหมายเหตุต่อท้ าย ตาราง 5.25.1.8 ขนาดกระแสตามที่กําหนดในตารางอ้ างอิงจากไฟฟ้ากระแสสลับที่ความถี่ 50 Hz ในกรณีที่ใช้ ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่ความถี่ 400 Hz ให้ ใช้ ตวั คูณปรับค่าขนาดกระแสเท่ากับ 0.5 สําหรับขนาดสายที่มีขนาดตังแต่ ้ 4 ตร.มม. ขึ ้นไป 5.25.1.9 ในที่ซึ่งมีการเดินสายผสมระหว่างการเดินสายในอากาศ หรื อเกาะผนังในอากาศ และการเดินสายในท่อหากความยาวที่เดินในท่อไม่เกินครึ่ งหนึ่งของความยาวสายทั้งหมด หรื อ สายที่เดินในท่อยาวไม่เกิน 6 เมตร แล้ วแต่ค่าใดจะน้ อยกว่า อนุญาตให้ ใช้ ค่าขนาดกระแสตาม วิธีการเดินสายในอากาศ หรื อเกาะผนังในอากาศได้

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-31

5.25.1.10 ขนาดกระแสตามที่กําหนดในตารางไม่ได้ กําหนดตามค่าแรงดันตก แรงดันตกต้ อง เป็ นไปตามข้ อ 3.6 ด้ วย 5.25.2 ข้ อกําหนดการใช้ งานของสายแต่ ละประเภท 5.25.2.1 สายไฟฟ้าที่ผลิตตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก. 11-2553 ข้ อกําหนดการใช้ งานให้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-48 5.25.2.2 สายไฟฟ้ าทองแดงหุ้มฉนวนครอสสลิงกด์พอลิเอทิลีน ระบบแรงดัน 0.6/1 กิโล โวลต์ มีข้อกําหนดการใช้ งานดังนี ้ ก) ใช้ งานทัว่ ไป ข) วางบนรางเคเบิล ค) การติดตั้งภายในอาคารต้ องเดินในช่องเดินสายที่ปิดมิดชิด ยกเว้ น เปลือกนอก ของสายมี คณ ุ สมบัติตา้ นทานเปลวเพลิ ง (flame-retardant) ตามมาตรฐาน IEC 60332-3 category C ง) การนําไปใช้ งานต้ องคํานึงถึงพิกดั กระแสและอุณหภูมิของอุปกรณ์ที่จะนําไปใช้ ประกอบร่วมกับสายให้ มีความสัมพันธ์กนั ด้ วย 5.25.2.3 สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ที่ผลิตตาม IEC 60702-1 หรื อ AS/NZS 60702.1 มี ข้ อกําหนดการใช้ งานตามที่ระบุไว้ ในข้ อ 5.26 5.25.2.4 สายไฟฟ้าตัวนํ าอะลูมิ เนี ยมที่ ผลิตตาม มอก.293-2541 ห้ ามใช้ ในการเดินสาย ภายในระบบไฟฟ้าแรงตํ่า ยกเว้ น การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค อนุญาตให้ใช้เป็ นตัวนํ าประธานได้ เฉพาะการเดิ นสายลอยในอากาศบนวัสดุฉนวนภายนอกอาคาร 5.25.2.5 สายไฟฟ้าสํา หรั บวงจรควบคุม ที่ ผลิตตาม มอก.838-2531 ใช้ งานสําหรั บวงจร ควบคุม 5.25.2.6 สายไฟฟ้าเครื่ องเชื่อมที่ผลิตตาม มอก.448-2525 ใช้ สําหรับงานเชื่อม 5.25.2.7 สายเคเบิลตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์พอลิเอทิลีนมีชีลด์ และมีเปลือกนอก ที่ผลิตตามมาตรฐาน มอก.2143-2546 หรื อ IEC 60502-2 ขนาดแรงดัน (Uo/U) 3.6/6 กิโล โวลต์ ถึง 18/30 กิโลโวลต์ มีข้อกําหนดการใช้ งานดังต่อไปนี ้ ก) งานสายใต้ ดิน ข) วางบนรางเคเบิลแบบบันได หรื อแบบมีช่องระบายอากาศ (เปลือกนอกต้ องมี คุณสมบัติต้านเปลวเพลิงตาม IEC 60332-3 Category C ตามข้ อ 11,2,2) 5.25.2.8 สายไฟฟ้าประเภทอื่นต้ องได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ

5-32

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.26 สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ (Mineral Insulated Cable) 5.26.1 ทั่วไป 5.26.1.1 นิยาม สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ เป็ นสายเคเบิลเปลือกโลหะที่ตัวนํ าไฟฟ้าหุ้มด้ วยฉนวนแร่ ที่ผลิตจาก โรงงาน ประกอบด้ วยตัวนําเดียวหรื อมากกว่า มีฉนวนเป็ นแร่ ที่ถกู อัดแรงอย่างสูงและหุ้มด้ วย ปลอกทองแดงอย่างต่อเนื่องซึง่ ป้องกันของเหลวและป้องกันก๊ าซ 5.26.1.2 ข้ ออื่นที่เกี่ยวข้ อง สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ นอกจากจะต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อนี ้แล้ วให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน การติดตั้งทางไฟฟ้าฯ ฉบับนี ้ 5.26.1.3 อนุญาตใช้ สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ในกรณีดงั ต่อไปนี ้ ก) ใช้ เป็ นตัวนําประธาน สายป้อน และสายวงจรย่อย ข) ในสถานที่แห้ ง ที่เปี ยก หรื อที่ชื ้นตลอดเวลา ค) ในอาคารหรื อนอกอาคาร ง) ในที่เปิ ดโล่งหรื อที่ซอ่ น จ) ฝั งในปูน คอนกรี ต ดินหรื อในอิฐ ไม่วา่ อยูบ่ นดินหรื อใต้ ดนิ ฉ) ในบริ เวณอันตราย ช) ในที่เปิ ดโล่งต่อสภาวะผุกร่อนที่ไม่เป็ นอันตรายต่อเปลือกหุ้ม ซ) ในการติดตั้งใต้ ดินโดยได้ ป้องกันการเสียหายทางกายภาพและจากการผุกร่ อน แล้ ว ฌ) ในที่เปิ ดโล่งต่อนํ ้ามันเชื ้อเพลิง และแก็สโซลีน ญ) วางบนรางเคเบิล 5.26.1.4 ห้ ามใช้ สายเคเบิลชนิดเอ็มไอห้ ามใช้ ในที่เปิ ดโล่งต่อสภาวะทําให้ เกิดการผุกร่ อนได้ ยกเว้ น ในทีม่ ี การ ป้ องกันด้วยสารทีเ่ หมาะสมในสภาวะนัน้ แล้ว

5-33

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.26.2 การติดตัง้ 5.26.2.1 ที่รองรับสายเคเบิลชนิดเอ็มไอต้ องยึดอย่างมัน่ คงช่วงละไม่เกิน 1.80 เมตร โดยเข็มขัด รัดแบบยึด ขอแขวน หรื อเครื่ องประกอบอื่นๆ ในลักษณะเดียวกันโดยออกแบบและติดตั ้งไม่ให้ เป็ นอันตรายต่อสายเคเบิล ยกเว้ น ในทีท่ ีส่ ายเคเบิ ลถูกตรึ งอยู่กบั ทีแ่ ล้ว 5.26.2.2 การงอสายเคเบิลชนิดเอ็มไอต้ องไม่เป็ นอันตรายต่อสายเคเบิล รั ศมีความโค้ งของ ขอบในจะต้ องไม่น้อยกว่า ตามที่กําหนดดังต่อไปนี ้ ก) 5 เท่า ของเส้ นผ่านศูนย์กลางภายนอกของสายเคเบิล (วัดถึงเปลือกโลหะ) สําหรับเคเบิลที่มีเส้ นผ่านศูนย์กลางภายนอกไม่เกิน 19 มม. ข) 10 เท่า ของเส้ นผ่านศูนย์กลางภายนอกของสายเคเบิล (วัดถึงเปลือกโลหะ) สําหรับเคเบิลที่มีเส้ นผ่านศูนย์กลางภายนอกเกิน 19 มม. แต่ไม่เกิน 25 มม. 5.26.2.3 อุปกรณ์ ประกอบที่ใช้ ต่อสายเคเบิลชนิดเอ็มไอเข้ ากับกล่อง ตู้ หรื อเครื่ องอุปกรณ์ ไฟฟ้าหรื อบริ ภณ ั ฑ์ อื่นๆ ต้ องเป็ นชนิดที่ใช้ เพื่อวัตถุประสงค์นี ้ ในที่ซึ่งสายเคเบิลแกนเดียวเข้ า กล่องหรื อตู้เหล็กการติดตังต้ ้ องมีการป้องกันความร้ อนจากการเกิดกระแสเหนี่ยวนํา 5.26.2.4 ปลายสายเคเบิลชนิดเอ็มไอต้ องทําการปิ ดผนึกปลายสายทันทีหลังจากปอกสาย ด้ วยการปิ ดผนึกที่ได้ รับการรับรองแล้ ว เพื่อป้องกันความชื ้นเข้ าไปในฉนวน ตัวนําแต่ละเส้ นที่ ยื่นพ้ นเปลือกต้ องหุ้มด้ วยฉนวนที่ได้ รับการรับรองแล้ ว 5.26.2.5 เคเบิลจะต้ องติดตั้งอย่างเหมาะสมโดยใช้ strap, saddle, hanger หรื อบนรางเคเบิล และต้ องมีระยะจับยึด / รองรับไม่เกินค่าดังตารางที่ 5-9

ตารางที่ 5-9 ระยะจับยึด/รองรับ ของการติดตัง้ เอ็มไอเคเบิล เส้ นผ่ านศูนย์ กลางเคเบิล ไม่เกิน 9 มม. มากกว่า 9 มม. แต่ไม่เกิน 15 มม. มากกว่า 15 มม. แต่ไม่เกิน 20 มม. มากกว่า 20 มม.

แนวระดับ (มม.) 600 900 1500 2000

แนวดิ่ง (มม.) 800 1200 2000 2500

หมายเหตุ ตัวจับยึด/รองรับเคเบิ ลจะต้องเหมาะสมทนทานกับอุณหภูมิสูงสุดของเคเบิ ลได้ดว้ ย

5-34

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5.26.3 ข้ อกําหนดโครงสร้ างของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ 5.26.3.1 ตัวนํ าของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ต้ องเป็ นทองแดงเดี่ยวมี พืน้ ที่ภาคตัดขวางตาม กําหนด 5.26.3.2 ฉนวนที่ห้ มุ สายตัวนําของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ต้ องเป็ นแร่ ที่ถกู รี ดอัดอย่างแรงที่จะ มีระยะห่างระหว่างตัวนําอย่างเหมาะสม 5.26.3.3 เปลือกนอกของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ต้ องเป็ นทองแดงที่มีโครงสร้ างต่อเนื่องเพื่อ ป้องกันแรงกลผนึกความชื ้นและเพียงพอตามวัตถุประสงค์ในการต่อลงดิน ทั้งนี ้อาจหุ้มด้ วย PVC อีกชั้นหนึง่ ก็ได้ 5.26.4 ข้ อกําหนดพิเศษต่ างๆ ข้ อกําหนดพิเศษต่างๆ นอกเหนือจากที่กล่าวถึงแล้ วให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 60702-2 : Mineral insulated cables and their terminations with a rated voltage not exceeding 750 V. Terminations หรื อ AS/NZS 60702.2 : Mineral insulated cables and their terminations with a rated voltage not exceeding 750 V - Terminations 5.26.5 ขนาดกระแส ให้ ใช้ ตามตารางที่ 5-34 และ 5-35 ตารางที่ 5-10 – ตารางที่ 5.19 ว่ าง

5-35

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-20 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มี/ไม่ มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินในช่ องเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตัง้ จํานวนตัวนํากระแส

กลุม่ ที่ 1

กลุม่ ที่ 2

2

3

2

ลักษณะตัวนํากระแส

แกนเดียว หลายแกน

แกนเดียว หลายแกน

แกนเดียว หลายแกน

3 แกนเดียว หลายแกน

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย(ตร.มม.) 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคณ ุ สมบัติพิเศษต่างๆ เช่น สายทนไฟ, สายไร้ ฮาโลเจน, สายควันน้ อย เป็ นต้ น ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 10 10 9 9 12 11 10 10 13 12 12 11 15 14 13 13 17 16 16 15 21 20 18 17 23 22 21 20 28 26 24 23 30 28 27 25 36 33 31 30 40 37 37 34 50 45 44 40 53 50 49 45 66 60 59 54 70 65 64 59 88 78 77 70 86 80 77 72 109 97 96 86 104 96 94 86 131 116 117 103 131 121 118 109 167 146 149 130 158 145 143 131 202 175 180 156 183 167 164 150 234 202 208 179 209 191 188 171 261 224 228 196 238 216 213 194 297 256 258 222 279 253 249 227 348 299 301 258 319 291 285 259 398 343 343 295 475 406 545 464 -

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-20) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ในช่องเดิ นสาย ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-8 3) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 4) ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งานในตารางที ่ 5-48

5-36

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-21 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดง หุ้มฉนวน มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโล โวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC หรื อ 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินเกาะผนังในอากาศ ลักษณะการติดตัง้ จํานวนตัวนํากระแส ลักษณะสาย ลักษณะตัวนํากระแส ประเภทฉนวน

กลุม่ ที่ 3 2 แบน หลายแกน พีวีซี

อุณหภูมิตวั นํา

70 ºC

ไม่เกิน 3 กลม แกนเดียว พีวีซี ครอสลิงกด์พอลิเอทิลีน 70 ºC 90 ºC

ขนาดสาย (ตร.มม.) 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70

หรื อ

หรื อ

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน

ไม่เกิน 3 กลม หลายแกน พีวีซี ครอสลิงกด์พอลิเอทิลีน 70 ºC 90 ºC

VAF, VAF-G

14 17 23 32 41 56 74 -

NYY, IEC 60502-1 12 16 22 29 37 51 69 90 112 145 186

IEC 60502-1 ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 16 21 28 37 49 67 90 118 147 190 244

NYY, NYY-G 60227 IEC 10, IEC 60502-1

IEC 60502-1

12 15 21 28 36 50 66 84 104 125 160

15 20 27 36 47 65 87 108 134 163 208

5-37

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-21 (ต่ อ) ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดง หุ้มฉนวน มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโล โวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 หรื อ 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินเกาะผนังในอากาศ ลักษณะการติดตัง้ จํานวนตัวนํากระแส ลักษณะสาย ลักษณะตัวนํากระแส ประเภทฉนวน

กลุม่ ที่ 3 2 แบน หลายแกน พีวีซี

อุณหภูมิตวั นํา

70 ºC

ไม่เกิน 3 กลม แกนเดียว พีวีซี ครอสลิงกด์พอลิเอทิลีน 70 ºC 90 ºC

VAF, VAF-G

NYY, IEC 60502-1

ขนาดสาย (ตร.มม.) 95 120 150 185 240 300 400 500

หรื อ

หรื อ

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน

ไม่เกิน 3 กลม หลายแกน พีวีซี ครอสลิงกด์พอลิเอทิลีน 70 ºC 90 ºC

IEC 60502-1

NYY, NYY-G 60227 IEC 10, IEC 60502-1

IEC 60502-1

194 225 260 297 351 404 -

253 293 338 386 455 524 -

ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) -

227 264 304 348 411 474 552 629

297 345 397 455 537 620 722 823

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-21) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 3) ดูคําอธิบายรหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งานในตารางที่ 5-48

5-38

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-22 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนพีวีซี มอก.11-2553 สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 450/750 โวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินบนฉนวนลูกถ้ วยในอากาศ ลักษณะการติดตัง้

กลุม่ ที่ 4

รูปแบบการติดตัง้

D

หรื อ

D D

DD

DDD

หรื อ

DD

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400

60227 IEC 01, 60227 IEC 10, NYY ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 30 39 56 78 113 141 171 221 271 315 365 418 495 573 692

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-22) 1) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 2) ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งาน ในตารางที ่ 5-48

37 48 67 92 127 157 191 244 297 345 397 453 535 617 741

DDD

D

5-39

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-23 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ ัวนํา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 30 ºC ร้ อยท่ อฝั งดินหรื อฝั งดินโดยตรง ลักษณะการติดตัง้ จํานวนตัวนํากระแส ลักษณะตัวนํา

กลุม่ ที่ 5 2 แกนเดียว /หลายแกน

3 แกนเดียว /หลายแกน

กลุม่ ที่ 6 ไม่เกิน 3 แกนเดียว / หลายแกน

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

17 21 28 36 46 62 81 106 129 153 190 232 265 303 344 404 462 529 605

NYY, NYY-G, ตามมาตรฐาน IEC 60502-1 ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 15 19 25 33 41 55 72 94 114 136 168 204 234 266 303 361 404 462 527

21 26 35 45 57 76 99 128 154 181 223 267 304 342 386 448 507 577 654

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-23) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 30 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-44 2) ในกรณี เดิ นเป็ นกลุ่มมากกว่า 1 วงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-45 หรื อ 5-46 3) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ในท่อร้อยสาย ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ใน ตารางที ่ 5-8 4) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 5) ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งาน ในตารางที ่ 5-48 6) งานติ ดตัง้ ระบบไฟฟ้ าทีเ่ ป็ นทรัพย์ สินของการไฟฟ้ าฯ ให้พิจารณาขนาดกระแสตามมาตรฐาน การไฟฟ้ าฯ ยกเว้นไม่มีกําหนดไว้

5-40

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-24 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 300/500 โวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC หรื อ 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินในอากาศ อุณหภูมิตวั นํา

70°C 90°C 60227 IEC 05, 60227 IEC 06 60227 IEC 07, 60227 IEC 08 ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 3 3 6 6 2) 10 10 16 25

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 0.5 0.75 1 1.5 2.5

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-24) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºCให้ใช้ตวั คูณปรับค่าดังต่อไปนี ้ - สําหรับสายหุม้ ฉนวนพีวีซี 70°C อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส) ตัวคูณปรับค่า

31-35

36-40

41-45

46-50

51-55

1.11

1.00

0.87

0.71

0.50

31-50

51-55

56-60

61-65

66-70

1.00

0.96

0.83

0.67

0.47

- สําหรับสายหุม้ ฉนวนพีวีซี 90°C อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส) ตัวคูณปรับค่า

2) 3)

ค่าขนาดกระแสเฉพาะรหัสเคเบิ ล 60227 IEC 06 เท่านัน้ ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งาน ในตารางที ่ 5-48

5-41

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-25 ขนาดกระแสของสายอ่ อน (flexible cord) ตัวนําทองแดงหลายแกนหุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรั บขนาด แรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 300/500 โวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC หรื อ 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินในอากาศ จํานวนตัวนํากระแส

2

3 60227 IEC 52, 60227 IEC 53, 60227 IEC 56, 60227 IEC 57 ขนาดกระแส (แอมแปร์ )

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 0.5 0.75 1 1.5 2.5

3 6 10 16 25

3 6 10 16 20

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-25) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าดังต่อไปนี ้ - สําหรับสายหุม้ ฉนวนพีวีซี 70°C อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส) ตัวคูณปรับค่า

31-35

36-40

41-45

46-50

51-55

1.11

1.00

0.87

0.71

0.50

31-50

51-55

56-60

61-65

66-70

1.00

0.96

0.83

0.67

0.47

- สําหรับสายหุ้มฉนวนพีวีซี 90°C อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส) ตัวคูณปรับค่า

2) 3)

สายอ่อนตัวนําทิ นเซล ทีม่ ี รหัสเคเบิ ล 60227 IEC 41 มี ค่าขนาดกระแส = 0.7 แอมแปร์ ทีอ่ ณ ุ หภูมิตวั นํา 70 ºC และ อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งาน ในตารางที ่ 5-48

5-42

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-26 ขนาดกระแสของสายเคเบิลอ่ อน (flexible cable) ตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรั บขนาด แรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 450/750 โวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินในอากาศ จํานวน/ลักษณะ ตัวนํากระแส รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240

เคเบิล 1 แกน 2 เส้ น หรื อ เคเบิล 3 แกน, 4 แกน หรื อ 5 แกน เคเบิล 2 แกน 1 เส้ น มี/ไม่มี สายดิน 60227 IEC 02, VCT, VCT-G VCT, VCT-G ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 16 25 30 26 39 34 51 47 73 63 97 83 140 102 175 216 258 302 347 394 471 -

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-26) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าดังต่อไปนี ้ อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส) ตัวคูณปรับค่า

2)

31-35

36-40

41-45

46-50

51-55

1.11

1.00

0.87

0.71

0.50

ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งาน ในตารางที ่ 5-48

5-43

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-27 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ ัวนํา 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินร้ อยในท่ อในอากาศ ลักษณะการติดตัง้ กลุม่ ที่ 1 จํานวนตัวนํากระแส 2 3 ลักษณะตัวนํากระแส แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

กลุม่ ที่ 2 2 แกนเดียว

3 หลายแกน

แกนเดียว

หลายแกน

รูปแบบการติดตัง้ รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน

IEC 60502-1 และสายที่มีคณ ุ สมบัติพิเศษต่างๆ เช่น สายทนไฟ, สายไร้ ฮาโลเจน, สายควันน้ อย เป็ นต้ น

ขนาดสาย (ตร.มม.)

ขนาดกระแส (แอมแปร์ )

1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

13 17 24 32 41 56 74 96 119 144 182 219 253 289 329 386 442 -

13 17 23 30 38 52 69 90 110 132 167 200 230 264 299 351 402 -

12 15 21 28 36 49 66 86 106 128 163 197 227 259 295 346 396 -

12 15 20 27 35 46 62 81 99 118 149 179 207 236 268 315 360 -

15 21 28 38 49 68 91 121 149 180 230 278 322 358 409 480 549 622 713

15 20 27 36 46 63 83 108 133 159 201 241 278 304 349 418 484 -

14 18 25 34 44 60 80 106 131 159 202 245 284 311 349 410 468 531 606

14 18 24 32 40 55 73 96 116 140 177 212 244 273 309 362 414 -

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-27) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ในท่อร้อยสาย ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ใน ตารางที ่ 5-8 3) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 4) ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งานในตารางที ่ 5-48

5-44

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-28 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าแกนเดียวตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินบนฉนวนลูกถ้ วยในอากาศ ลักษณะการติดตัง้

กลุม่ ที่ 4

รูปแบบการติดตัง้

D

หรื อ

D D

DD

DDD

หรื อ

DD

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-28) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47

ตามมาตรฐาน IEC 60502-1 ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 47 60 82 110 147 183 224 289 354 413 480 551 654 758 917 1,064

54 68 90 124 166 206 250 321 391 455 525 602 711 821 987 1,140

DDD

D

5-45

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-29 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน มีเปลือกนอก ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ ัวนํา 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 30 ºC ร้ อยท่ อฝั งดินหรื อฝั งดินโดยตรง ลักษณะการติดตัง้ จํานวนตัวนํากระแส ลักษณะตัวนํา

กลุม่ ที่ 5 2 แกนเดียว /หลายแกน

3 แกนเดียว /หลายแกน

กลุม่ ที่ 6 ไม่เกิน 3 แกนเดียว / หลายแกน

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

25 33 43 54 71 94 124 150 180 223 271 313 355 406 477 543 625 717

IEC 60502-1 ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 22 29 38 47 63 83 109 132 159 196 238 275 312 356 418 475 545 623

33 43 55 70 92 119 152 184 217 266 318 362 406 459 533 601 684 777

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-29) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 30 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-44 2) ในกรณี เดิ นเป็ นกลุ่มมากกว่า 1 วงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตาราง 5-45 หรื อ 5-46 3) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ในท่อร้อยสาย ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ใน ตารางที ่ 5-8 4) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 5) ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งาน ในตารางที ่ 5-48 6) งานติ ดตัง้ ระบบไฟฟ้ าที ่เป็ นทรัพย์ สินของการไฟฟ้ าฯ ให้พิจารณาขนาดกระแสตามมาตรฐานการไฟฟ้ าฯ ยกเว้นไม่มี กําหนดไว้

5-46

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-30 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ ัวนํา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลแบบระบายอากาศไม่ มีฝาปิ ด หรื อรางเคเบิลแบบบันได ลักษณะการติดตัง้ ลักษณะตัวนํากระแส

กลุม่ ที่ 7 แกนเดียว

หลายแกน D

D

D D

รูปแบบการติดตัง้

D D

รหัสชนิดเคเบิลใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

99 124 151 196 239 279 324 371 441 511 599 686

D

60227 IEC 10, NYY, NYY-G และสายที่มีคณ ุ สมบัติพิเศษต่างๆ เช่น สายทนไฟ, สายไร้ ฮาโลเจน, สายควันน้ อย เป็ นต้ น ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 96 127 113 119 157 141 145 191 171 188 244 221 230 297 271 268 345 315 310 397 365 356 453 418 422 535 495 488 617 573 571 741 692 652 854 800

13 16 22 30 37 52 70 88 110 133 171 207 240 278 317 374 432 -

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-30) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-40 และตารางที ่ 541 สําหรับสายแกนเดียวและสายหลายแกน ตามลําดับ 3) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 4) ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลทีใ่ ช้งาน ในตารางที ่ 5-48

5-47

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-31 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลชนิดด้ านล่ างทึบ มี/ไม่ มี ฝาปิ ด ลักษณะการติดตัง้ ลักษณะตัวนํา

กลุม่ ที่ 7 แกนเดียว

หลายแกน

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

60227 IEC 10, NYY, NYY-G, ตามมาตรฐาน IEC 60502-1 และสายที่มีคณ ุ สมบัติพิเศษต่างๆ เช่น สายทนไฟ, สายไร้ ฮาโลเจน, สายควันตํ่า เป็ นต้ น ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 12 10 15 13 21 17 28 23 36 30 50 40 66 54 90 77 84 70 112 96 104 86 145 117 125 103 186 149 160 130 227 180 194 156 264 208 225 179 304 228 260 196 348 258 297 222 411 301 351 258 474 343 404 295 552 406 629 464 -

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-31) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร สําหรับรางเคเบิ ลแบบมี ฝาปิ ดให้ใช้ตวั คูณปรับค่า ตามทีร่ ะบุไว้ใน ตารางที ่ 5-31(ก) และสําหรับรางเคเบิ ลแบบไม่มีฝาปิ ดให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ ในตารางที ่ 5-41

ยกเว้ น การจัดวางระยะห่างระหว่างกลุ่มวงจรมากกว่าสองเท่าของผลรวมเส้นผ่านศูนย์ กลาง ภายนอก ของตัวนํากระแส ไม่ตอ้ งนําตัวคูณปรับค่าตามตารางมาพิ จารณา

5-48

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-31(ก) จํานวนกลุม่ วงจร 2 3 4 5 6 7 8 9 10-12 13-16 17-20

3) 4)

ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47 ดูคําอธิ บายรหัสชนิ ดเคเบิ ลใช้งาน ในตารางที ่ 5-48

ตัวคูณปรับค่า 0.8 0.7 0.65 0.6 0.57 0.54 0.52 0.50 0.45 0.41 0.38

5-49

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-32 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมติ ัวนํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลแบบระบายอากาศ ไม่ มีฝาปิ ด หรื อราง เคเบิลแบบบันได ลักษณะการติดตัง้ ลักษณะตัวนํากระแส

กลุม่ ที่ 7 แกนเดียว

หลายแกน D

D

D

รูปแบบการติดตัง้

D

D

D

รหัสชนิดเคเบิลใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

D

IEC 60502-1 และสายที่มีคณ ุ สมบัติพิเศษต่างๆ เช่น สายทนไฟ, สายไร้ ฮาโลเจน, สายควันน้ อยเป็ นต้ น ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 16 21 29 38 49 68 91 128 123 166 147 116 160 154 206 183 144 197 188 250 224 175 254 244 321 289 224 311 298 391 354 271 364 349 455 413 315 422 404 525 480 363 485 464 602 551 415 577 552 711 654 490 670 640 821 758 565 790 749 987 917 908 861 1,140 1,064 -

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-32) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-40 และตารางที ่ 541 สําหรับสายแกนเดียวและสายหลายแกน ตามลําดับ 3) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47

5-50

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-33 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน มีเปลือกนอก สําหรั บขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตัวนํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลชนิดด้ านล่ างทึบ มี/ ไม่ มี ฝาปิ ด ลักษณะการติดตัง้ ลักษณะตัวนํา

กลุม่ ที่ 7 แกนเดียว

หลายแกน

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิด เคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

118 147 190 244 297 345 397 455 537 620 722 823

IEC 60502-1 และสายที่มีคณ ุ สมบัติพิเศษต่างๆ เช่น สายทนไฟ, สายไร้ ฮาโลเจน, สายควันน้ อย เป็ นต้ น ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 15 20 27 36 47 65 87 106 108 131 134 159 163 202 208 245 253 284 293 311 338 349 386 410 455 468 524 531 606 -

14 18 24 32 40 55 73 96 116 140 177 212 244 273 309 362 414 -

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-33) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร สําหรับรางเคเบิ ลแบบมี ฝาปิ ดให้ใช้ตวั คูณปรับค่า ตามทีร่ ะบุไว้ใน ตารางที ่ 5-33(ก) และสําหรับรางเคเบิ ลแบบไม่มีฝาปิ ดให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ ในตารางที ่ 5-41

ยกเว้ น การจัดวางระยะห่างระหว่างกลุ่มวงจรมากกว่าสองเท่าของผลรวมเส้นผ่านศูนย์ กลาง ภายนอก ของตัวนํากระแส ไม่ตอ้ งนําตัวคูณปรับค่าตามตารางมาพิ จารณา

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-33(ก) จํานวนกลุม่ วงจร ตัวคูณปรับค่า 2 0.8 3 0.7 4 0.65 5 0.6 6 0.57 7 0.54 8 0.52 9 0.50 10-12 0.45 13-16 0.41 17-20 0.38

3)

ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47

5-51

5-52

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-34 ขนาดกระแสของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ตัวนําและเปลือก (Sheath) ทองแดง หุ้ม/ไม่ ห้ ุมพีวีซี โดยเปลือกทองแดง สามารถสัมผัสได้ อุณหภูมเิ ปลือก 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC ลักษณะการติดตัง้ ลักษณะการจัดวางสาย

กลุม่ ที่ 7 เดินเกาะผนังในอากาศ, วางบนรางเคเบิลชนิดด้ านล่างทึบ วางบนรางเคเบิลแบบระบายอากาศ ไม่มีฝาปิ ด หรื อราง ไม่มีฝาปิ ด เคเบิลแบบบันได เคเบิลแกนเดียว 2 เคเบิลแกนเดียว 3 เคเบิลแกนเดียว 3 เคเบิลแกนเดียว 2 เคเบิลแกนเดียว 3 เคเบิลแกนเดียว 3 เส้ น หรื อเคเบิล 2 เส้ น วางสามเหลี่ยม เส้ น วางเรี ยงชิดกัน เส้ น หรื อเคเบิล 2 เส้ น วาง เส้ น วางเรี ยงชิดกัน จํานวนตัวนํากระแสและ แกน 1 เส้ น วางชิด ชิดกัน หรื อเคเบิล 3 แกน 1 เส้ น วางชิด สามเหลี่ยมชิดกัน รูปแบบการติดตัง้ กัน แกน 1 เส้ น กัน หรื อเคเบิล 3 แกน 1 เส้ น รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ IEC 60702 , หรื อ AS 3187 ขนาดแรงดัน ขนาดสาย ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) (ตร.มม.) 1 16 13 14 17 14 15 500 V 1.5 20 16 18 21 18 20 (รุ่นใช้ งาน 2.5 26 22 25 28 24 26 เบา) 4 34 30 32 37 31 35 1 17 14 15 18 15 17 1.5 21 18 20 22 19 22 2.5 29 24 26 31 26 29 4 38 31 35 40 34 38 6 48 41 44 51 43 48 10 65 55 60 70 59 65 16 87 73 78 93 78 87 750 V 25 113 95 102 121 102 112 (รุ่นใช้ งาน 35 139 116 125 148 125 137 หนัก) 50 172 144 154 183 155 168 70 210 176 188 224 190 205 95 252 212 224 269 227 246 120 289 243 258 309 262 281 150 330 278 294 354 299 320 185 374 315 333 401 339 362 240 437 369 388 469 396 422

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-34) 1) สําหรับเคเบิ ลแกนเดียว เปลื อกทองแดงแต่ละเส้นของวงจรเดียวกันต้องต่อประสานเข้าด้วยกันทีป่ ลาย ทัง้ 2 ด้าน ของ วงจร 2) กรณี เคเบิ ลเปลือกนอกไม่หมุ้ พีวีซี ค่าขนาดกระแสตามตารางที ่ 5-34 ต้องคูณปรับค่าด้วย 0.9 3) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 4) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-40 5) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

5-53

ตารางที่ 5-35 ขนาดกระแสของสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ตัวนําและเปลือก (Sheath) ทองแดง โดยเปลือกทองแดงไม่ สามารถให้ บุคคลสัมผัส หรื อไม่ สามารถสัมผัสกับวัสดุตดิ ไฟได้ อุณหภูมเิ ปลือก 105 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC ลักษณะการติดตัง้ กลุม่ ที่ 7 ลักษณะการจัดวางสาย เดินเกาะผนังในอากาศ, วางบนรางเคเบิลชนิดด้ านล่างทึบ ไม่ วางบนรางเคเบิลแบบระบายอากาศ ไม่มีฝาปิ ด หรื อ มีฝาปิ ด รางเคเบิลแบบบันได เคเบิลแกนเดียว เคเบิลแกนเดียว เคเบิลแกนเดียว เคเบิลแกนเดียว เคเบิลแกนเดียว เคเบิลแกนเดียว 2 เส้ น หรื อเคเบิล 3 เส้ น วาง 3 เส้ น 2 เส้ น หรื อเคเบิล 3 เส้ น วาง 3 เส้ น จํานวนตัวนํากระแสและ 2 แกน 1 เส้ น สามเหลี่ยมชิดกัน วางเรี ยงชิดกัน 2 แกน 1 เส้ น สามเหลี่ยมชิดกัน วางเรี ยงชิดกัน รูปแบบการติดตัง้ วางชิดกัน หรื อเคเบิล 3 แกน วางชิดกัน หรื อเคเบิล 3 แกน 1 เส้ น 1 เส้ น รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ IEC 60702 , หรื อ AS 3187 ขนาดแรงดัน ขนาดสาย ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) (ตร.มม.) 1 20 17 19 22 19 21 500 V 1.5 26 22 25 29 24 27 (รุ่นใช้ งาน 2.5 35 30 33 38 32 36 เบา) 4 47 40 43 50 42 47 1 22 18 22 24 20 23 1.5 29 24 28 30 26 29 2.5 39 32 38 41 35 40 4 51 43 49 55 46 52 6 64 54 62 70 59 65 10 88 75 84 96 80 88 16 117 98 109 126 106 117 750 V 25 153 129 142 165 138 151 (รุ่นใช้ งาน 35 187 157 172 202 169 184 หนัก) 50 231 195 212 250 210 227 70 282 239 258 306 257 276 95 339 287 307 368 308 330 120 390 330 352 423 354 378 150 446 377 400 484 406 431 185 506 428 453 548 460 488 240 592 500 526 641 537 568

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-35) 1) สําหรับเคเบิ ลแกนเดียว เปลื อกทองแดงแต่ละเส้นของวงจรเดียวกันต้องต่อประสานเข้าด้วยกันทีป่ ลาย ทัง้ 2 ด้าน ของวงจร 2) อุปกรณ์ ทีต่ ่อกับสายเคเบิ ลชนิ ดเอ็มไอนี ้ จะต้องตรวจสอบให้ทราบแน่ชดั ว่า ขัว้ ต่อสายเหมาะสมที จ่ ะใช้ กับตัวนํ าที ่มีอณ ุ หภูมิสูง กว่า 70 องศาเซลเซี ยสด้วย 3) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 4) ในกรณี มีจํานวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-40 5) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47

5-54

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-36 ขนาดกระแสของสายเคเบิล ตัวนําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน เปลือกนอกพีวีซี มีชีลด์ ขนาด แรงดัน (U0/U) ตัง้ แต่ 3.6/6 กิโลโวลต์ ถึง 18/30 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตัวนํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วางบนราง เคเบิลแบบระบายอากาศ หรื อบนรางเคเบิลแบบบันได ลักษณะ การติดตัง้ จํานวน ตัวนํากระแส รหัสชนิด เคเบิลที่ใช้

กลุม่ ที่ 7 3 ตามมาตรฐาน IEC 60502-2 แบบระบายอากาศ

ชนิดรางเคเบิล

รูปแบบการ ติดตัง้

D

แบบบันได D

D

D D D

D

217 270 329 380 429 490 577 659 746

217 269 329 379 430 494 583 669 769

255 317 387 446 499 568 664 754 837

217 269 329 379 430 494 583 669 769

อยู่ระหว่างการพิจารณา

ขนาดกระแส (แอมแปร์ )

อยู่ระหว่างการพิจารณา

ขนาดสาย (ตร.มม.) 50 70 95 120 150 185 240 300 400

221 276 336 388 438 501 589 672 762

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-36) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43 2) ในกรณี เดิ นเป็ นกลุ่มมากกว่า 1 วงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-40 3) ตัวนําชีลด์มีการต่อลงดิ นทีป่ ลายทัง้ 2 ด้าน และ / หรื อต่อลงดิ นหลายตําแหน่ง 4) ดูคําอธิ บายรู ปแบบการติ ดตัง้ ในตารางที ่ 5-47

217 269 329 379 430 494 583 669 769

260 324 395 455 509 580 678 770 854

5-55

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-37 ขนาดกระแสของสายเคเบิล ตัวนําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน เปลือกนอกพีวีซี มีชีลด์ ขนาด แรงดัน (U0/U) ตัง้ แต่ 3.6/6 กิโลโวลต์ ถึง 18/30 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตัวนํา 90 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC (เดินร้ อยใน ท่ อในอากาศ) และ 30 ºC (ร้ อยท่ อฝั งดิน) ลักษณะการติดตัง้ จํานวนตัวนํากระแส ลักษณะตัวนํา

กลุม่ ที่ 2

กลุม่ ที่ 5 ไม่เกิน 3 แกนเดียว

รูปแบบการติดตัง้

รหัสชนิดเคเบิลที่ใช้ งาน ขนาดสาย (ตร.มม.) 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

ตามมาตรฐาน IEC 60502-2 ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 148 175 215 265 303 348 396 478 551 636 730

149 178 218 265 303 341 386 454 521 607 706

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-37) 1) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC (เดิ นร้อยในท่อในอากาศ) และ 30 ºC (ร้อยท่อฝั งดิ น) ให้ใช้ตวั คูณ ปรับค่าตามที ่ ระบุไว้ในตารางที ่ 5-43 และ 5-44 ตามลําดับ 2) งานติ ดตัง้ ระบบไฟฟ้ าทีต่ อ้ งการมอบทรัพย์สินหรื อเป็ นทรัพย์สินของการไฟฟ้ าฯ ให้พิจารณาขนาดกระแสตามมาตรฐาน การไฟฟ้ าฯ ยกเว้นไม่มีกําหนดไว้

5-56

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-38 ขนาดกระแสสายเคเบิลตัวนําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนครอสลิงกด์ พอลิเอทิลีน มีเปลือกนอก อุณหภูมติ วั นํา 90 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 30 ºC ขนาดแรงดัน (U0/U) 3.6/6 ถึง 18/30 กิโลโวลต์ เดินใน duct bank ไม่ เกิน 8 ท่ อ ขนาดสาย (ตร.มม.) 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

1 175 210 251 313 357 405 461 535 611 694 797

2 160 191 228 282 322 362 410 475 539 619 695

ขนาดกระแสต่อ 1 วงจร (แอมแปร์ ) จํานวนวงจรทังหมด ้ 3 4 5 6 147 137 130 122 175 162 153 144 208 193 182 171 256 236 222 208 292 270 254 238 327 300 282 263 369 339 318 296 427 392 367 342 481 440 411 382 553 507 473 440 616 560 522 483

7 116 136 161 196 224 248 278 321 358 412 451

8 110 130 154 187 213 235 264 305 339 391 427

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-38) 1) การคํานวณอิ งจากมาตรฐาน IEC 60287 ตามสภาพเงือ่ นไขดังต่อไปนี ้ • สําหรับระบบแรงสูง ชีลด์ มีต่อการลงดิ นลักษณะต่อปลายทัง้ สองด้าน และ/หรื อ ต่อลงดิ นหลายจุด • มีเคเบิ ล (ตัวนํากระแส) 3 เส้นใน 1 ท่อ 2) งานติ ดตัง้ ระบบไฟฟ้ าทีต่ อ้ งการมอบทรัพย์สินหรื อเป็ นทรัพย์สินของการไฟฟ้ าฯ ให้พิจารณาขนาดกระแสตามมาตรฐาน การไฟฟ้ าฯ ยกเว้นไม่มีกําหนดไว้

5-57

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-39 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าเครื่ องเชื่อม (ตัวนําทองแดง) ตาม มอก.448-2525 ขนาดสาย (ตร.มม.) 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240

100 87 115 155 195 250 310 375 435 510 570 680

60 110 150 200 250 320 400 485 570 660 740 880

ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) วัฏจักรทํางานสูงสุด *, ร้ อยละ 30 25 160 175 215 235 285 315 355 390 450 495 560 620 685 750 790 870 930 1,020 1,040 1,150 1,240 1,360

20 195 260 350 440 560 690 840 970 1,140 1,280 1,520

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-39) *หมายถึง วัฏจักรทํางานร้ อยละ 100 กํ าหนดจากเวลาที จ่ ่ายไฟฟ้ าให้เครื ่องเชื ่อมในเวลา 1 ชัว่ โมง ส่วนวัฏจักร ทํางานอื ่นๆ กําหนดจากเวลาทีจ่ ่ายไฟฟ้ าให้เครื ่องเชือ่ มใน 5 นาที

5-58

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

1 2 3

1 1.00 0.96 0.95

จํานวนกลุม่ วงจรต่อรางเคเบิล 2 3 4 5-6 0.91 0.87 0.82 0.78 0.87 0.81 0.78 0.74 0.85 0.78 0.75 0.70

7-9 0.77 รูปแบบวางชิด 0.69 กันใน 0.65 แนวนอน

1 2

1.00 0.95

0.86 0.84

0.80 0.77

0.75 0.72

0.71 0.67

0.70 รูปแบบวางชิด 0.66 กันในแนวตัง้

> 300mm

1 2 3

1.00 0.98 0.97

0.97 0.93 0.90

0.96 0.89 0.86

0.94 0.88 0.83

0.93 0.86 0.80

0.92 รูปแบบวางชิด 0.83 กันใน 0.77 แนวนอน

> 300mm

ตารางที่ 5-40 ตัวคูณปรั บค่ าขนาดกระแสสําหรั บสายเคเบิลแกนเดียว วางบนรางเคเบิล เป็ นกลุ่มมากกว่ า 1 วงจร จํานวน รางเคเบิล

1 2 3

1.00 0.97 0.96

0.98 0.93 0.92

0.96 0.89 0.86

0.93 0.85 0.82

0.89 0.80 0.76

-

1 2

1.00 1.00

0.91 0.90

0.89 0.86

0.88 0.85

0.87 0.83

-

1 2 3

1.00 0.97 0.96

1.00 0.95 0.94

1.00 0.93 0.90

1.00 0.92 0.89

1.00 0.91 0.86

-

วิธีการติดตัง้

> 300mm

รางเคเบิลแบบ ระบายอากาศ (หมายเหตุ 2))

ลักษณะการ จัดเรี ยงเคเบิล

a a > 20mm

รางเคเบิลแบบ ระบายอากาศวาง แนวตัง้ (หมายเหตุ 3)) รางเคเบิลแบบ บันได (หมายเหตุ 2))

> 225mm

a a > 20mm

รางเคเบิลแบบ ระบายอากาศ (หมายเหตุ 2))

>2D D a a > 20mm

>2D D > 225mm

>2D D a a > 20mm

> 300mm

รางเคเบิลแบบ ระบายอากาศวาง แนวตัง้ (หมายเหตุ 3)) รางเคเบิลแบบ บันได (หมายเหตุ 2))

รูปแบบวางชิด กันแบบ สามเหลี่ยม ห่างกันไม่ น้ อยกว่า 2 เท่า ของเส้ น ผ่าน ศูนย์กลาง เคเบิล

5-59

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-40 (ต่ อ) ตัวคูณปรั บค่ าขนาดกระแสสําหรั บสายเคเบิลแกนเดียว วางบนรางเคเบิล เป็ นกลุ่มมากกว่ า 1 วงจร

รางเคเบิลแบบ ระบายอากาศ (หมายเหตุ 2))

D

> 300mm

วิธีการติดตัง้

D

จํานวน ราง เคเบิล 1 2 3

1 1.00 0.97 0.96

จํานวนกลุม่ วงจรต่อรางเคเบิล 2 3 4 5-6 0.93 0.89 0.88

0.90 0.85 0.82

0.87 0.81 0.78

0.83 0.76 0.72

7-9 -

a a > 20mm D D

1 2

1.00 0.94

0.91 0.90

0.89 0.86

0.88 0.85

0.87 0.83

-

1 2 3

1.00 0.97 0.96

0.97 0.94 0.93

0.96 0.93 0.92

0.96 0.92 0.91

0.96 0.91 0.88

-

> 225mm

D

D

> 300mm

รางเคเบิลแบบ ระบายอากาศวาง แนวตัง้ (หมายเหตุ 3)) รางเคเบิลแบบบันได (หมายเหตุ 2))

ลักษณะ การจัดเรี ยง เคเบิล

รูปแบบวาง ห่างกันไม่ น้ อยกว่า เส้ นผ่าน ศูนย์กลาง เคเบิล

a a > 20mm

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-40) 1) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การวางสายไฟฟ้ าชัน้ เดียวเท่านัน้ 2) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติ ดตัง้ รางเคเบิ ลในแนวนอนที ม่ ี ระยะห่างระหว่างรางเคเบิ ลในแนวดิ่ ง ไม่น้อยกว่า 300 มม. และติ ดตัง้ รางเคเบิ ลห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 20 มม.เท่านัน้ 3) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติ ดตัง้ รางเคเบิ ลในแนวดิ่ งที ่มีระยะห่างระหว่างรางเคเบิ ลในแนวราบ ไม่น้อยกว่า 225 มม.เท่านัน้ 4) ในกรณี ทีจ่ ํ านวนรางเคเบิ ลมากกว่าหนึ่งราง ตัวคูณปรับค่าให้คิดจากรางเคเบิ ลทีม่ ีกลุ่มวงจรมากทีส่ ดุ

5-60

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-41 ตัวคูณปรั บค่ าขนาดกระแสสําหรั บสายเคเบิลหลายแกน วางบนรางเคเบิลแบบระบายอากาศ แบบด้ านล่ างทึบ หรื อแบบบันได เมื่อวางเป็ นกลุ่มมากกว่ า 1 วงจร จํานวนรางเคเบิล

วิธีการติดตัง้

1 > 300mm

รางเคเบิลแบบระบาย อากาศ(หมายเหตุ 2)) a > 20mm

D D

> 300mm

a

จํานวนเคเบิลต่อรางเคเบิล 2 3 4 5-6

7-9

1 2 3 4-6 1 2 3

1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0

0.88 0.87 0.86 0.84 1.0 0.99 0.98

0.82 0.80 0.79 0.77 0.98 0.96 0.95

0.77 0.77 0.76 0.73 0.95 0.92 0.91

0.73 0.73 0.71 0.68 0.91 0.87 0.85

0.72 0.68 0.66 0.64 -

1 2

1.0 1.0

0.88 0.88

0.82 0.81

0.77 0.76

0.73 0.71

0.72 0.70

1 2

1.0 1.0

0.91 0.91

0.89 0.88

0.88 0.87

0.87 0.85

-

1 2 3 4-6 1 2 3 4-6 1 2 3

0.97 0.97 0.97 0.97 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0

0.84 0.83 0.82 0.81 0.87 0.86 0.85 0.84 1.0 0.99 0.98

0.78 0.76 0.75 0.73 0.82 0.80 0.79 0.77 1.0 0.98 0.97

0.75 0.72 0.71 0.69 0.80 0.78 0.76 0.73 1.0 0.97 0.96

0.71 0.68 0.66 0.63 0.79 0.76 0.73 0.68 1.0 0.96 0.93

0.68 0.63 0.61 0.58 0.78 0.73 0.70 0.64 -

a a > 20mm

รางเคเบิลแบบระบาย อากาศวางแนวตัง้ (หมายเหตุ 3)) > 225m m D D > 225mm

> 300mm

รางเคเบิลแบบด้ านล่าง ทึบ (หมายเหตุ 2)) a a > 20mm

> 300mm

รางเคเบิลแบบบันได (หมายเหตุ 2))

D D

> 300mm

a a > 20mm

a a > 20mm

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-41) 1) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การวางสายไฟฟ้าชัน้ เดียวเท่านัน้ 2) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติ ดตัง้ รางเคเบิ ลในแนวนอนที ่มีระยะห่างระหว่างรางเคเบิ ลในแนวดิ่ ง ไม่น้อยกว่า 300 มม. และติ ดตัง้ รางเคเบิ ลห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 20 มม.เท่านัน้ 3) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติ ดตัง้ รางเคเบิ ลในแนวดิ่ งที ่มีระยะห่างระหว่างรางเคเบิ ลในแนวราบ ไม่น้อยกว่า 225 มม. เท่านัน้ 4) ในกรณี ทีจ่ ํานวนรางเคเบิ ลมากกว่าหนึ่งราง ตัวคูณปรับค่าให้คิดจากรางเคเบิ ลทีม่ ี กลุ่มวงจรมากทีส่ ดุ

5-61

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-42 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าอลูมิเนี ยมหุ้มฉนวนพีวีซีตาม มอก.293-2541 ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 450/750 โวลต์ อุณหภูมติ วั นํา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC เดินบนฉนวนลูกถ้ วยในอากาศ รูปแบบการติดตัง้

D DDD

D

D DD

ขนาดสาย (ตร.มม.) 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

ขนาดกระแส (แอมแปร์ ) 97 121 147 189 231 268 310 354 419 485 584 674

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-42) อุณหภูมิโดยรอบทีแ่ ตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที ่ 5-43

86 108 132 171 210 245 284 327 389 452 547 635

5-62

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-43 ตัวคูณปรั บค่ าอุณหภูมโิ ดยรอบที่แตกต่ างจาก 40 ºC ใช้ กับค่ าขนาดกระแสของเคเบิล เมื่อเดินในอากาศ ฉนวน

อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส)

PVC

11-15 16-20 21-25 26-30 31-35 36-40 41-45 46-50 51-55 56-60 61-65 66-70 71-75 76-80 81-85 86-90 91-95

1.34 1.29 1.22 1.15 1.08 1.00 0.91 0.82 0.70 0.57 -

XLPE หรื อ EPR 1.23 1.19 1.14 1.10 1.05 1.00 0.96 0.90 0.84 0.78 0.71 0.64 0.55 0.45 -

เอ็มไอ 70oC 1.41 1.34 1.26 1.18 1.09 1.00 0.91 0.79 0.67 0.53 -

105oC 1.21 1.16 1.13 1.09 1.04 1.00 0.96 0.91 0.87 0.82 0.76 0.70 0.65 0.59 0.51 0.43 0.35

5-63

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-44 ตัวคูณปรับค่ าอุณหภูมโิ ดยรอบแตกต่ างจาก 30 ºC ใช้ กับค่ าขนาดกระแสของเคเบิล เมื่อเดินใต้ ดนิ อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส) 11-15 16-20 21-25 26-30 31-35 36-40 41-45 46-50 51-55 56-60 61-65 66-70 71-75 76-80

ฉนวน PVC 1.18 1.12 1.07 1.0 0.94 0.87 0.80 0.71 0.62 0.51 -

XLPE หรื อ EPR 1.12 1.08 1.03 1.0 0.96 0.91 0.86 0.82 0.76 0.70 0.65 0.57 0.49 0.41

5-64

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ

ตารางที่ 5-45 ตัวคูณปรั บค่ าสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว หรือหลายแกน ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ ฝั งดินโดยตรง เมื่อ วางเป็ นกลุ่มมากกว่ า 1 วงจร วางเรี ยงกันแนวระดับ จํานวนวงจร

วางชิดกัน

2 3 4 5 6

0.75 0.65 0.60 0.55 0.50

ระยะห่างระหว่างผิวด้ านนอกเคเบิล แต่ละวงจร (มม.) เส้ นผ่านศูนย์กลาง 125 250 เคเบิล 1 เส้ น 0.80 0.85 0.90 0.70 0.75 0.80 0.60 0.70 0.75 0.55 0.65 0.70 0.55 0.60 0.70

500 0.90 0.85 0.80 0.80 0.80

ตารางที่ 5-46 ตัวคูณปรั บค่ าสําหรั บสายเคเบิลแกนเดียว หรื อหลายแกน ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ ร้ อยท่ อฝั งดิน โดยตรง เมื่อวางเป็ นกลุ่มมากกว่ า 1 วงจร วางเรี ยงกันแนวระดับ จํานวนวงจร 2 3 4 5 6

วางชิดกัน 0.85 0.75 0.70 0.65 0.60

ระยะห่างระหว่างผิวด้ านนอกท่อ แต่ละวงจร (มม.) 250 500 0.90 0.95 0.85 0.90 0.80 0.85 0.80 0.85 0.80 0.80

1,000 0.95 0.95 0.90 0.90 0.90

5-65

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-47 รู ปแบบการติดตัง้ อ้ างอิง วิธีการเดินสาย สายแกนเดียวหรื อหลายแกนหุ้ม ฉนวน มี/ไม่มีเปลือกนอก เดิน ช่องเดินสายโลหะหรื ออโลหะ ภายในฝ้าเพดานที่เป็ นฉนวน ความร้ อน หรื อผนังกันไฟ

รูปแบบการติดตัง้

ลักษณะการติดตัง้

หรื อ

กลุม่ ที่ 1

หรื อ

กลุม่ ที่ 2

หรื อ

กลุม่ ที่ 3

สายแกนเดียวหรื อหลายแกนหุ้ม ฉนวน มี/ไม่มีเปลือกนอก เดินใน ช่องเดินสายโลหะหรื ออโลหะเดิน เกาะผนังหรื อเพดาน หรื อฝั งใน ผนังคอนกรี ตหรื อที่คล้ ายกัน

สายแกนเดียวหรื อหลายแกนหุ้ม ฉนวนมีเปลือกนอก เดินเกาะผนัง หรื อเพดาน ที่ไม่มีสิ่งปิ ดหุ้มที่ คล้ ายกัน สายเคเบิลแกนเดียวหุ้มฉนวน มี/ ไม่มีเปลือกนอก วางเรี ยงกันแบบ มีระยะห่าง เดินบนฉนวนลูกถ้ วย ในอากาศ สายแกนเดียวหรื อหลายแกนหุ้ม ฉนวนมีเปลือกนอก เดินในท่อ โลหะหรื ออโลหะฝั งดิน สายแกนเดียว หรื อหลายแกน หุ้ม ฉนวน มีเปลือกนอก ฝั งดิน โดยตรง

D D

หรื อ

DDD

D

กลุม่ ที่ 4

DD

หรื อ

หรื อ

หมายเหตุ ฝ้าเพดาน หรื อผนัง กันไฟที่เป็ นฉนวน ความร้ อนคือวัสดุที่มี ค่าการนําทางความ ร้ อน (thermal conductance) อย่าง น้ อย 10 W/m2xK* กรณีฝังในผนัง คอนกรี ตหรื อที่ คล้ ายกันผนังนัน้ จะต้ องมีคา่ ความ ต้ านทานความร้ อน (thermal resistivity) ไม่เกิน 2 Kxm/W -

ระยะห่างถึงผนังและ ระหว่างเคเบิลไม่น้อย กว่าเส้ นผ่าน ศูนย์กลางเคเบิล -

กลุม่ ที่ 5 กลุม่ ที่ 6

5-66

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-47 (ต่ อ) รู ปแบบการติดตัง้ อ้ างอิง วิธีการเดินสาย สายเคเบิลแกนเดียวหรื อหลาย แกนหุ้มฉนวน มีเปลือกนอก วาง บนรางเคเบิลแบบด้ านล่างทึบ, รางเคเบิลแบบระบายอากาศ หรื อรางเคเบิลแบบบันได

รูปแบบการติดตัง้

หรื อ

ลักษณะการติดตัง้

กลุม่ ที่ 7

หมายเหตุ รางเคเบิลแบบ ระบายอากาศจะต้ อง มีพื ้นที่รูระบาย อากาศไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 30 ของพื ้นผิว รางเคเบิลทังหมด ้

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-47) *หากไม่มีเอกสารยื นยันว่าค่าการนําความร้อนมี ค่าน้อยกว่า 10 W/m2.K ให้ถือว่าการเดิ นสายร้อยท่อภายในฝ้ าเพดาน หรื อ ผนังกันไฟใดๆ จะต้องมีค่าขนาดกระแสตามลักษณะการติ ดตัง้ ตามกลุ่มที ่ 1 นี ้ ระบุไว้

5-67

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-48 ข้ อกําหนดการใช้ งานของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดง หุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 รหัสชนิด ขนาดสาย เคเบิล/ชื่อ (ตร.มม.) เรี ยก

60227 IEC 01

60227 IEC 02

60227 IEC 05

60227 IEC 06

60227 IEC 07

1.5-400

1.5-240

0.5-1.0

0.5-1.0

0.5-2.5

ลักษณะ ตัวนํา

เดี่ยวแข็ง (Solid) หรื อตีเกลียว (Stranded)

ฝอย (Flexible)

เดี่ยวแข็ง (Solid)

ฝอย (Flexible)

เดี่ยวแข็ง (Solid)

จํานวน แกน

แกนเดียว

แกนเดียว

แกนเดียว

แกนเดียว

แกนเดียว

อุณหภูมิ ตัวนํา

70°C

70°C

70°C

70°C

90°C

เปลือก นอก

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

แรงดัน ไฟฟ้า Uo/U (โวลต์)

การใช้ งาน

450/750

• ใช้ งานทัว่ ไป • เดินในช่องเดินสายและต้ อง ป้องกันนํ ้าเข้ าช่องเดินสาย • ห้ ามร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง

450/750

• ใช้ งานทัว่ ไป • เดินในช่องเดินสายและต้ อง ป้องกันนํ ้าเข้ าช่องเดินสาย • ห้ ามร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง

300/500

• ใช้ งานทัว่ ไป • เดินในช่องเดินสายและต้ อง ป้องกันนํ ้าเข้ าช่องเดินสาย • ห้ ามร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง

300/500

• ใช้ งานทัว่ ไป • เดินในช่องเดินสายและต้ อง ป้องกันนํ ้าเข้ าช่องเดินสาย • ห้ ามร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง

300/500

• ใช้ งานทัว่ ไป • เดินในช่องเดินสายและต้ อง ป้องกันนํ ้าเข้ าช่องเดินสาย • ห้ ามร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง

5-68

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-48 (ต่ อ) ข้ อกําหนดการใช้ งานของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดง หุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553

รหัสชนิด ขนาดสาย เคเบิล/ชื่อ (ตร.มม.) เรี ยก

60227 IEC 08

0.5-2.5

ลักษณะ ตัวนํา

ฝอย (Flexible)

จํานวน แกน

แกนเดียว

อุณหภูมิ ตัวนํา

90°C

เปลือก นอก

ไม่มี

แรงดัน ไฟฟ้า Uo/U (โวลต์)

การใช้ งาน

300/500

• ใช้ งานทัว่ ไป • เดินในช่องเดินสายและต้ อง ป้องกันนํ ้าเข้ าช่องเดินสาย • ห้ ามร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง

1.5-35

ตีเกลียว (Stranded)

หลายแกน (มี/ไม่มี สายดิน)

70°C

มี

300/500

• ใช้ งานทัว่ ไป • เดินในช่องเดินสายและต้ อง ป้องกันนํ ้าเข้ าช่องเดินสาย • วางบนรางเคเบิล • ห้ ามร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดิน โดยตรง

60227 IEC 41

0.8

ตีเกลียว (Stranded)

2 แกน

70°C

ไม่มี

300/300

• ใช้ งานภายในอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์

60227 IEC 43

0.5-0.75

ฝอย (Flexible)

1 แกน

70°C

มี

300/300

• ใช้ ตอ่ ไฟประดับตกแต่งภายใน อาคาร

0.5-0.75

ฝอย (Flexible)

หลายแกน (มี/ไม่มี สายดิน)

300/300

• ใช้ ตอ่ เข้ าเครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดหยิบ ยกได้ • ใช้ งานภายในเครื่ องใช้ ไฟฟ้า

0.75-2.5

ฝอย (Flexible)

หลายแกน (มี/ไม่มี สายดิน)

300/500

• ใช้ ตอ่ เข้ าเครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดหยิบ ยกได้ (ใช้ งานหนัก) • ใช้ ตอ่ เข้ าดวงโคม

0.5-0.75

ฝอย (Flexible)

หลายแกน (มี/ไม่มี สายดิน)

60227 IEC 10

60227 IEC 52 60227 IEC 53

60227 IEC 56

70°C

70°C

90°C

มี

มี

มี

300/300

• ใช้ ตอ่ เข้ าเครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดหยิบ ยกได้ (ใช้ งานหนัก)

5-69

บทที่ 5 ข้ อกําหนดการเดินสายและวัสดุ ตารางที่ 5-48 (ต่ อ) ข้ อกําหนดการใช้ งานของสายไฟฟ้าตัวนําทองแดง หุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 รหัสชนิด ขนาดสาย เคเบิล/ชื่อ (ตร.มม.) เรี ยก

60227 IEC 57

0.75-2.5

ลักษณะ ตัวนํา

ฝอย (Flexible)

50-300 NYY-G

VAF VAF-G

VCT VCT-G

ตีเกลียว (Stranded)

4-35

90°C

เปลือก นอก

มี

การใช้ งาน

300/500

• ใช้ ตอ่ เข้ าเครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดหยิบ ยกได้ (ใช้ งานหนัก) • ใช้ ในดวงโคมไฟฟ้าที่มี/ไม่มีบลั ลาสต์ • ใช้ ในป้ายโฆษณา/ป้ายไฟฟ้า

หลายแกน

70°C

มี

450/750

• ใช้ งานทัว่ ไป • วางบนรางเคเบิล • ร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดินโดยตรง

หลายแกน มีสายดิน

25-300

1-16

หลายแกน (มี/ไม่มี สายดิน)

อุณหภูมิ ตัวนํา

แกนเดี่ยว

1-500 NYY

จํานวน แกน

แรงดัน ไฟฟ้า Uo/U (โวลต์)

เดี่ยวแข็ง (Solid) หรื อตีเกลียว (Stranded)

2 แกน 2 แกนมี สายดิน

ฝอย (Flexible)

แกนเดี่ยว หลายแกน และหลาย แกนมีสาย ดิน

หมายเหตุ (ตารางที ่ 5-48) การใช้งานต้องสอดคล้องกับวิ ธีการเดิ นสายด้วย

70°C

70°C

มี

มี

300/500

450/750

• เดินเกาะผนัง • เดินในช่องเดินสาย ห้ ามร้ อยท่อ • ห้ ามฝั งดิน • • • •

ใช้ งานทัว่ ไป ใช้ ตอ่ เข้ าเครื่ องใช้ ไฟฟ้า วางบนรางเคเบิล ร้ อยท่อฝั งดินหรื อฝั งดินโดยตรง

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-1

บทที่ 6 บริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ข้ อกําหนดในบทนี ้เกี่ ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้าสําหรับบริ ภัณฑ์ โคมไฟฟ้า สวิตช์ เต้ ารั บ และเต้ าเสียบ มอเตอร์ วงจรมอเตอร์ และเครื่ องควบคุม หม้ อแปลง ห้ องหม้ อแปลง ลานหม้ อ แปลง และคาปาซิเตอร์

6.1 โคมไฟฟ้าและเครื่องประกอบการติดตัง้ 6.1.1 ทั่วไป ให้ ใช้ กับโคมไฟฟ้า ขั้วรับหลอด สายเข้ าดวงโคมชนิดแขวน หลอดไส้ หลอดไฟอาร์ ก หลอดไฟ ปล่อยประจุ การเดินสายของดวงโคมและบริ ภณ ั ฑ์ที่เป็ นส่วนประกอบของดวงโคม 6.1.2

โคมไฟฟ้าและเครื่ องประกอบการติดตังต้ ้ องไม่มีส่วนที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่งให้ สมั ผัสได้

6.1.3 ดวงโคมไฟฟ้าและเครื่ องประกอบการติดตั้งต้ องเหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมที่ติดตั ้ง เมื่อการติดตั้งในสถานที่เปี ยกหรื อสถานที่ชื ้นต้ องใช้ ดวงโคมชนิดที่นํ ้าไม่สามารถเข้ าไปในดวง โคมหรื อเครื่ องประกอบการติดตั้งได้ เมื่ออยูใ่ นสภาพการใช้ งานตามปกติ 6.1.4

ดวงโคมใกล้ วสั ดุตดิ ไฟ ต้ องมีสงิ่ ป้องกันหรื อกั ้นไม่ให้ วสั ดุตดิ ไฟได้ รับความร้ อนเกิน 90 ºC

6.1.5 ดวงโคมและขัวรั ้ บหลอด ต้ องมีการจับยึดอย่างแข็งแรงและเหมาะสมกับนํ ้าหนักของ ดวงโคม ดวงโคมที่มีนํ ้าหนักเกินกว่า 2.5 กิโลกรัม หรื อมีขนาดใหญ่กว่า 400 มม. ห้ ามใช้ ขั้วรับ หลอดเป็ นตัวรับนํ ้าหนักของดวงโคม 6.1.6 การเดินสายดวงโคม 6.1.6.1 การเดินสายดวงโคม ต้ องจัดทําให้ เรี ยบร้ อยเพื่อป้องกันความเสียหายทางกายภาพ และให้ ใช้ สายเท่าที่จําเป็ นเท่านั้น และต้ องไม่ทําให้ อุณหภูมิของสายนั้นสูงกว่าอุณหภูมิใช้ งาน สูงสุดของสาย 6.1.6.2 ขนาดกระแสของสายต้ องไม่ตํ่ากว่ากระแสของดวงโคม ขนาดสายไฟฟ้าสําหรับดวง โคม 1 ชุด ต้ องไม่เล็กกว่า 1.0 ตร.มม. และต้ องเป็ นชนิดที่เหมาะสมกับสภาพการใช้ งาน 6.1.6.3 ขั้วรับหลอดชนิดเกลียวเมื่อใช้ กับระบบไฟฟ้าที่มีตวั นํานิวทรัล ส่วนเกลียวโลหะที่เป็ น ทางเดินของกระแสไฟฟ้าต้ องต่อกับตัวนํานิวทรัลเท่านั้น

6-2

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.1.7 ดวงโคมต้ องติดตั้งให้ สามารถตรวจสอบการต่อสายระหว่างสายดวงโคมกับสายของ วงจรย่อยได้ โดยสะดวก 6.1.8 ฉนวนของสายในดวงโคม 6.1.8.1 สายที่ใช้ ในดวงโคมต้ องมีฉนวนที่เหมาะสมกับกระแส แรงดันและอุณหภูมิใช้ งาน 6.1.8.2 ดวงโคมที่ติดตั้งในสถานที่เปี ยกชื ้น หรื อสถานที่ที่มีการผุกร่ อนได้ ต้ องใช้ สายชนิดที่ ได้ รับการรับรองเพื่อใช้ สําหรับจุดประสงค์นั้นแล้ ว 6.1.9 การต่ อและการต่ อแยก 6.1.9.1 จุดต่อหรื อจุดต่อแยกของสายต้ องไม่อยูใ่ นก้ านดวงโคม 6.1.9.2 การต่อหรื อการต่อแยกของสายให้ มีในดวงโคมได้ เท่าที่จําเป็ นเท่านั้น 6.1.9.3 สายไฟที่อยู่ในตู้แสดงสินค้ าต้ องเดินในช่องเดินสาย และส่วนที่มีไฟฟ้าต้ องไม่อยู่ในที่ เปิ ดเผย 6.1.9.4 กล่องจุดต่อไฟฟ้าเข้ าดวงโคมต้ องมีฝาครอบ หรื อปิ ดด้ วยฝาครอบดวงโคมขั้วรับหลอด เต้ ารับ เต้ าเพดาน หรื ออุปกรณ์ที่คล้ ายกัน

6.2 สวิตช์ เต้ ารับ (Receptacle) และเต้ าเสียบ (Plug) 6.2.1 สวิตช์และเต้ ารับที่ใช้ งานต้ องมีพิกัดกระแส แรงดัน และประเภทเหมาะสมกับสภาพ การใช้ งาน เต้ ารับต้ องไม่เป็ นประเภทที่ใช้ เป็ นขั้วหลอดได้ ด้วย 6.2.2 สวิตช์และเต้ ารับที่ใช้ กลางแจ้ ง หรื อสถานที่เปี ยกชื ้น ต้ องเป็ นชนิดที่ระบุ IP ให้ เหมาะ กับสภาพการใช้ งาน กรณีป้องกันนํ ้าสาดให้ ใช้ ไม่ตํ่ากว่า IPX4 กรณีป้องกันนํ ้าฉี ดให้ ใช้ ไม่ตํ่า กว่า IPX5 ตามข้ อ 2.8 6.2.3 เต้ า รับ แบบติด กับ พื ้นหรื อ ฝั ง พื ้น การติด ตั ้งต้ อ งป้ องกัน หรื อ หลีก เลี่ย งจากความ เสียหายทางกายภาพเนื่องจากการทําความสะอาดพื ้นและการใช้ งาน 6.2.4

สวิตช์และเต้ ารับต้ องติดตั้งอยูเ่ หนือระดับนํ ้าที่อาจท่วมหรื อขังได้

6.2.5 ขนาดสายสํ า หรั บ เต้ า รั บ ใช้ งานทั่ว ไปแต่ล ะชุด ต้ อ งไม่เ ล็ก กว่า 1.5 ตร.มม. และ สําหรับเต้ ารับใช้ งานเฉพาะ สายไฟฟ้าต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าพิกัดเต้ ารับ แต่ไม่ต้องใหญ่ กว่าขนาดของวงจรย่อยนั้น 6.2.6

เต้ ารับให้ เป็ นไปตามข้ อ 3.1.7

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-3

6.2.7 ขัวสายเต้ ้ ารับชนิดมีสายดินตาม มอก.166-2549 จะต้ องมีการเรี ยงขัวเฟส ้ นิวทรัล และสายดินแบบทวนเข็มนาฬิกา เมื่อมองจากด้ านหน้ า 6.2.8 ขาเสียบเต้ าเสียบชนิดมีสายดินตาม มอก.166-2549 จะต้ องมีการเรี ยงขัวเฟส ้ นิวทรัล และสายดินแบบตามเข็มนาฬิกา เมื่อมองจากด้ านหน้ า 6.3 มอเตอร์ วงจรมอเตอร์ และเครื่องควบคุม ตอน ก. ทั่วไป 6.3.1 ข้ อกําหนดนี ้ใช้ สําหรับการติดตั ้งมอเตอร์ วงจรมอเตอร์ และเครื่ องควบคุมมอเตอร์ ทั่วไปในกรณี ที่ติดตั้งในสถานที่เฉพาะ เช่น ในบริ เวณอันตราย ให้ ดูรายละเอียดในเรื่ องนั้นๆ ประกอบด้ วย 6.3.2 บุชชิง เมื่อเดินสายผ่านช่องเปิ ดของเครื่ องห่อหุ้ม กล่องต่อท่อหรื อผนังต้ องใช้ บุชชิงเพื่อป้องกันความ เสียหายของสาย บุชชิงต้ องทําจากวัสดุที่ทนต่อสภาพแวดล้ อม เช่น ทนต่อนํ ้ามันหล่อลื่น จาระบี สารเคมี หรื ออื่นๆ 6.3.3 ที่ตงั ้ 6.3.3.1 มอเตอร์ ต้องติดตั ้งในสถานที่ที่สามารถระบายอากาศได้ สะดวกและสามารถเข้ า ไปบํารุงรักษาได้ งา่ ย ยกเว้ น มอเตอร์ ทีเ่ ป็ นส่วนประกอบของบริ ภณ ั ฑ์ ทีส่ ําเร็ จรู ป 6.3.3.2 มอเตอร์ แบบเปิ ดที่มีแปรงถ่าน ต้ องติดตั้งในสถานที่ หรื อมี มาตรการป้ องกันไม่ให้ ประกายไฟที่อาจเกิดขึ ้นกระเด็นไปถูกวัสดุตดิ ไฟได้ 6.3.3.3 ในสถานที่ที่มีละออง หรื อวัสดุที่ปลิวได้ ซงึ่ สามารถเกาะติดหรื อเข้ าไปภายในมอเตอร์ ได้ มากพอที่จะทําให้ มอเตอร์ ระบายอากาศและความร้ อนไม่สะดวก ในสถานที่เช่นนี ต้ ้ องใช้ มอเตอร์ ชนิดปิ ด 6.3.4 มอเตอร์ ตัวใหญ่ ท่ สี ุด การพิจารณาตัดสินว่ามอเตอร์ ตวั ใดใหญ่ที่สดุ ให้ ดจู ากพิกดั กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์

6-4

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

ตอน ข. สายสําหรั บวงจรมอเตอร์ 6.3.5 สายสําหรั บมอเตอร์ ตัวเดียว 6.3.5.1 สายของวงจรย่อยที่จ่ายให้ มอเตอร์ ตวั เดียว ต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าร้ อยละ 125 ของพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ ยกเว้ น มอเตอร์ ชนิ ดความเร็ วหลายค่าทีน่ ํามาใช้ งาน ประเภทใช้งานระยะสัน้ ใช้งานเป็ นระยะ ใช้งานเป็ นคาบ และใช้งานที เ่ ปลี ่ยนแปลง สาย ต้องมี ขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าจํ านวนร้อยละของพิ กดั กระแสบนแผ่นป้ ายประจํ าเครื ่องตามตาราง ที ่ 6-1 6.3.5.2 สายของวงจรย่อยมอเตอร์ ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 1.5 ตร.มม. 6.3.6 สายด้ านทุตยิ ภูมิของมอเตอร์ แบบเวาด์ โรเตอร์ (Wound-Rotor) 6.3.6.1 มอเตอร์ ใช้ งานประเภทต่ อเนื่อง สายที่ตอ่ ระหว่างด้ านทุตยิ ภูมิของมอเตอร์ กบั เครื่ องควบคุมมอเตอร์ ต้องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่า ร้ อยละ 125 ของกระแสโหลดเต็มที่ด้านทุตยิ ภูมิของมอเตอร์ 6.3.6.2 มอเตอร์ ท่ ใี ช้ งานไม่ ต่อเนื่อง สายต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าจํานวนร้ อยละของกระแสโหลดเต็มที่ด้านทุติยภูมิของมอเตอร์ ตามตารางที่ 6-1 ตารางที่ 6-1 ขนาดกระแสของสายสําหรั บมอเตอร์ ท่ ใี ช้ งานไม่ ต่อเนื่อง ร้ อยละของพิกัดกระแสบนแผ่ นป้ายประจําเครื่อง ประเภทการใช้ งาน ใช้ งานระยะสัน้ เช่นมอเตอร์ หมุน ปิ ด-เปิ ดวาล์ว ฯลฯ ใช้ งานเป็ นระยะ เช่นมอเตอร์ ลิฟต์ มอเตอร์ ปิด-เปิ ดสะพาน ฯลฯ ใช้ งานเป็ นคาบ เช่นมอเตอร์ หมุน ลูกกลิ ้ง ฯลฯ ใช้ งานที่เปลี่ยนแปลง

มอเตอร์ พกิ ัด ใช้ งาน 5 นาที

มอเตอร์ พกิ ัด ใช้ งาน 15 นาที

มอเตอร์ พกิ ัด ใช้ งาน 30 และ 60 นาที

มอเตอร์ พกิ ัด ใช้ งานต่ อเนื่อง

110

120

150

-

85

85

90

140

85

90

95

140

110

120

150

200

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-5

6.3.6.3 มอเตอร์ มีตัวต้ านทานอยู่แยกจากเครื่ องควบคุม สายที่ตอ่ ระหว่างเครื่ องควบคุมและตัวต้ านทาน ต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าที่กําหนดในตาราง ที่ 6-2 ตารางที่ 6-2 ขนาดสายระหว่ างเครื่ องควบคุมมอเตอร์ และ ตัวต้ านทานในวงจรทุตยิ ภูมขิ องมอเตอร์ แบบเวาด์ โรเตอร์ ประเภทการใช้ งานของตัวต้ านทาน เริ่ มเดินอย่างเบา เริ่ มเดินอย่างหนัก เริ่ มเดินอย่างหนักมาก ใช้ งานเป็ นระยะห่างมาก ใช้ งานเป็ นระยะห่างปานกลาง ใช้ งานเป็ นระยะถี่ ใช้ งานต่อเนื่องกัน

ขนาดกระแสของสายคิดเป็ นร้ อยละ ของกระแสด้ านทุตยิ ภูมทิ ่ โี หลดเต็มที่ 35 45 55 65 75 85 110

6.3.7 สายสําหรั บวงจรมอเตอร์ หลายตัว สายซึ่งจ่ายกระแสให้ แก่มอเตอร์ มากกว่า 1 ตัว ต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าผลรวมของพิกัด กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ ทกุ ตัวบวกกับร้ อยละ 25 ของพิกดั กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ ตัวใหญ่ที่สดุ ในวงจร ในกรณีที่มอเตอร์ ตวั ใหญ่ที่สดุ มีหลายตัวให้ บวกร้ อยละ 25 เพียงตัวเดียว ในกรณีที่มีมอเตอร์ แบบใช้ งานไม่ตอ่ เนื่องปนอยูด่ ้ วย ในการหาขนาดสายให้ ดําเนินการดังนี ้ 6.3.7.1 หาขนาดกระแสของสายสําหรับมอเตอร์ แบบใช้ งานไม่ตอ่ เนื่อง ตามตารางที่ 6-1 6.3.7.2 หาขนาดกระแสของสายสําหรับมอเตอร์ แบบใช้ งานต่อเนื่องโดยใช้ คา่ ร้ อยละ 100 ของพิกดั กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ 6.7.3.3 ตรวจค่ากระแสจากข้ อ 6.3.7.1 และ 6.3.7.2 เมื่อพบว่าค่าดังกล่าวของมอเตอร์ ตวั ใดสูงสุดให้ คณ ู ด้ วย 1.25 แล้ วบวกด้ วยค่าขนาดกระแสของสายสําหรับมอเตอร์ ตวั อื่นที่เหลือใน ข้ อ 6.3.7.1 และ 6.3.7.2 ทั้งหมด จะได้ กําหนดขนาดกระแสของสายที่ จ่ายไฟให้ แก่ มอเตอร์ เหล่านั้น 6.3.8 สายสําหรั บวงจรที่จ่ายไฟให้ แก่ มอเตอร์ ร่วมกับโหลดอื่น ต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าที่คํานวณได้ ตามข้ อ 6.3.5 หรื อ 6.3.7 บวกกับกระแสความต้ องการ สําหรับโหลดอื่นๆ ที่กําหนดไว้

6-6

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

คําอธิบาย โหลดอื น่ ๆ หมายถึงโหลดทีค่ ิ ดค่าดีมานด์แฟกเตอร์ แล้ว 6.3.9 ดีมานด์ แฟกเตอร์ ของสายป้อน สายป้อนอาจมีขนาดเล็กกว่าที่คํานวณตามข้ อ 6.3.7 หรื อ 6.3.8 ได้ ถ้ามอเตอร์ ใช้ งานไม่พร้ อม กัน โดยสภาพของงาน การผลิตหรื อเครื่ องจักร 6.3.10 มอเตอร์ ท่ มี ีคาปาซิเตอร์ ต่อร่ วมอยู่ด้วย การคํานวณขนาดสายสําหรับมอเตอร์ ที่มีคาปาซิเตอร์ ร่วมอยู่ด้วยให้ ดขู ้ อ 6.5 เรื่ องคาปาซิเตอร์ ประกอบด้ วย 6.3.11 การต่ อสายแยกจากสายป้อน สายที่แยกจากสายป้อน ต้ องมีขนาดกระแสไม่น้อยกว่าที่คํานวณได้ ในตอน ข. ต้ องต่อเข้ ากับ เครื่ องป้องกันกระแสเกินและต้ องเป็ นไปตามข้ อใดข้ อหนึง่ หรื อหลายข้ อ ดังต่อไปนี ้ 6.3.11.1 สายตัวนําต้ องเดินในท่อสายและยาวไม่เกิน 3 เมตร 6.3.11.2 มีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่า 1/3 ของขนาดกระแสของสายป้อนและมีการป้องกันความ เสียหายทางกายภาพ ความยาวไม่เกิน 7.5 เมตร 6.3.11.3 มีขนาดกระแสเท่ากับสายป้อน ตอน ค. การป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ และวงจรย่ อย ข้อกํ าหนดนี ้ สําหรับมอเตอร์ ทีใ่ ช้กบั ระบบแรงตํ่ าเพือ่ ป้ องกันวงจรมอเตอร์ และอุปกรณ์ ประกอบ ต่ างๆ มี อุณหภู มิ สู งเกิ นกํ าหนด เนื ่องจากการใช้งานเกิ นกํ าลังหรื อเริ่ มเดิ นไม่ สําเร็ จ ทัง้ นี ้ไม่ ครอบคลุมถึงมอเตอร์ สําหรับเครื ่องสูบนํ้าดับเพลิ ง 6.3.12 มอเตอร์ ใช้ งานประเภทต่ อเนื่อง 6.3.12.1 มอเตอร์ ขนาดเกิน 1 แรงม้ า มอเตอร์ แต่ละตัวต้ องมีการป้องกันการใช้ งานเกินกําลังด้ วยวิธีใดวิธีหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังติดตั้งแยกต่างหากจากตัวมอเตอร์ และทํางาน สัมพันธ์ กับกระแสของมอเตอร์ ขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกิน กําลังต้ องไม่เกินร้ อยละของพิกดั กระแสโหลดเต็มที่ ดังนี ้ • มอเตอร์ ที่ระบุตวั ประกอบใช้ งาน • มอเตอร์ ที่ระบุอณ ุ หภูมิเพิ่มขึ ้น • มอเตอร์ อื่นๆ

(service factor) ไม่น้อยกว่า 1.15 ไม่เกิน 40 ºC

ร้ อยละ 125 ร้ อยละ 125 ร้ อยละ 115

6-7

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

ขนาดปรับตั้งนี ้อาจเปลี่ยนแปลงได้ ตามที่อนุญาตโดยข้ อ 6.3.14 ถ้ ามอเตอร์ เป็ นชนิดความเร็ ว หลายค่า การพิจารณาให้ แยกเป็ นแต่ละขดลวดไป ข) เครื่ องป้ องกันอุณหภูมิสงู เกินกําหนด ที่ติดตั ้งที่ตวั มอเตอร์ ซึ่งได้ ออกแบบเพื่อ ป้องกันมอเตอร์ เสียหายจากอุณหภูมิสูงเกิ นกํ าหนดเนื่ องจากการใช้ งานเกิ น กําลังหรื อเริ่ มเดินไม่สําเร็ จ ต้ องตัดกระแสที่เข้ ามอเตอร์ ไม่เกินร้ อยละของพิกัด กระแสโหลดเต็มที่ ดังนี ้ • มอเตอร์ ที่มีกระแสโหลดเต็มที่ไม่เกิน 9 แอมแปร์ • มอเตอร์ ที่มีกระแสโหลดเต็มที่ตั้งแต่ 9.1 ถึง 20 แอมแปร์ • มอเตอร์ ที่มีกระแสโหลดเต็มที่ เกินกว่า 20 แอมแปร์

ร้ อยละ 170 ร้ อยละ 156 ร้ อยละ 140

ถ้ าเครื่ องตัดกระแสเข้ ามอเตอร์ ติดตั้งแยกต่างหากจากตัวมอเตอร์ และวงจรควบคุมการทํางาน ด้ วยอุปกรณ์ที่ติดอยู่ที่ตวั มอเตอร์ ต้ องจัดให้ กระแสเข้ ามอเตอร์ ถกู ตัดออก เมื่อวงจรควบคุมถูก ตัด ค) อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องป้องกันติดตั้งที่ ตัว มอเตอร์ ซึ่งจะทํ าหน้ าที่ ป้องกันความ เสียหายของมอเตอร์ เนื่องจากเริ่ มเดินไม่สําเร็ จได้ ถ้ ามอเตอร์ ประกอบอยู่กับ บริ ภณ ั ฑ์ซงึ่ ได้ ออกแบบให้ ในสภาพปกติไม่ปล่อยให้ มอเตอร์ ใช้ งานเกินกําลัง ง) มอเตอร์ ที่มีขนาดเกินกว่า 1,500 แรงม้ าต้ องติดตั้งเครื่ องตรวจจับอุณหภูมิสงู ไว้ ในตัวมอเตอร์ ซึ่งจะตัดกระแสเข้ ามอเตอร์ ออกเมื่ออุณหภูมิของมอเตอร์ สงู เกิน กําหนด 6.3.12.2 มอเตอร์ ขนาดไม่ เกิน 1 แรงม้ า เริ่มเดินไม่ อัตโนมัติ ก) มอเตอร์ ใช้ งานประเภทต่อเนื่อง ขนาดไม่เกิน 1 แรงม้ า ไม่ได้ ติดตั้งถาวร อยู่ในที่ ซึง่ มองเห็นได้ จากเครื่ องควบคุมมอเตอร์ และห่างกันจากเครื่ องควบคุมมอเตอร์ ไม่เกิน 15 เมตร ให้ ใช้ เครื่ องป้องกันการลัดวงจรระหว่างสายและดินของวงจร ย่อย ที่มีขนาดตามที่กําหนดในตอน ง. เป็ นเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง ของมอเตอร์ ได้ วงจรย่อยดังกล่าวต้ องมีขนาดไม่เกิน 20 แอมแปร์ ข) มอเตอร์ ข นาดไม่ เ กิ น 1 แรงม้ า ติด ตั้ง ถาวรอยู่ใ นที่ ซึ่ง มองไม่ เ ห็ น จากเครื่ อ ง ควบคุมมอเตอร์ หรื อห่างจากเครื่ องควบคุมมอเตอร์ เกินกว่า 15 เมตร ต้ องมีการ ป้องกันตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.12.3

6-8

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.3.12.3 มอเตอร์ ขนาดไม่ เกิน 1 แรงม้ า เริ่มเดินอัตโนมัติ มอเตอร์ ต้องมีการป้องกันการใช้ งานเกินกําลังด้ วยวิธีใดวิธีหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง ติดตั้งแยกต่างหากจากตัวมอเตอร์ และทํางาน สัมพันธ์ กับกระแสของมอเตอร์ ขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกิน กําลังนี ้ให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.12.1 ก) ข) เครื่ องป้องกันอุณหภูมิ สูงเกิ นที่ ติดตัง้ ที่ ตัวมอเตอร์ ซึ่งได้ อ อกแบบให้ ป้ องกัน มอเตอร์ เสียหายจากความร้ อนเกินกําหนดเนื่องจากการใช้ งานเกินกําลังหรื อเริ่ ม เดินไม่สําเร็ จและเครื่ องตัดกระแสเข้ ามอเตอร์ ต้องติดตั้งแยกต่างหากจากตัว มอเตอร์ และวงจรควบคุมทํางานด้ วยอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับตัวมอเตอร์ ต้องจัดให้ กระแสเข้ ามอเตอร์ ถกู ตัดออกเมื่อวงจรควบคุมถูกตัด ค) ให้ ถือว่ามอเตอร์ ได้ มีการป้องกันที่ เหมาะสมแล้ ว ถ้ ามอเตอร์ ประกอบอยู่กับ บริ ภณ ั ฑ์ซงึ่ ได้ ออกแบบให้ ในสภาพปกติไม่ปล่อยให้ มอเตอร์ ใช้ งานเกินกําลังหรื อ บริ ภัณ ฑ์ นี ท้ ํ า งานร่ ว มกั บ วงจรควบคุม อย่ า งอื่ น ที่ ป้ องกั น มอเตอร์ เ สี ย หาย เนื่องจากเริ่ มเดินไม่สําเร็ จ ง) ในกรณีที่มอเตอร์ มีอิมพีแดนซ์สงู เพียงพอที่จะไม่เกิดความร้ อนสูงเนื่องจากเริ่ ม เดินไม่สําเร็ จ และถ้ ามอเตอร์ เป็ นประเภทเริ่ มเดินไม่อัตโนมัติประกอบอยู่กับ บริ ภณ ั ฑ์ ซึง่ ได้ ออกแบบให้ ป้องกันมอเตอร์ เสียหายเนื่องจากความร้ อนเกิน ยอม ให้ มีการป้องกันตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.12.2 ก) ได้ 6.3.12.4 ด้ า นทุติ ย ภูมิ ของเวาด์ โ รเตอร์ ชนิ ดกระแสสลับ รวมทัง้ สายไฟเครื่ องควบคุม ตัว ต้ านทาน ฯลฯ อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ เป็ นเครื่ องป้องกัน การใช้ งานเกินกําลังของ วงจรด้ านทุตยิ ภูมิได้ 6.3.13 มอเตอร์ ประเภทใช้ งานเป็ นระยะและที่คล้ ายกัน มอเตอร์ ใช้ งานระยะสั้น ใช้ งานเป็ นระยะ ใช้ งานเป็ นคาบ หรื อใช้ งานที่เปลี่ยนแปลง ตามที่แสดง ในตารางที่ 6-1 อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องป้องกันการลัดวงจรระหว่างสายและป้องกันการรั่วลงดินของ วงจรย่อย ซึ่งมีขนาดหรื อพิกดั ปรับตั้งไม่เกินที่กําหนดในตารางที่ 6-3 เป็ นเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังได้ ในการพิจารณาให้ ถือว่ามอเตอร์ ใช้ งานเป็ นแบบต่อเนื่อง นอกจากในสภาพของ โหลด หรื อสภาพการใช้ งาน บังคับให้ มอเตอร์ ใช้ งานได้ อย่างไม่ตอ่ เนื่อง

6-9

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.3.14 การเลือกรี เลย์ โหลดเกิน (Overload Relay) ในที่ซึ่งรี เลย์ โหลดเกิน ซึ่งเลือกตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.12.1 ก) และ 6.3.12.3 ก) มีค่าไม่ เพียงพอสําหรับการเริ่ มเดิน หรื อสําหรับโหลด อนุญาตให้ ใช้ รีเลย์โหลดเกินขนาดสูงกว่าถัดไปได้ แต่ต้องไม่เกินร้ อยละของพิกดั กระแสโหลดเต็มที่ ดังนี ้ • มอเตอร์ ที่ระบุตวั ประกอบใช้ งาน (service factor) ไม่น้อยกว่า 1.15 • มอเตอร์ ที่ระบุอณ ุ หภูมิเพิ่มขึ ้นไม่เกิน 40 ºC • มอเตอร์ อื่นๆ

ร้ อยละ 140 ร้ อยละ 140 ร้ อยละ 130

มอเตอร์ ซงึ่ ขณะเริ่ มเดินไม่ตอ่ ขนาน (not shunted during the starting period) เครื่ องป้องกัน การใช้ งานเกินกําลัง ต้ องมีการหน่วงเวลานานพอที่จะตัดกระแสในขณะที่มอเตอร์ เริ่ มเดิน 6.3.15 เมื่อใช้ ฟิวส์ เป็ นเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังให้ แก่ มอเตอร์ ต้ องใส่ฟิวส์ทกุ สายเส้ นไฟและห้ ามใส่ฟิวส์ในสายเส้ นที่มีการต่อลงดิน 6.3.16 จํานวนสายที่ถูกตัดโดยเครื่องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง เครื่ องป้ องกันการใช้ งานเกินกําลังที่ไม่ใช่ฟิวส์ และเครื่ องป้ องกันอุณหภูมิสงู เกิน ต้ องสามารถ ปลดสายเส้ นไฟจํานวนเพียงพอที่จะไม่ทําให้ กระแสไหลผ่านมอเตอร์ ได้ และต้ องปลดออกพร้ อม กันด้ วย 6.3.17 การใช้ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ เป็ นเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง เครื่ องควบคุมมอเตอร์ ที่มีเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังที่สามารถปลดสายเส้ นไฟทุกเส้ นได้ พร้ อมกันแล้ ว ไม่จําเป็ นต้ องมีเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกํ าลังต่างหากอีก สําหรั บมอเตอร์ กระแสตรง อุปกรณ์ชดุ นี ้ต้ องอยูใ่ นวงจรทั้งขณะเริ่ มเดินและใช้ งาน ส่วนมอเตอร์ กระแสสลับอาจ อยูใ่ นวงจรเฉพาะขณะใช้ งานได้ 6.3.18 เครื่ องตัดตอนชนิดที่ทาํ งานด้ วยความร้ อนและรีเลย์ โหลดเกิน (Thermal Cutout and Overload Relay) เครื่ องตัดตอนชนิดที่ทํางานด้ วยความร้ อน รี เลย์โหลดเกิน และเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง อย่างอื่นซึง่ ไม่สามารถตัดกระแสลัดวงจรได้ ต้องติดตั้งเครื่ องป้องกัน เช่น ฟิ วส์ หรื อเซอร์ กิตเบรก เกอร์ ซึ่งมีพิกัดหรื อขนาดปรับตั้ง ตามข้ อ 6.3.21 หรื อใช้ เครื่ องป้องกันการลัดวงจรมอเตอร์ ตาม ข้ อ 6.3.21 ยกเว้ น กรณี ทีบ่ ริ ภณ ั ฑ์ ซึ่งติ ดตัง้ เครื ่องป้ องกันการใช้งานเกิ นกํ าลังจะระบุขนาด สูงสุดของเครื ่องป้ องกันการลัดวงจรไว้ทีแ่ ผ่นป้ ายประจํ าเครื ่องแล้ว ให้ใช้ตามนัน้

6-10

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.3.19 มอเตอร์ ท่ ใี ช้ ในวงจรย่ อยใช้ งานทั่วไป เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ ต้องเป็ นดังนี ้ 6.3.19.1 มอเตอร์ ขนาดไม่ เกิน 1 แรงม้ า มอเตอร์ ตัวเดียวหรื อหลายตัว อนุญาตให้ ใช้ กับวงจรย่อยใช้ งานทั่วไปได้ โดยไม่ต้องมี เครื่ อง ป้ องกัน การใช้ งานเกิ นกํ า ลังแยกเฉพาะตัว เฉพาะเมื่ อการติดตัง้ เป็ นไปตามที่ กําหนดในข้ อ 6.3.12.2, 6.3.12.3, 6.3.22.1 ก) และ 6.3.22.1 ข) เท่านั้น 6.3.19.2 มอเตอร์ ขนาดเกิน 1 แรงม้ า มอเตอร์ ขนาดเกิน 1 แรงม้ า อนุญาตให้ ใช้ กบั วงจรย่อยใช้ งานทัว่ ไปได้ โดยมอเตอร์ แต่ละตัวต้ อง มี เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกิ นกํ าลังแยกเฉพาะ และการป้องกันการใช้ งานเกิ นกํ าลังเป็ นไป ตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.22 6.3.19.3 การหน่ วงเวลา เครื่ องป้องกันกระแสเกินของวงจรที่มีมอเตอร์ หรื อเครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดมีมอเตอร์ ต้องมีการหน่วง เวลาหรื อมีคณ ุ สมบัตใิ นการหน่วงเวลานานพอที่จะไม่ตดั วงจรในขณะที่มอเตอร์ เริ่ มเดินในสภาพ การใช้ งานปกติ 6.3.20 มอเตอร์ ท่ เี ริ่มเดินใหม่ ได้ เองโดยอัตโนมัติ ห้ ามใช้ เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ ชนิดที่ทําให้ มอเตอร์ เริ่ มเดินใหม่ได้ เองอีก หลังจากที่เครื่ องป้องกันฯ นี ้ปลดวงจร เนื่องจากมอเตอร์ ใช้ งานเกินกําลังแล้ ว นอกจากจะได้ รับ ความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯก่อน ไม่ยอมให้ ใช้ มอเตอร์ ชนิดที่เริ่ มเดินได้ เองโดยอัตโนมัติ หลังจากหยุดไปแล้ ว นอกจากจะได้ รับการรับรองว่าไม่เป็ นอันตรายต่อบุคคล ตอน ง. การป้องกันกระแสลัดวงจรระหว่ างสาย และป้องกันการรั่ วลงดินของ วงจรย่ อย มอเตอร์ ข้อกํ าหนดในตอนนี ้ ใช้สําหรับมอเตอร์ ในระบบแรงตํ่าเท่านัน้ 6.3.21 ขนาดหรือการปรั บตัง้ สําหรั บวงจรที่มีมอเตอร์ ตัวเดียว เครื่ องป้องกันกระแสลัดวงจรระหว่างสายและป้องกันการรั่วลงดินสําหรับวงจรย่อย มอเตอร์ ต้อง สามารถทนกระแสเริ่ มเดินของมอเตอร์ ได้ และมีขนาดหรื อการปรั บตั้งไม่เกินค่าที่กําหนดใน ตารางที่ 6-3 ถ้ าค่าที่กําหนดในตารางที่ 6-3 ไม่ตรงกับมาตรฐานของฟิ วส์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ให้ ใ ช้ ข นาดตามมาตรฐานที่ สูง ถัด ไปได้ กรณี ที่ เ ครื่ อ งป้ องกัน กระแสลัด วงจรตัด วงจรขณะ

6-11

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

มอเตอร์ เริ่ มเดินในสภาพการใช้ งานปกติ ให้ เปลี่ยนขนาดของเครื่ องป้องกันกระแสลัดวงจรให้ สูงขึ ้นไปได้ ดงั นี ้ ตารางที่ 6-3 พิกัดหรือขนาดปรั บตัง้ สูงสุดของเครื่ องป้องกันการลัดวงจรระหว่ างสาย และป้องกันการรั่ วลงดินของวงจรย่ อยมอเตอร์ ร้ อยละของกระแสโหลดเต็มที่ ชนิดของมอเตอร์

ฟิ วส์ ทํางานไว

ฟิ วส์ หน่วงเวลา

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ปลดทันที

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผัน

มอเตอร์ 1 เฟส ไม่มีรหัสอักษร มอเตอร์ กระแสสลับ 1 เฟส ทังหมด ้ และมอเตอร์ 3 เฟส แบบกรงกระรอก และแบบซิงโครนัส ซึง่ เริ่ มเดินโดยรับ แรงดันไฟฟ้าเต็มที่หรื อเริ่ มเดินผ่านตัว ต้ านทานหรื อรี แอ็กเตอร์ • ไม่มีรหัสอักษร • รหัสอักษร F ถึง V • รหัสอักษร B ถึง E • รหัสอักษร A มอเตอร์ กระแสสลับทังหมด ้ แบบกรง กระรอก และแบบซิงโครนัสซึง่ เริ่ มเดิน โดยผ่านหม้ อแปลงออโต กระแสไม่เกิน 30 แอมแปร์ • ไม่มีรหัสอักษร กระแสเกิน 30 แอมแปร์ • ไม่มีรหัสอักษร • รหัสอักษร F ถึง V • รหัสอักษร B ถึง E • รหัสอักษร A

300

175

700

250

300 300 250 150

175 175 175 150

700 700 700 700

250 250 200 150

250

175

700

200

200 250 200 150

175 175 175 150

700 700 700 700

200 200 200 150

6-12

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า ตารางที่ 6-3 (ต่ อ) พิกัดหรือขนาดปรั บตัง้ สูงสุดของเครื่ องป้องกันการลัดวงจรระหว่ างสาย และป้องกันการรั่ วลงดินของวงจรย่ อยมอเตอร์ ร้ อยละของกระแสโหลดเต็มที่ ชนิดของมอเตอร์

มอเตอร์ แบบ กรงกระรอก กระแสไม่เกิน 30 แอมแปร์ • ไม่มีรหัสอักษร กระแสเกิน 30 แอมแปร์ • ไม่มีรหัสอักษร มอเตอร์ แบบเวาด์โรเตอร์ ไม่มีรหัสอักษร มอเตอร์ กระแสตรง (แรงดันคงที่) ขนาดไม่เกิน 50 แรงม้ า • ไม่มีรหัสอักษร ขนาดเกิน 50 แรงม้ า • ไม่มีรหัสอักษร

ฟิ วส์ ทํางานไว

ฟิ วส์ หน่วงเวลา

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ปลดทันที

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผัน

250

175

700

250

200

175

700

200

150

150

700

150

150

150

250

150

150

150

175

150

หมายเหตุ 1) การกําหนดรหัสอักษรให้ดูจากตารางที ่ 6-4 2) มอเตอร์ ไม่มีรหัสอักษร หมายถึง มอเตอร์ ทีผ่ ลิ ตก่อนมีการกําหนดรหัสอักษรโดย NEMA Standard และมอเตอร์ ทีข่ นาดเล็กกว่า 1/2 แรงม้า 3) มอเตอร์ ทีผ่ ลิ ตตามมาตรฐานอืน่ ให้พิจารณาการเปรี ยบเทียบรหัสอักษรจากตารางที ่ 6-4

6.3.21.1 ฟิ วส์ชนิดไม่หน่วงเวลา ขนาดไม่เกิน 600 แอมป์ ให้ เปลี่ยนขนาดสูงขึ ้นไปได้ แต่ต้อง ไม่เกินร้ อยละ 400 ของกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ 6.3.21.2 ฟิ วส์ชนิดหน่วงเวลา ให้ เปลี่ยนขนาดสูงขึ ้นไปได้ แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 225 ของ กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ 6.3.21.3 วงจรย่อยของทอร์ กมอเตอร์ (torque motor) ขนาดของเครื่ องป้องกันให้ เป็ นไปตาม พิกดั กระแสที่แผ่นป้ายประจําเครื่ อง ถ้ าไม่ตรงกับขนาดมาตรฐานของฟิวส์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ให้ ใช้ ขนาดตามมาตรฐานที่สงู ถัดไป 6.3.21.4 เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผัน (inverse time circuit breaker) ขนาดไม่เกิน 100 แอมแปร์ ให้ เปลี่ยนขนาดสูงขึ ้นไปได้ อีกแต่ต้องไม่เกินร้อยละ 400 ของกระแสโหลดเต็มที่ของ

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-13

มอเตอร์ ถ้ าขนาดเกิน 100 แอมแปร์ ให้ เปลี่ยนขนาดสูงขึ ้นไปได้ อีกแต่ต้องไม่เกินร้ อยละ 300 ของกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ 6.3.21.5 ฟิ วส์ขนาดเกิน 600 แอมแปร์ ให้ เปลี่ยนขนาดสูงขึ ้นไปได้ แต่ต้องไม่เกินร้ อยละ 300 ของกระแส โหลดเต็มที่ของมอเตอร์ ตารางที่ 6-4 รหัสอักษรแสดงการล็อกโรเตอร์ รหัสอักษร A B C D E F G H J K L M N P R S T U V

เควีเอต่ อแรงม้ า ขณะล็อกโรเตอร์ 0 - 3.14 3.15 - 3.54 3.55 - 3.99 4.0 - 4.49 4.5 - 4.99 5.0 - 5.59 5.6 - 6.29 6.3 - 7.09 7.1 - 7.99 8.0 - 8.99 9.0 - 9.99 10.0 - 11.19 11.2 - 12.49 12.5 - 13.99 14.0 - 15.99 16.0 - 17.99 18.0 - 19.99 20.0 - 22.39 ตังแต่ ้ 22.4 ขึ ้นไป

6.3.22 วงจรย่ อยที่มีมอเตอร์ หลายตัวหรื อมีโหลดอื่น อนุญาตให้ มีมอเตอร์ ตวั เดียวหรื อหลายตัวหรื อมีโหลดอื่นต่อเข้ ากับวงจรย่อยเดียวกันได้ ภายใต้ สภาวะที่ระบุในข้ อใดข้ อหนึง่ ต่อไปนี ้

6-14

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.3.22.1 มอเตอร์ ขนาดไม่เกิ น 1 แรงม้ าหลายตัว ยอมให้ ต่อในวงจรย่อยระบบแรงตํ่าที่ มี ขนาดการป้องกันกระแสเกินไม่เกิน 15 แอมแปร์ ได้ ถ้ าเป็ นไปตามข้ อกําหนดดังต่อไปนี ้ ก) กระแสใช้ งานเต็มที่ที่กําหนดของมอเตอร์ แต่ละตัวไม่เกิน 6 แอมแปร์ ข) ขนาดของเครื่ องป้องกันกระแสเกิน ที่ระบุไว้ ที่เครื่ องควบคุมมอเตอร์ ต้ องไม่น้อย กว่าขนาดเครื่ องป้องกันกระแสเกินของวงจรย่อย ค) เครื่ องป้ องกันการใช้ งานเกินกําลังแต่ละตัว เป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.12 หรื อ 6.3.14 6.3.22.2 ในกรณี ที่ต้องการป้องกันมอเตอร์ ตัวเล็กที่สุดด้ วย เครื่ องป้องกันกระแสลัดวงจร ระหว่างสายและป้องกันการรั่วลงดินของวงจรย่อย ซึง่ คิดจากมอเตอร์ ขนาดเล็กที่สดุ ในวงจรต้ อง ไม่ ตัด วงจรในสภาวะใช้ ง านปกติที่ ม ากที่ สุด ที่ อ าจเกิ ด ขึน้ ได้ โ ดยที่ ม อเตอร์ แ ต่ล ะตัว มี เครื่ อ ง ป้องกันการใช้ งานเกินกําลังเฉพาะตัวอยูแ่ ล้ ว 6.3.22.3 มอเตอร์ ต ิด ตั ้งเป็ นกลุ่ม นอกเหนือ จากที ่กํ า หนดในข้ อ 6.3.22.1 และ 6.3.22.2 มอเตอร์ ซงึ่ มีเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังประจําเครื่ องและโหลดอื่นๆ จะต่ออยู่ในวงจรย่อย เดียวกันได้ เมื่อเป็ นไปตามข้ อกําหนดทุกข้ อดังนี ้ ก) เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังและเครื่ องควบคุมมอเตอร์ แต่ละเครื่ องต้ อง เป็ นชนิดที่ผ้ ูผลิตได้ รับการรั บรองว่าสามารถใช้ สําหรั บติดตั้งร่ วมกับฟิ วส์หรื อ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผันตามขนาดสูงสุดที่กําหนด ข) วงจรย่อยต้ องป้องกันการลัดวงจรด้ วยฟิ วส์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผัน ตาม ขนาดไม่เกิ นกว่าที่กําหนดในข้ อ 6.3.21 สําหรั บมอเตอร์ เครื่ องใหญ่ ที่สุดบวก ด้ วยผลรวมของพิกดั กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ อื่น กรณีที่ผลการคํานวณได้ ค่าตํ่ากว่าขนาดกระแสของตัวนํา อนุญาตให้ เพิ่มขนาดฟิ วส์หรื อเซอร์ กิตเบรก เกอร์ เวลาผกผันขึ ้นได้ อีกตามขนาดที่ใช้ กบั ขนาดสายนั้น ค) ฟิ วส์ หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผันที่ ใช้ ต้องมี ขนาดไม่เ กิ นที่ กําหนดในข้ อ 6.3.18 ซึง่ ป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ ตวั ที่เล็กที่สดุ ในวงจร 6.3.22.4 การต่ อแยกเพื่อเข้ ามอเตอร์ ตัวเดียว การต่อสายแยกจ่ายไฟให้ กับมอเตอร์ แต่ละเครื่ อง ไม่ต้องติดตั้งเครื่ องป้องกันการลัดวงจรที่จุด แยก ถ้ า ขนาดกระแสของสายแยกไม่ ตํ่ า กว่ า 1/3 ของขนาดกระแสของสายวงจรย่ อ ยและ ระยะทางจากจุดแยกถึงเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังยาวไม่เกิน 7.5 เมตร โดยมีมาตรการ ป้องกันความเสียหายทางกายภาพด้ วย

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-15

ตอน จ. การป้องกันกระแสลัดวงจรและป้องกันการรั่ วลงดินของสายป้อนในวงจรมอเตอร์ 6.3.23 พิกัดหรื อขนาดปรั บตัง้ ของเครื่ องป้องกันการลัดวงจรของสายป้อน สําหรับโหลดที่เป็ นมอเตอร์ หรื อมอเตอร์ ร่วมกับโหลดอื่น 6.3.23.1 มอเตอร์ ท่ ตี ดิ ตัง้ ไว้ แล้ ว สายป้อนที่จ่ายไฟให้ กับมอเตอร์ เครื่ องป้องกันกระแสลัดวงจรของสายป้อนต้ องมีขนาดไม่เกิน พิกดั หรื อขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันกระแสลัดวงจรของมอเตอร์ ที่ใหญ่ที่สดุ ในกลุม่ บวกกับ ผลรวมของพิกดั กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ เครื่ องอื่นๆ ในกรณีที่มีมอเตอร์ เครื่ องที่ใหญ่ที่สดุ มากกว่า 1 เครื่ อง การคํานวณให้ เลือกเพียงเครื่ องเดียวเป็ นเครื่ องที่ใหญ่ที่สดุ 6.3.23.2 การสํารองสําหรั บการติดตัง้ ในอนาคต ในโครงการขนาดใหญ่ ซึง่ ออกแบบสายป้อนสํารองไว้ เพื่อเพิ่มหรื อเปลี่ยนแปลงในอนาคต พิกัด ของเครื่ องป้ องกันกระแสลัดวงจรของสายป้อน อนุญาตให้ มีขนาดได้ ไม่เกินขนาดกระแสของ สายป้อน 6.3.24 ขนาดปรับตั้งเมื่อมอเตอร์ ตอ่ ร่วมกับโหลดไฟฟ้ากําลังหรื อแสงสว่าง เมื่อสายป้อนจ่ายโหลดที่มีมอเตอร์ ร่วมกับโหลดไฟฟ้ากําลังหรื อแสงสว่าง พิกดั หรื อขนาดปรับตั้ง ของเครื่ อ งป้ องกันกระแสเกิ นนั้น จะต้ องเพี ยงพอที่ จ ะจ่า ยโหลดให้ ก ับ ไฟฟ้ าแสงสว่า งหรื อ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า (ตามที่คํานวณได้ ในบทที่ 3) บวกด้ วยขนาดกระแสของมอเตอร์ (มอเตอร์ เครื่ อง เดียวคํานวณตามข้ อ 6.3.21 และมอเตอร์ หลายเครื่ องคํานวณตามข้ อ 6.3.23) ตอน ฉ. วงจรควบคุมมอเตอร์ 6.3.25 การป้องกันกระแสเกิน วงจรควบคุมมอเตอร์ ที่ตอ่ แยกออกจากด้ านโหลด (รวมทั้งหม้ อแปลงสําหรับใช้ วงจรควบคุม) ของ เครื่ องป้องกันกระแสลัดวงจรและป้องกันการรั่วลงดินของ วงจรย่อยมอเตอร์ และทําหน้ าที่ควบคุม มอเตอร์ ต้องมีการป้องกันกระแสเกิน ยกเว้ น วงจรควบคุมทัง้ หมดประกอบสํ าเร็ จอยู่ภายใน กล่องเครื ่องควบคุมมอเตอร์ การต่อแยกนีไ้ ม่ถือว่าเป็ นวงจรย่อย 6.3.26 การปลดวงจร 6.3.26.1 ต้ องจัดวงจรควบคุมมอเตอร์ ในลักษณะที่ เมื่อเครื่ องปลดวงจรอยู่ในตําแหน่งปลด วงจรควบคุมมอเตอร์ ต้องถูกปลดออกจากตัวนําจ่ายไฟเข้ าทั้งหมด

6-16

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.3.26.2 กรณีที่มีหม้ อแปลงหรื ออุปกรณ์อย่างอื่นเพื่อใช้ ลดแรงดันสําหรับใช้ ในวงจรควบคุม มอเตอร์ และติดตั้งอยู่ภายในเครื่ องควบคุมมอเตอร์ หม้ อแปลงหรื ออุปกรณ์ดงั กล่าวต้ องต่ออยู่ ทางด้ านโหลดของเครื่ องปลดวงจรของวงจรควบคุมมอเตอร์ ตอน ช. เครื่ องควบคุมมอเตอร์ ข้อกํ าหนดในตอนนีม้ ี วตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้เครื ่องควบคุมมอเตอร์ ให้เหมาะสมกับมอเตอร์ 6.3.27 การออกแบบเครื่ องควบคุมมอเตอร์ 6.3.27.1 เครื่ องควบคุมต้ องสามารถเดินหรื อหยุดมอเตอร์ ตวั ที่ควบคุมอยู่ได้ และต้ องสามารถ ตัดกระแสเมื่อมอเตอร์ หมุนไม่ไหวได้ ด้วย 6.3.27.2 เครื่ องเริ่ มเดินแบบหม้ อแปลงออโตต้ องมี ตําแหน่งหยุดเดินและตําแหน่งเริ่ มเดิน อย่างน้ อยหนึง่ ตําแหน่ง 6.3.28 พิกัด เครื่ องควบคุมต้ องมีพิกดั แรงม้ าไม่ตํ่ากว่าพิกดั แรงม้ าของมอเตอร์ ข้ อยกเว้ นที่ 1 มอเตอร์ พิกดั ไม่ เกิ น 2 แรงม้า ใช้แรงดันไม่ เกิ น 416 โวลต์ อนุญาตให้ใช้สวิ ตช์ แบบใช้งาน ทัว่ ไปทีม่ ีขนาดกระแสไม่นอ้ ยกว่า 2 เท่าของกระแสใช้งานมอเตอร์ แทนเครื ่องควบคุมได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 เครื ่ องควบคุมสําหรับทอร์ กมอเตอร์ (torque motor) ต้องมี ขนาดกระแสใช้ ง านต่ อ เนื ่อ ง ไม่นอ้ ยกว่าขนาดกระแสทีร่ ะบุไว้ทีม่ อเตอร์

6.3.29 ที่ตงั ้ สวิตช์บงั คับด้ วยมือใช้ เพื่อปลดวงจรมอเตอร์ ออก ต้ องติดตั้งไว้ ในตําแหน่งที่มองเห็นได้ จากที่ตั ้ง มอเตอร์ และห่างจากมอเตอร์ ไม่เกิน 15 เมตร 6.3.30 การใช้ สวิตช์ และฟิ วส์ เป็ นเครื่ องควบคุมมอเตอร์ สวิตช์และฟิ วส์ใช้ เป็ นเครื่ องควบคุมมอเตอร์ ได้ ถ้ าฟิ วส์มีขนาดตามที่กําหนดในตอน ค. แต่ถ้า เป็ นฟิ วส์ชนิดทํางานช้ า อาจลดขนาดลงมาได้ ตามความเหมาะสม 6.3.31 มอเตอร์ ชนิดปรั บความเร็วได้ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ ชนิดที่ปรับความเร็ วมอเตอร์ โดยการปรับค่าสนามแม่เหล็ก ต้ องมีวิธีการ ป้องกันมอเตอร์ เริ่ มเดินในตําแหน่งที่สนามแม่เหล็กมีค่าน้ อย นอกจากมอเตอร์ จะเป็ นชนิดที่ได้ ออกแบบให้ ใช้ ได้

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-17

ตอน ซ. เครื่ องปลดวงจร ข้อกํ าหนดในตอนนี ม้ ี วตั ถุประสงค์ เพือ่ กํ าหนดขนาดเครื ่องปลดวงจรทีส่ ามารถปลดมอเตอร์ และ เครื ่องควบคุมมอเตอร์ ออกจากวงจรได้โดยปลอดภัย 6.3.32 ที่ตงั ้ 6.3.32.1 เครื่ องปลดวงจรต้ องติดตั้งอยู่ในที่ซึ่งมองเห็นได้ จากที่ตั้งเครื่ องควบคุมมอเตอร์ และ ห่างกันไม่เกิน 15 เมตร ข้ อยกเว้ นที่ 1 สําหรับมอเตอร์ ระบบแรงสูง อนุญาตให้ติดตัง้ เครื ่องปลดวงจรโดยมองไม่เห็น จากตําแหน่งทีต่ งั้ เครื ่องควบคุมมอเตอร์ ได้ ถ้าทีเ่ ครื ่องควบคุมมอเตอร์ ติดป้ าย เตื อนและบอกสถานที ่ตงั้ เครื ่องปลดวงจร พร้ อมทัง้ เครื ่ องปลดวงจรสามารถ ใส่กญ ุ แจได้ในตําแหน่งปลด ข้ อยกเว้ นที่ 2 อนุญาตให้ใช้เครื ่ องปลดวงจรเครื ่ องเดี ยวสําหรับกลุ่มของชุดควบคุมที ่ใช้ขบั ชิ้ นส่วนต่าง ๆ ของเครื ่ องจักรเดี ยวกัน โดยที ่ทงั้ เครื ่ องปลดวงจรและเครื ่ อง ควบคุมต้องมองเห็นได้จากเครื ่องจักรทีใ่ ช้งานและห่างกันไม่เกิ น 15 เมตร

6.3.32.2 เครื่ องปลดวงจรต้ องติดตั้งอยู่ในที่ ซึ่งมองเห็นได้ จากที่ ตั้งมอเตอร์ และเครื่ องจักรที่ มอเตอร์ ขบั อยู่ ยกเว้ น เครื ่องปลดวงจรทีเ่ ป็ นไปตามข้อ 6.3.32.1 และสามารถใส่กญ ุ แจได้ใน ตําแหน่งปลด 6.3.33 การปลดได้ ทงั ้ มอเตอร์ และเครื่ องควบคุม เครื่ องปลดวงจรต้ องติดตั้งอยู่ในตําแหน่งที่ปลดวงจรได้ ทั้งมอเตอร์ และเครื่ องควบคุมมอเตอร์ พร้ อมกัน 6.3.34 เครื่ องหมายแสดงตําแหน่ ง เครื่ องปลดวงจรต้ องมีเครื่ องหมายแสดงอย่างชัดเจนว่าอยูใ่ นตําแหน่งปลดหรื อสับ 6.3.35 สายที่มีการต่ อลงดิน เครื่ องปลดวงจรใช้ ปลดสายที่มีการต่อลงดินได้ ถ้ าเครื่ องปลดวงจรนี ้ได้ ออกแบบในลักษณะที่ สามารถปลดสายทุกเส้ นในวงจรออกได้ พร้ อมกัน 6.3.36 การใช้ บริภณ ั ฑ์ ประธานเป็ นเครื่ องปลดวงจร กรณีที่สถานที่นั้นมีมอเตอร์ ตวั เดียว อนุญาตให้ ใช้ บริ ภัณฑ์ประธานเป็ นเครื่ องปลดวงจรได้ ถ้า สวิตช์นั้นเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.3 นี ้ และมองเห็นได้ จากเครื่ องควบคุมมอเตอร์ และอยู่ห่าง กันไม่เกิน 15 เมตร

6-18

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.3.37 พิกัดกระแส เครื่ องปลดวงจรของมอเตอร์ ระบบแรงตํ่า ต้ องมี พิกัดกระแสไม่น้อยกว่าร้ อยละ 115 ของพิกัด กระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์ 6.3.38 ชนิดของเครื่ องปลดวงจร เครื่ องปลดวงจรต้ องเป็ นสวิตช์ที่ใช้ สําหรับโหลดประเภทอินดักทีฟ (inductive load) หรื อเป็ น เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ข้ อยกเว้ นที่ 1 มอเตอร์ ติดตัง้ ประจํ าทีข่ นาดไม่เกิ น 1/8 แรงม้า อนุญาตให้ใช้เครื ่องป้ องกัน กระแสเกิ น ของ วงจรย่อยเป็ นเครื ่องปลดวงจรได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 สําหรับมอเตอร์ ติดตัง้ ประจํ าทีข่ นาดไม่เกิ น 2 แรงม้าแรงดันไม่เกิ น 416 โวลต์ อนุญาตให้ใช้ สวิ ตช์ ใช้งานทัว่ ไปทีม่ ี พิกดั กระแสไม่นอ้ ยกว่า 2 เท่าของพิ กดั กระแสโหลดเต็มทีข่ องมอเตอร์ เป็ นเครื ่องปลดวงจรได้ ข้ อยกเว้ นที่ 3 มอเตอร์ ขนาด 2-100 แรงม้า เครื ่ องปลดวงจรสํ าหรับมอเตอร์ ซึ่งใช้เครื ่ องควบคุมแบบหม้อ แปลงออโต (auto transformer type controller) อนุญาตให้ใช้สวิ ตช์ใช้งานทัว่ ไปเป็ นเครื ่อง ปลดวงจรได้ ถ้ามีสภาพดังต่อไปนีท้ กุ ประการ 3.1) เป็ นมอเตอร์ ทีห่ มุนเครื ่องกํ าเนิ ดไฟฟ้ าที ม่ ี เครื ่องป้ องกันการใช้งานเกิ นกํ าลังทางด้าน โหลดของเครื ่องกําเนิ ดไฟฟ้ า 3.2) เครื ่องควบคุมมอเตอร์ สามารถตัดกระแสล็อกโรเตอร์ ได้ มี เครื ่องป้ องกันการใช้งานเกิ น กํ าลังที ่มีพิกดั หรื อขนาดปรับตัง้ ไม่เกิ นร้ อยละ 125 ของพิ กดั กระแสโหลดเต็มที ่ของ มอเตอร์ และต้องเป็ นชนิ ดทีป่ ลดวงจรออกเมือ่ ไม่มีไฟ (no-voltage release) 3.3) ฟิ วส์ ที่แยกเป็ นส่วนต่างหากหรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบเวลาผกผันทีม่ ี ขนาดหรื อการ ปรับตัง้ ไม่เกิ นร้ อยละ 150 ของพิ กดั กระแสโหลดเต็มทีข่ องมอเตอร์ เป็ นเครื ่องป้ องกัน วงจรย่อยมอเตอร์ ข้ อยกเว้ นที่ 4 มอเตอร์ กระแสตรงติ ดตัง้ ประจํ าทีข่ นาดเกิ น 40 แรงม้า หรื อมอเตอร์ กระแสสลับติ ดตัง้ ประจํ า ที ข่ นาดเกิ น 100 แรงม้า อนุญาตให้ใช้สวิ ตช์ ใช้งานทัว่ ไปเป็ นเครื ่องปลดวงจรได้ ถ้ามี ป้าย เตือนว่า "ห้ ามสับหรื อปลดขณะมีโหลด" และมี อปุ กรณ์ ป้องกันการปลดสับโดยพลัง้ เผลอ เช่น กุญแจ ข้ อยกเว้ นที่ 5 มอเตอร์ แบบต่อด้วยสายและเต้าเสี ยบ อนุญาตให้ใช้เต้าเสียบเป็ นเครื ่องปลดวงจรได้ ข้ อยกเว้ นที่ 6 ทอร์ กมอเตอร์ (torque motor) อนุญาตให้ใช้สวิ ตช์ใช้งานทัว่ ไปเป็ นเครื ่องปลดวงจรได้

6.3.39 การใช้ สวิตช์ หรื อเซอร์ กติ เบรกเกอร์ เป็ นทัง้ เครื่ องควบคุมและเครื่ องปลดวงจร อนุญาตให้ ใช้ สวิตช์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่มีขนาดสอดคล้ องกับขนาดของมอเตอร์ ทําหน้ าที่เป็ น ทั้งเครื่ องควบคุมและเครื่ องปลดวงจรได้ ถ้าสวิตช์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ นั้นสามารถปลดตัวนํา เส้ นไฟได้ หมดและมีเครื่ องป้องกันกระแสเกิน (อาจเป็ นฟิ วส์ของวงจรย่อยก็ได้ ) ที่สามารถปลด ตัวนําทุกสายเส้ นไฟได้ และเป็ นสวิตช์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิดใดชนิดหนึง่ ดังต่อไปนี ้

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-19

6.3.39.1 สวิตช์ตดั วงจรชนิดอากาศ (air-break switch) ชนิดปลดสับด้ วยมือที่ก้านสวิตช์ โดยตรง 6.3.39.2 เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผัน ปลดสับที่ก้านของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ โดยตรง 6.3.39.3 สวิตช์ นํา้ มัน ใช้ สําหรั บวงจรในระบบแรงตํ่าและไม่เกิ น 100 แอมแปร์ วงจรที่ระบบ แรงดันไฟฟ้าหรื อกระแสสูงกว่านี ้ จะใช้ ได้ เมื่อได้ รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ 6.3.40 เครื่ องปลดวงจรประจําแต่ ละตัว มอเตอร์ แต่ละตัวต้ องมีเครื่ องปลดวงจรประจําตัว ยกเว้ น อนุญาตให้เครื ่องปลดวงจรตัวเดี ยว จ่ายไฟให้แก่กลุ่มมอเตอร์ ได้โดยต้องเป็ นไปตามข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี ้ 6.3.40.1 มอเตอร์ เหล่านั้นใช้ งานในเครื่ องจักรตัวเดียวกัน 6.3.40.2 มอเตอร์ เหล่านั้นใช้ เครื่ องป้องกันกระแสเกินเครื่ องเดียวกัน ตามที่ได้ อนุญาตในข้ อ 6.3.22.1 6.3.40.3 มอเตอร์ เหล่านั้นรวมอยู่ในห้ องเดียวกัน สามารถมองเห็นได้ ทั้งหมดจากจุดที่ติดตั้ง เครื่ องควบคุมและอยูห่ า่ งไม่เกิน 15 เมตร จากเครื่ องควบคุม ตอน ฌ. มอเตอร์ สําหรั บระบบแรงสูง ข้อกํ าหนดในตอนนีใ้ ห้ใช้เป็ นข้อกํ าหนดเพิ่ มเติ มสําหรับมอเตอร์ ระบบแรงสูง 6.3.41 การระบุเครื่ องหมายของเครื่ องควบคุม เครื่ องควบคุมต้ องมีเครื่ องหมายระบุแรงดันไฟฟ้าสําหรับวงจรควบคุม 6.3.42 ท่ อร้ อยสายเข้ ามอเตอร์ ท่อโลหะอ่อนและท่อโลหะอ่อนกันของเหลวที่ใช้ ร้อยสายเข้ ามอเตอร์ อนุญาตให้ มีความยาวได้ ไม่ เกิน 1.80 เมตร 6.3.43 การป้องกันกระแสเกินของวงจรมอเตอร์ วงจรไฟฟ้าแรงสูงของมอเตอร์ แต่ละเครื่ อง ต้ องมีการป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง และป้องกัน การลัดวงจรในมอเตอร์ ในสายของวงจรมอเตอร์ และในเครื่ องควบคุมมอเตอร์ โดยที่เครื่ อง ป้องกันแต่ละประเภทนัน้ ต้ องทํางานถูกต้ องตามหน้ าที่ ยกเว้ น เมื อ่ มอเตอร์ นนั้ มี ความสําคัญ มากและจํ า เป็ นต้อ งใช้ ง านจนชํ า รุ ด เพื ่อ ป้ องกัน อัน ตรายที ่จ ะเกิ ด แก่ บุค คล อนุญ าตให้ มี เครื ่องตรวจวัด (sensing device) ต่อไว้ได้เพือ่ ส่งสัญญาณไปทีแ่ ผงเตื อน (annunciator) หรื อ สัญญาณเสียง (alarm) ทํางานแทนการตัดวงจรมอเตอร์ นนั้

6-20

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.3.43.1 การป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง ก) มอเตอร์ แต่ละเครื่ อง ต้ องป้ องกันความเสียหายจากความร้ อนสูง เนื่องจากใช้ งานเกินกําลังหรื อจากการเริ่ มเดินไม่สําเร็ จ ด้ วยเครื่ องป้องกันอุณหภูมิสงู เกิน ติดตังในตั ้ วมอเตอร์ หรื อติดตังอุ ้ ปกรณ์ตรวจจับกระแสหรื อทั้งสองอย่าง ข) วงจรทุติยภูมิของมอเตอร์ แบบเวาด์โรเตอร์ ซึ่งรวมทั้งสาย เครื่ องควบคุม และตัว ต้ านทานถือว่ามีการป้องกันกระแสเกินโดยเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง ของมอเตอร์ แล้ ว ค) เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังต้ องปลดสายเส้ นไฟ ทุกเส้ นได้ พร้ อมกัน ง) เครื่ องตรวจจับการใช้ งานเกินกําลัง ต้ องไม่สามารถปรับเข้ าที่ได้ เอง (reset) โดย อัตโนมัติ เว้ นแต่การปรับเข้ าที่โดยอัตโนมัตินั้นไม่ทําให้ มอเตอร์ เริ่ มเดินได้ เอง หรื อการที่มอเตอร์ เริ่ มเดินได้ เองไม่ก่อให้ เกิดอันตรายแก่บคุ คล 6.3.43.2 การป้องกันกระแสลัดวงจร ก) วงจรมอเตอร์ แต่ละวงจร ต้ องมีการป้องกันกระแสลัดวงจร โดยติดตั้งฟิ วส์ หรื อ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบและขนาดที่เหมาะสม ข) เครื่ องตัดกระแสลัดวงจร ต้ องไม่สามารถต่อวงจรได้ เองโดยอัตโนมัติ ยกเว้ น ในกรณี ทีเ่ กิ ดลัดวงจรชัว่ ขณะ (transient fault) และการต่อวงจรไม่ทําให้เกิ ด อันตรายแก่บคุ คล ค) เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง และเครื่ องป้องกันการลัดวงจรอาจเป็ นเครื่ อง เดียวกันก็ได้ 6.3.44 พิกัดของเครื่ องควบคุมมอเตอร์ เครื ่ อ งควบคุม มอเตอร์ แ ละเครื ่ อ งปลดวงจรย่อ ยมอเตอร์ ต้ อ งมีพ ิก ดั กระแสไม่น้ อ ยกว่า ค่ากระแสของเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังที่ได้ ติดตั้งไว้ ให้ ตดั วงจร 6.3.45 เครื่ องปลดวงจร เครื่ องปลดวงจร ต้ องสามารถใส่กญ ุ แจได้ ในตําแหน่งปลดวงจร

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-21

ตอน ญ.การป้องกันส่ วนทีม่ ีไฟฟ้า ข้อกํ าหนดในตอนนีใ้ ห้ใช้ได้ทงั้ ระบบแรงตํ่าและแรงสูง 6.3.46 ที่ซ่ งึ ต้ องมีการป้องกัน ส่วนที่มีไฟฟ้าของมอเตอร์ และเครื่ องควบคุมที่ทํางานในระบบแรงดันเกิน 50 โวลต์ ขึ ้นไปและมี โอกาสสัมผัสได้ ต้ องมีการป้องกันการสัมผัสโดยบังเอิญโดยมีเครื่ องห่อหุ้ม หรื อติดตั้งในสถานที่ ที่เหมาะสมดังนี ้ 6.3.46.1 ติดตังในห้ ้ องหรื อที่ล้อม ซึง่ เข้ าถึงได้ เฉพาะบุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง 6.3.46.2 ติดตั้งอยูบ่ นยกพื ้นที่เหมาะสมหรื อติดตั้งอยู่บนโครงสร้ างที่ยกสูงจากพื ้นและ สามารถ เข้ าถึงได้ เฉพาะบุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง 6.3.46.3 ติดตั้งอยูส่ งู จากพื ้นเกิน 2.40 เมตร ขึ ้นไป 6.3.47 การป้องกันสําหรั บผู้ท่ เี กี่ยวข้ อง ในที่ซึ่งส่วนที่มีไฟฟ้า ต้ องมีการป้องกันโดยติดตั้งอยู่ในสถานที่ที่เหมาะสมตามข้ อ 6.3.46 และ ระหว่างใช้ งานอาจต้ องมีการเข้ าไปปรับหรื อเข้ าไปปฏิบตั ิงานใกล้ ต้ องปูพื ้นด้ วยฉนวนหรื อยก พืน้ เป็ นฉนวนที่เหมาะสม เพื่ อให้ ผ้ ูที่เข้ าไปปฏิบัติงานไม่อาจสัมผัสส่วนที่ มีไฟฟ้าได้ โดยง่าย นอกจากจะยืนบนฉนวนปูรองพื ้นหรื อยกพื ้นดังกล่าว ตอน ฎ. การต่ อลงดิน จุดประสงค์ ของตอนนี ้เพื ่อใช้กําหนดเกี ่ยวกับการต่อลงดิ นของโครงมอเตอร์ และเครื ่ องควบคุม เพือ่ ป้ องกันมิ ให้เกิ ดแรงดันไฟฟ้ าสูงกว่าดิ นเมื อ่ เกิ ดไฟรัว่ ลงทีโ่ ครงมอเตอร์ หรื อเครื ่องควบคุมโดย บังเอิ ญ การหุ้มด้วยฉนวน การติ ดตัง้ ในที ห่ ่างจากการสัมผัส และการกัน้ ไม่ให้สมั ผัสได้สามารถ ใช้เป็ นมาตรการแทนการต่อลงดิ นของมอเตอร์ ได้ตามความเหมาะสม 6.3.48

โครงมอเตอร์ ท่ ใี ช้ แรงดันไฟฟ้าเกิน 50 โวลต์ ต้ องต่ อลงดิน

ข้ อยกเว้ นที่ 1 ใช้แรงดันไฟฟ้ าไม่เกิ น 50 โวลต์ และถ้ารับไฟจากหม้อแปลงลดแรงดันต้อง เป็ นหม้ อ แปลง แยกขดลวดตามมาตรฐานของสํ านักงานมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์ อตุ สาหกรรม หรื อมาตรฐาน อืน่ ทีก่ ารไฟฟ้ าฯ เห็นชอบ ข้ อยกเว้ นที่ 2 เป็ นมอเตอร์ ชนิ ดมีฉนวนสองชัน้

6-22

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.4 หม้ อแปลง ห้ องหม้ อแปลง และลานหม้ อแปลง 6.4.1 ขอบเขต ครอบคลุมการติดตังหม้ ้ อแปลงทุกประเภท ยกเว้ น หม้ อแปลงดังต่อไปนี ้ 6.4.1.1 หม้ อแปลงกระแส (current transformer) 6.4.1.2 หม้ อแปลงแบบแห้ งที่ติดมากับอุปกรณ์ สําเร็ จ และมีความเหมาะ-สมกับอุปกรณ์ สําเร็ จแล้ วนั้น 6.4.1.3 หม้ อแปลงที่เป็ นส่วนหนึง่ ของเครื่ องเอกซเรย์ หรื ออุปกรณ์ความถี่สงู 6.4.1.4 หม้ อแปลงที่ใช้ ในระบบควบคุมระยะห่างและสัญญาณ (transformer used with remote-control and signaling) 6.4.1.5 หม้ อแปลงสําหรับป้ายโฆษณา 6.4.1.6 หม้ อแปลงสําหรับหลอดไฟปล่อยประจุ 6.4.1.7 หม้ อแปลงสําหรับระบบแจ้ งสัญญาณเพลิงไหม้ 6.4.1.8 หม้ อแปลงที่ใช้ สําหรับการค้ นคว้ า ทดสอบ หรื อวิจยั ซึง่ มีการป้องกันเพื่อไม่ให้ บคุ คล ที่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องสัมผัสกับส่วนที่มีไฟฟ้า 6.4.1.9 หม้ อแปลงระบบแรงตํ่า ตอน ก. ทั่วไป 6.4.2 ที่ตงั ้ หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลงต้ องอยู่ในสถานที่ซงึ่ บุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก เพื่อทําการตรวจและบํารุงรักษา และต้ องจัดให้ มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอกับการใช้ งาน 6.4.3 การป้องกันกระแสเกิน หม้ อแปลงต้ องมีการป้องกันกระแสเกินตามข้ อ 6.4.3.1 หรื อ 6.4.3.2 เครื่ องป้องกันกระแสเกิน และเครื่ องปลดวงจรต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 3.3 และ 3.5 สําหรับข้ อที่นํามาใช้ ได้ และถ้ า เครื่ องปลดวงจรไม่ใช่ประเภทสวิตช์สําหรับตัดโหลดติดตั้งอยู่ด้านไฟเข้ าของหม้ อแปลง ต้ องมี ป้ายเตือนให้ ปลดสวิตช์แรงตํ่าก่อนและป้ายเตือนนี ้ต้ องติดไว้ ในบริ เวณที่เห็นได้ ง่ายจากบริ เวณที่ จะทําการปลดวงจรด้ านไฟเข้ า หม้ อแปลงในข้ อนีห้ มายถึง หม้ อแปลงหนึ่งเฟส หรื อสามเฟส หรื อการต่อเข้ าด้ วยกันของหม้ อแปลงหนึ่งเฟส ทั้งแบบ 2 ลูก และ 3 ลูก เพื่อประกอบเข้ าเป็ น หม้ อแปลง 1 ชุด

6-23

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.4.3.1 หม้ อแปลงระบบแรงสูง ต้ องมีการป้องกันกระแสเกินทั้งด้ านไฟเข้ าและด้ านไฟออกซึง่ มีขนาดปรับตั้งได้ ไม่เกินค่าที่กําหนดในตารางที่ 6-5 ยกเว้ น ถ้าขนาดที ่กํ าหนดไม่ ใช่ ขนาด มาตรฐานของผูผ้ ลิ ตอนุญาต ให้ใช้ขนาดใกล้เคียงทีส่ ูง ถัดไปได้ 6.4.3.2 หม้ อแปลงแรงดันที่ติดตั้งในอาคาร ต้ องติดตั้งในเครื่ องห่อหุ้ม และมีเครื่ องป้องกัน กระแสเกินด้ านไฟเข้ า ยกเว้ น หม้อแปลงแรงดันสําหรับเครื ่องวัดหน่วยไฟฟ้ าของการไฟฟ้า 6.4.4 การต่ อขนานหม้ อแปลง อนุญาตให้ หม้ อแปลงหลายลูกต่อขนานกันได้ เมื่อหม้ อแปลงแต่ละลูกมีการติดตั้งเครื่ องป้องกัน กระแสเกินทั ้งด้ านแรงสูงและแรงตํ่าที่เป็ นไปตามข้ อ 6.4.3 และต้ องมีสวิตช์หรื อเซอร์ กิตเบรก เกอร์ แรงสูงที่สามารถปลดและสับหม้ อแปลงได้ พร้ อมกัน และหม้ อแปลงทุกลูก ต้ องมีคณ ุ สมบัติ ทางไฟฟ้าเหมือนกัน 6.4.5 การต่ อลงดิน ส่วนของหม้ อแปลงที่เป็ นโลหะเปิ ดโล่งและไม่ใช้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้ารวมถึงรัว้ ที่กั ้นหรื อ อื่นๆ ต้ องต่อลงดินตามบทที่ 4 ตัวนําต่อลงดินเป็ นทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 35 ตร.มม. หรื อ เป็ นวัสดุทนการกัดกร่อนอื่นที่นํากระแสได้ ไม่ตํ่ากว่า ตารางที่ 6-5 ขนาดปรับตัง้ สูงสุดของเครื่ องป้องกันกระแสเกินสําหรั บหม้ อแปลงระบบแรงสูง ด้ านไฟเข้ า ขนาดอิมพีแดนซ์ ของหม้ อแปลง

ไม่เกิน 6% มากกว่า 6% แต่ไม่เกิน 10%

ด้ านไฟออก

แรงดัน มากกว่ า 1,000 โวลต์

แรงดัน มากกว่ า 1,000 โวลต์

เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 600%

300%

เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 300%

250%

แรงดัน ไม่ เกิน 1,000 โวลต์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ หรื อฟิ วส์ 125%

400%

300%

250%

225%

125%

ฟิ วส์

ฟิ วส์

6.4.6 การกัน้ หม้ อแปลงต้ องมีการกั้นดังต่อไปนี ้ 6.4.6.1 ต้ องมีวิธีการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันหม้ อแปลงชํารุ ดจากสาเหตุภายนอก เมื่อหม้ อ แปลงติดตั้งในที่ที่อาจได้ รับความเสียหายทางกายภาพ

6-24

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.4.6.2 หม้ อแปลงแบบแห้ งต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มที่ไม่ติดไฟและทนความชื ้น เพื่อป้องกันวัตถุ แปลกปลอมที่อาจเข้ าไปได้ 6.4.6.3 ส่วนที่มีไฟฟ้าและเปิ ดโล่งต้ องมีการกันตามที ้ ่กําหนดในบทที่ 1 ตอน ค. 6.4.6.4 ส่วนที่มีไฟฟ้าและอยู่เปิ ดเผยต้ องมีป้ายหรื อเครื่ องหมายแสดงแรงดันไฟฟ้าติดตั้งไว้ ให้ เห็นได้ งา่ ยบนบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าหรื อโครงสร้ าง ตอน ข. ข้ อกําหนดจําเพาะสําหรั บหม้ อแปลงชนิดต่ างๆ 6.4.7 หม้ อแปลงชนิดแห้ งติดตัง้ ในอาคาร (Indoor) 6.4.7.1 หม้ อแปลงชนิดแห้ ง แรงดันไม่เกิน 33 เควี ขนาดไม่เกิน 112.5 เควีเอ ต้ องติดตั ้งห่าง จากวัสดุติดไฟได้ ไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร ยกเว้ น กัน้ ด้วยแผ่นกัน้ ความร้อน หรื อหม้อแปลงอยู่ ในเครื ่องห่อหุม้ ทีป่ ิ ดส่วนทีม่ ี ไฟฟ้ าไว้มิดชิ ด 6.4.7.2 หม้ อแปลงชนิดแห้ ง แรงดันไม่เกิน 33 เควี ขนาดเกิน 112.5 เควีเอ ต้ องติดตังในห้ ้ อง หม้ อแปลง ข้ อยกเว้ นที่ 1 หม้อแปลงมี ระบบอุณหภูมิของฉนวน (insulation system temperature) 150 องศาเซลเซี ยสหรื อสูงกว่า และกัน้ ไว้ด้วยแผ่นกัน้ ความร้ อน หรื อติ ดตัง้ ห่าง จากวัสดุทีต่ ิ ดไฟได้ในแนวระดับไม่นอ้ ยกว่า 1.80 เมตร และในแนวดิ่ งไม่นอ้ ย กว่า 3.60 เมตร ข้ อยกเว้ นที่ 2 หม้อแปลงมี ระบบอุณหภูมิของฉนวน 150 องศาเซลเซี ยสหรื อสูงกว่า และมี เครื ่องห่อหุม้ ส่วนทีม่ ีไฟฟ้ ามิ ดชิ ด

6.4.8 หม้ อแปลงชนิดแห้ งติดตัง้ ภายนอกอาคาร (Outdoor) ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มที่ทนสภาพอากาศ และหม้ อแปลงที่มีขนาดเกิน 112.5 เควีเอ ต้ องติดตั้งห่าง จากวัสดุตดิ ไฟได้ ไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร 6.4.9 หม้ อแปลงฉนวนของเหลวไม่ ตดิ ไฟ (Nonflammable Fluid-Insulated Transformer) ติดตั้งได้ ทั ้งภายในและภายนอกอาคาร ถ้ าติดตั้งภายในอาคารต้ องติดตั้งในห้ องหม้ อแปลง ตาม ข้ อ 6.4.13

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-25

6.4.10 หม้ อแปลงฉนวนของเหลวติดไฟได้ 6.4.10.1 กรณีตดิ ตัง้ ภายในอาคาร ต้ องติดตั้งในห้ องหม้ อแปลง ยกเว้ น หม้อแปลงใช้กบั เตาหลอมไฟฟ้ ามี ขนาดไม่เกิ น 75 เควี เอ หากไม่อยู่ในห้องหม้อแปลงต้องมี รั้วล้อมรอบ และ ระยะห่างระหว่างหม้อแปลงกับรัว้ ต้องไม่นอ้ ยกว่า 1.00 เมตร 6.4.10.2 กรณีติดตัง้ ภายนอกอาคาร หากติดตั้งหม้ อแปลงใกล้ วสั ดุหรื ออาคารที่ติดไฟได้ หรื อติดตั้งใกล้ ทางหนีไฟ ประตู หรื อหน้ าต่าง ควรมีการปิ ดกั้นเพื่อป้องกันไฟที่เกิดจากของเหลว ของหม้ อแปลงลุกลามไปติดอาคารหรื อส่วนของอาคารที่ติดไฟ ส่วนที่มีไฟฟ้าด้ านแรงสูงต้ องอยู่ ห่างจากโครงสร้ างอื่นไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร 6.4.11 หม้ อแปลงฉนวนของเหลวติดไฟยาก (Less-Flammable Liquid-Insulated Transformer) คือ หม้ อแปลงที่บรรจุด้วยฉนวนของเหลวที่มีจดุ ติดไฟ (fire point) ไม่ตํ่ากว่า 300 ºC และฉนวน ของเหลว ต้ องเป็ นชนิดที่ไม่เป็ นพิษต่อคนและสิ่งแวดล้ อม (non-toxic) หม้ อแปลงชนิดนี ้มี ข้ อกําหนดในการติดตั้งใช้ งานดังนี ้ 6.4.11.1 ติดตั้งภายในอาคารในบริ เวณพื ้นที่ติดไฟหรื อมีวัสดุที่ติดไฟได้ พื ้นที่สําหรับติดตั้ง หม้ อแปลงชนิดนี ้ต้ องมีข้อกําหนดดังต่อไปนี ้ ก) ต้ องติดตั้งในห้ องหม้ อแปลงตามข้ อ 6.4.12 หรื อ ข) ต้ องมีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ และต้ องมีการกั้นเก็บของเหลวซึง่ อาจไหลออกมา โดยการทําบ่อพัก (sump) หรื อทําที่กั้น 6.4.11.2 ติดตังภายในอาคารในบริ ้ เวณที่ไม่ติดไฟ type I และ type II ตาม NFPA 220-1985 หรื อเทียบเท่า และไม่มีวสั ดุที่ตดิ ไฟได้ ในพื ้นที่ที่ตดิ ตั้งหม้ อแปลง มีข้อกําหนดดังต่อไปนี ้ ก) ต้ องติดตั ้งภายในห้ องหม้ อแปลงตามข้ อ 6.4.12 หรื อ ข) ต้ องมีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ และต้ องมีการกั้นเก็บของเหลวซึง่ อาจไหลออกมา โดยการทําบ่อพัก หรื อทําที่กั้น หรื อ ค) ไม่ต้องมีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ แต่ต้องมีการกั้นเก็บของเหลวซึง่ อาจไหลออกมา โดยการทําบ่อพัก หรื อทําที่กั้น และต้ องใช้ หม้ อแปลงที่มีคุณสมบัติและมีการ ติดตั้งเป็ นไปตามข้ อจํากัดที่ระบุไว้ ของสถาบัน UL หรื อ FM (factory mutual) ตามชนิดของของเหลวนั้นๆ เช่น 1) ตัวถังหม้ อแปลง ต้ องมีความแข็งแรงสามารถทนแรงดัน 12 ปอนด์ต่อตา-ราง นิ ้วได้ โดยไม่ระเบิด มีการใช้ ฟิวส์จํากัดกระแส (current limiting fuse)

6-26

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

2) ระยะห่า ง ระหว่า งหม้ อ แปลงกับ ผนังและเพดานรวมทั้งคุณลัก ษณะการ ถ่ายเทความร้ อนตามที่กําหนด 3) ข้ อกําหนดอื่นๆ ตามที่ระบุใน UL หรื อ FM 6.4.11.3 ติดตั้งภายนอกอาคารให้ เป็ นไปตามข้ อ 6.4.10.2 6.4.11.4 หม้ อแปลงที่มีพิกดั แรงดันเกิน 33 เควี หากติดตั้งภายในอาคาร จะต้ องติดตั้งในห้ อง หม้ อแปลงเท่านั้น ตอน ค. ห้ องหม้ อแปลง 6.4.12 ห้ องหม้ อแปลงสําหรั บหม้ อแปลงฉนวนของเหลวติดไฟได้ และฉนวนของเหลว ติดไฟยาก 6.4.12.1 ห้ องหม้ อแปลงต้ องอยู่ในสถานที่ ที่สามารถขนย้ ายหม้ อแปลงทั ้งลูกเข้ าออกได้ และ สามารถระบายอากาศสูอ่ ากาศภายนอกได้ หากใช้ ทอ่ ลมต้ องเป็ นชนิดทนไฟ ห้ องหม้ อแปลงต้ อง เข้ าถึงได้ โดยสะดวกสําหรับผู้ที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเพื่อตรวจสอบและบํารุงรักษา 6.4.12.2 ระยะห่างระหว่างหม้ อแปลงกับผนังหรื อประตูห้องหม้ อแปลง ต้ องไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร ระยะห่างระหว่างหม้ อแปลงต้ องไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร บริ เวณที่ตงหม้ ั ้ อแปลงต้ องมีที่ว่าง เหนือหม้ อแปลงหรื อเครื่ องห่อหุ้มหม้ อแปลงไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร 6.4.12.3 การระบายอากาศ ช่องระบายอากาศควรอยู่ห่างจากประตู หน้ าต่า ง ทางหนีไ ฟ และวัส ดุที่ติด ไฟได้ ม ากที่ส ดุ เท่า ที่จ ะทํา ได้ อุณหภูมิภายในห้ องหม้ อแปลงต้ องไม่เกิน 40 ºC การระบายความร้ อนทําได้ โดยวิธีใดวิธีหนึง่ ดังนี ้ ก) ใช้ ระบบหมุนเวียนอากาศตามธรรมชาติ ต้ องมีช่องระบายอากาศทั้งด้ านเข้ าและออก พื ้นที่ของช่องระบายอากาศแต่ละ ด้ าน (เมื่อไม่คดิ รวมลวดตาข่าย) ต้ องไม่น้อยกว่า 1 ตร.เมตร / 1,000 เควีเอ ของ หม้ อแปลงที่ใช้ งาน และต้ องไม่เล็กกว่า 0.05 ตร.เมตร ตําแหน่งของช่องระบาย อากาศด้ านเข้ าต้ องอยู่ใกล้ กบั พื ้นห้ อง แต่ต้องอยู่สงู ไม่น้อยกว่า 100 มม. ช่อง ระบายอากาศออกต้ องอยู่ใกล้ เพดาน หรื อหลังคา และอยู่ด้านที่ ทําให้ มีการ ถ่ายเทอากาศผ่านหม้ อแปลง ช่องระบายอากาศเข้ าและออก ไม่อนุญาตให้ อยู่ บนผนังด้ านเดียวกัน และช่องระบายอากาศต้ องปิ ดด้ วยลวดตาข่าย

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-27

ข) ระบายความร้ อนด้ วยพัดลม ช่ อ งระบายอากาศด้ า นเข้าต้ อ งมี ข นาดไม่ เ ล็ ก กว่ า ตามที่ คํ า นวณได้ ใ นข้อ 6.4.12.3 ก) ด้ านอากาศออกต้ องติดตั้งพัดลมที่สามารถดูดอากาศออกจากห้ อง ได้ ไม่น้อยกว่า 8.40 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ต่อหนึ่งกิโลวัตต์ของค่ากําลังไฟฟ้า สูญเสียทั้งหมดของหม้ อ-แปลงเมื่อมีโหลดเต็มที่ ค) ระบายความร้ อนด้ วยเครื่ องปรั บอากาศ เครื่ องปรับอากาศต้ องมีขนาดไม่น้อยกว่า 3,412 BTU ต่อชัว่ โมง ต่อหนึ่ง กิโลวัตต์ของค่ากําลังไฟฟ้าสูญเสียทังหมดของหม้ ้ อแปลงเมื่อมีโหลดเต็มที่ 6.4.12.4 ผนังและหลังคาห้ องหม้ อแปลง ต้ องสร้ างด้ วยวัสดุที่มีความแข็งแรงทางโครงสร้ างเพียงพอกับสภาพการใช้ งานและไม่ติดไฟ ผนัง ของห้ องหม้ อแปลงต้ องสร้ างด้ วยวัสดุที่มีความหนาดังนี ้ ก) คอนกรี ตเสริ มเหล็กมีความหนาไม่น้อยกว่า 125 มม. หรื อ ข) อิฐ คอนกรี ต คอนกรี ตบล็อก มีความหนา ไม่น้อยกว่า 200 มม. ค) มีความหนาสอดคล้ องตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัยของวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 6.4.12.5 พืน้ ห้ องหม้ อแปลง ต้ องสร้ างด้ วยคอนกรี ตเสริ มเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 125 มม. และต้ องรับนํ ้าหนักหม้ อแปลงและ บริ ภัณฑ์ อื่นๆ ได้ อย่างปลอดภัย พืน้ ห้ องต้ องลาดเอี ยงมีทางระบายฉนวนของเหลวของหม้ อ แปลงไปลงบ่อพัก บ่อพักต้ องสามารถบรรจุของเหลวอย่างน้ อย 3 เท่าของปริ มาตรของเหลวของ หม้ อแปลงตัวที่มากที่สดุ แล้ วใส่หินเบอร์ 2 จนเต็มบ่อ ถ้ าบ่อพักอยู่ภายนอกห้ องหม้ อแปลงต้ อง มีทอ่ ระบายชนิดทนไฟขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 50 มม. เพื่อระบายของเหลวจากห้ อง หม้ อแปลงไปลงบ่อพัก ปลายท่อด้ านหม้ อแปลงต้ องปิ ดด้ วยตะแกรง 6.4.12.6 ประตูห้องหม้ อแปลงต้ องทําด้ วยเหล็กแผ่นหนาอย่างน้ อย 1.6 มม. มีวิธีการป้องกัน การผุกร่ อน ประตูต้องมีการจับยึดไว้ อย่างแน่นหนา ต้ องมีประตูฉกุ เฉินสํารองไว้ สําหรับเป็ น ทางออกและเป็ นชนิดที่เปิ ดออกภายนอกได้ สะดวกและรวดเร็ ว 6.4.12.7 ต้ องมีธรณีประตูสงู เพียงพอที่จะกักนํ ้ามันตัวที่มากที่สดุ ได้ และต้ องไม่น้อยกว่า 100 มม. 6.4.12.8 เครื่ อ งปลดวงจรที่ติด ตั ้งในห้ อ งหม้ อ แปลง ต้ อ งเป็ นชนิด สวิต ช์สําหรั บตัดโหลด เท่านั้น 6.4.12.9 เครื่ องห่อหุ้มส่วนที่มีไฟฟ้าทั้งหมดต้ องเป็ นวัสดุไม่ตดิ ไฟ

6-28

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6.4.12.10 ส่ว นที่เ ป็ นโลหะเปิ ดโล่ง และไม่ใ ช้ เ ป็ นทางเดิน ของกระแสไฟฟ้ าต้ อ งต่อ ลงดิน ตัวนําต่อหลักดินต้ องเป็ นทองแดงมีขนาดไม่เล็กกว่า 35 ตร.มม. 6.4.12.11 ห้ องหม้ อแปลงต้ องมีแสงสว่างอย่างเพียงพอ โดยความส่องสว่างเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 200 ลักซ์ 6.4.12.12 ควรมีคมู่ ือหรื อแผ่นภาพแสดงการปฐมพยาบาล โดยวิธีผายปอดแบบเป่ าปากไว้ ใน สถานที่ที่เข้ าถึงได้ สะดวก 6.4.12.13 ระบบท่ออื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ไม่อนุญาตให้ เดินท่อผ่านเข้ าไปในห้ องหม้ อ แปลง ยกเว้ น ท่อสําหรับระบบดับเพลิ ง หรื อระบบระบายความร้อนของหม้อแปลง หรื อทีไ่ ด้ ออกแบบอย่างเหมาะสมแล้ว 6.4.12.14 ห้ ามเก็บวัสดุที่ไม่เกี่ยวข้ องกับการใช้ งานทางไฟฟ้า และวัสดุเชื ้อเพลิงไว้ ในห้ องหม้ อ แปลง 6.4.12.15 ต้ อ งมีเครื่ อ งดับเพลิง ชนิดที่ใช้ ดบั ไฟที่เกิดจากอุปกรณ์ ไฟฟ้ า (class C) ขนาด นํ ้าหนักบรรจุสารไม่น้อยกว่า 6.5 กก. ติดตั้งไว้ ที่ผนังด้ านนอกห้ องหม้ อแปลงไม่สงู กว่า 1.50 เมตร จากระดับพื ้นจนถึงหัวของเครื่ องดับเพลิง หมายเหตุ ชนิ ดของเครื ่ องดับเพลิ งที ่ใช้กบั อุปกรณ์ ไฟฟ้ า ได้แก่ ผงเคมี แห้งคาร์ บอนไดออกไซด์ และสาร สะอาดดับเพลิ ง

6.4.12.16 ถ้ า บริ เ วณที ่ต ิด ตั ้งหม้ อ แปลง มีก ารติด ตั ้งเครื ่ อ งด บั เพลิง อัต โนมัต ิ เช่ น คาร์ บอนไดออกไซด์ หรื อนํ ้า ความหนาของผนังห้ องอนุญาตให้ ลดลงได้ คือถ้ าเป็ นคอนกรี ตเสริ ม เหล็กต้ องมีความหนาไม่น้อยกว่า 65 มม. และถ้ าเป็ นอิฐ คอนกรี ต หรื อคอนกรี ตบล็อก ต้ องมี ความหนาไม่น้อยกว่า 100 มม. 6.4.12.17 ควรมีป้ายเตือนแสดงข้ อความ “อันตรายไฟฟ้าแรงสูง” และ “เฉพาะเจ้ าหน้ าที่ ที่เกี่ยวข้ องเท่ านัน้ ” ให้ เห็นอย่างชัดเจนติดไว้ ที่ผนังด้ านนอกห้ องหม้ อแปลง 6.4.13 ห้ องหม้ อแปลงสําหรั บหม้ อแปลงฉนวนของเหลวไม่ ตดิ ไฟ ให้ ใช้ ข้อกําหนดเช่นเดียวกับข้ อ 6.4.12 ข้ อยกเว้ นที่ 1 ไม่ต้องมี บ่อพัก แต่ต้องสามารถระบายนํ้า หรื อฉนวนของเหลวของหม้อแปลงออกจากห้อง ได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 ความหนาของผนังห้องหม้อแปลงเป็ นดังนี ้ 2.1) คอนกรี ตเสริ มเหล็ก หนาไม่นอ้ ยกว่า 65 มม. หรื อ 2.2) อิ ฐทนไฟ มีความหนาไม่นอ้ ยกว่า 100 มม. หรื อ 2.3) คอนกรี ต บล็อก มีความหนาไม่นอ้ ยกว่า 100 มม.

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-29

6.4.14 ห้ องหม้ อแปลงสําหรั บหม้ อแปลงชนิดแห้ ง ให้ใช้ขอ้ กํ าหนดเช่นเดียวกับข้อ 6.4.13 ยกเว้ น ไม่ตอ้ งมีบ่อพักและท่อระบายของเหลว ตอน ง. ลานหม้ อแปลงอยู่ภายนอกอาคาร (Outdoor Yard) 6.4.15 ลานหม้ อแปลงอยู่บนพืน้ ดิน 6.4.15.1 หม้ อแปลงต้ องอยู่ในที่ล้อม ที่ล้อมนีอ้ าจจะเป็ นกํ าแพงหรื อรั้วที่ใส่กุญแจได้ และ เข้ าถึงได้ เพื่อการตรวจสอบและบํารุงรักษาสําหรับบุคคลที่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง 6.4.15.2 ที่ว่างเพื่อปฏิบัตงิ าน ส่วนที่มีไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าแรงสูงเหนื อที่ว่างเพื่อปฏิบัติงานต้ องอยู่สูงจากพื ้นไม่น้อยกว่า 2.75 เมตร หรื อมีที่กั้นเพื่อป้องกันการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้าโดยไม่ได้ ตั้งใจ 6.4.15.3 ระยะห่ าง ก) ระยะห่ า งตามแนวระดั บ ระหว่ า งรั้ว หรื อ ผนั ง กั บ ส่ ว นที่ มี ไ ฟฟ้ าของระบบ ไฟฟ้าแรงสูง ต้ องไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร สําหรับแรงดันไม่เกิน 33 เควี ข) ระยะห่างตามแนวระดับระหว่างรั้ว หรื อผนังกับหม้ อ-แปลงต้ องไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร ระยะห่างระหว่างหม้ อแปลงต้ องไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร 6.4.15.4 รั้วหรื อกําแพงของลานหม้ อแปลงต้ องสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร 6.4.15.5 การต่อลงดิน ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.4.12.10 6.4.15.6 ควรมีป้ายเตือนแสดงข้ อความ “อันตรายไฟฟ้าแรงสูง” และ “เฉพาะเจ้ าหน้ าที่ท่ ี เกี่ยวข้ องเท่ านัน้ ” ให้ เห็นอย่างชัดเจนติดไว้ ที่ผนังด้ านนอกห้ องหม้ อแปลง 6.4.15.7 พื ้นของลานหม้ อแปลง ต้ องใส่หินเบอร์ 2 หนาอย่างน้ อย 100 มม. ยกเว้ น ส่วนที ่ ติ ดตัง้ บริ ภณ ั ฑ์ 6.4.16 ลานหม้ อแปลงอยู่บนดาดฟ้าของอาคาร ให้ ใช้ ข้อกําหนดเช่นเดียวกับข้ อ 6.4.15 โดยมีข้อกําหนดเพิ่มเติม ดังนี ้ 6.4.16.1 พื ้นของดาดฟ้ารวมทั้งตัวอาคารที่ติดตั้งหม้ อแปลง ต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะ รับนํ ้าหนักของหม้ อแปลงและบริ ภณ ั ฑ์ได้ อย่างปลอดภัย 6.4.16.2 ต้ องติดตั้งระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าสําหรับ สิ่งปลูกสร้ าง ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 6.4.16.3 หม้ อแปลงชนิดฉนวนของเหลวติดไฟได้ ต้องมีบ่อพักและบ่อพักต้ องสามารถบรรจุ ของเหลวได้ อีกอย่างน้ อย 3 เท่าของปริ มาตรของเหลวของหม้ อแปลงตัวที่มากที่สดุ แล้ วใส่หิน

6-30

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

เบอร์ 2 จนเต็ม ท่อระบายของเหลวไปบ่อพักต้ องมีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 50 มม. และเป็ นชนิดทนไฟ ปลายท่อด้ านหม้ อแปลงต้ องปิ ดด้ วยตะแกรง บ่อพักต้ องมีวิธีป้องกันนํ ้าขังและป้องกันฉนวนของเหลวจากหม้ อแปลงลงพื ้นที่สาธารณะ

6.5 คาปาซิเตอร์ 6.5.1 ทั่วไป ให้ ใช้ กับการติดตังคาปาซิ ้ เตอร์ ในวงจรไฟฟ้า เพื่อปรั บปรุ งค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า (power factor) เท่านั้น 6.5.2 เครื่ องห่ อหุ้มและการกัน้ 6.5.2.1 คาปาซิเตอร์ ที่บรรจุด้วยของเหลวติดไฟปริ มาณรวมกันมากกว่า 11 ลิตร ต้ องติดตั ้งใน ห้ องเฉพาะหรื อติดตั้งภายนอกอาคารโดยมีรั้วล้ อมหรื อติดตั้งบนเสา 6.5.2.2 คาปาซิเตอร์ ต้องมีเครื่ องห่อหุ้มหรื อติดตั้งโดยมีการกั้นรั้วหรื อโดยวิธีอื่น เพื่อป้องกัน บุคคลมาสัมผัสกับส่วนที่มีไฟฟ้าโดยบังเอิญ ยกเว้ น คาปาซิ เตอร์ นนั้ เข้าถึงได้เฉพาะบุคคลทีม่ ี หน้าทีเ่ กี ่ยวข้องเท่านัน้ ตอน ก. คาปาซิเตอร์ แรงดันไม่ เกิน 1,000 โวลต์ 6.5.3 การคายประจุ ต้ องจัดให้ มีวธิ ีการคายประจุของคาปาซิเตอร์ ดังนี ้ 6.5.3.1 ช่ วงเวลาคายประจุ เมื่อปลดคาปาซิเตอร์ ออกจากวงจรไฟฟ้า ต้ องมีการคายประจุให้ แรงดันลดลงเหลือไม่เกิน 75 โวลต์ ภายในเวลา 3 นาที นับจากเวลาที่ปลด 6.5.3.2 มาตรการในการคายประจุ ให้ มีการคายประจุ โดยใช้ วงจรคายประจุที่ต่ออย่างถาวรกับ คาปาซิเตอร์ หรื อมีอปุ กรณ์ที่จะ ต่อเข้ ากับขั้วของชุดคาปาซิเตอร์ โดยอัตโนมัติ เมื่อปลดคาปาซิเตอร์ ออกจากแหล่งจ่ายไฟฟ้า ห้ ามใช้ สวิตช์ที่ทํางานด้ วยมือ หรื อวงจรคายประจุที่ทําการต่อวงจรด้ วยมือ 6.5.4 ขนาดกระแสของตัวนํา ตัวนําของวงจรคาปาซิเตอร์ ต้องมีขนาดกระแสไม่น้อยกว่าร้ อยละ 135 ของพิกัดกระแสของคา ปาซิเตอร์ หากคาปาซิเตอร์ ต่อกับวงจรมอเตอร์ ตัวนําของ วงจรคาปาซิเตอร์ ต้องมีขนาดกระแส

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-31

ไม่น้อยกว่า 1/3 ของขนาดกระแสของสาย วงจรมอเตอร์ แต่ทั้งนี ้ขนาดกระแสของตัวนําต้ องไม่ น้ อยกว่าร้ อยละ 135 ของพิกดั กระแสของคาปาซิเตอร์ 6.5.5 การป้องกันกระแสเกิน 6.5.5.1 คาปาซิเตอร์ แต่ละชุด (bank) ต้ องมีเครื่ องป้องกันกระแสเกินที่ตวั นําทุกสายเส้ นไฟ ยกเว้ น กรณี ที ค่ าปาซิ เตอร์ ต่อไว้ทางด้านโหลดของเครื ่องป้ องกันการใช้งานเกิ นกํ าลังของ มอเตอร์ 6.5.5.2 พิกดั หรื อขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องให้ ตํ่าที่สดุ เท่าที่จะให้ คาปาซิ เตอร์ ชดุ นั้นต่อใช้ งานได้ 6.5.6 เครื่ องปลดวงจร 6.5.6.1 ต้ องติดตั้งเครื่ องปลดวงจรในทุกสายเส้ นไฟของคาปาซิเตอร์ แต่ละชุด ยกเว้ น คาปา ซิ เตอร์ ต่อไว้ทางด้านโหลดของเครื ่องป้ องกันการใช้งานเกิ นกํ าลังของมอเตอร์ 6.5.6.2 เครื่ องปลดวงจรต้ องปลดทุกสายเส้ นไฟพร้ อมกัน 6.5.6.3 เครื่ องปลดวงจรต้ องสามารถปลดคาปาซิเตอร์ ออกจากวงจรในสภาพการใช้ งาน ปกติได้ โดยเครื่ องปลดวงจรไม่เสียหาย 6.5.6.4 พิกดั กระแสของเครื่ องปลดวงจรต้ องไม่น้อยกว่าร้ อยละ 135 ของพิกดั กระแสของคา ปาซิเตอร์ 6.5.7 พิกัดหรื อขนาดปรั บตัง้ ของเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังของมอเตอร์ เมื่อติดตั้งคาปาซิเตอร์ ทางด้ านโหลดของเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกํ าลังของมอเตอร์ การ กําหนดพิกดั หรื อขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลังและการกําหนดขนาดตัวนํา ให้ คํานวณจากค่ากระแสที่ปรับค่าตัว-ประกอบกําลังไฟฟ้าแล้ วและดําเนินการตามที่กําหนดใน ข้ อ 6.3 ด้ วย 6.5.8 การต่ อลงดิน เปลือกโลหะของคาปาซิเตอร์ ต้องต่อลงดิน ตามที่กําหนดในบทที่ 4 ยกเว้ น คาปาซิ เตอร์ ที่ ติ ดตัง้ บนโครงสร้างชนิ ดทีเ่ ปลือกของคาปาซิ เตอร์ มีแรงดันไม่เท่ากับดิ น

6-32

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

ตอน ข. คาปาซิเตอร์ แรงดันเกิน 1,000 โวลต์ 6.5.9 การคายประจุ 6.5.9.1 ช่ วงเวลาคายประจุ เมื่อปลดคาปาซิเตอร์ ออกจากวงจรไฟฟ้า ต้ องมีการคายประจุให้ แรงดันลดลงเหลือไม่เกิน 75 โวลต์ ภายในเวลา 10 นาที นับจากเวลาที่ปลด 6.5.9.2 มาตรการในการคายประจุ ให้ มีการคายประจุ โดยใช้ วงจรคายประจุที่ต่ออย่างถาวรกับ คาปาซิเตอร์ หรื อมีอุปกรณ์ที่จะ ต่อเข้ ากับขั้วของชุดคาปาซิเตอร์ โดยอัตโนมัติเมื่ อปลดคาปาซิเตอร์ ออกจากแหล่งจ่ายไฟฟ้า นอกจากคาปาซิเตอร์ ชดุ นี ้จะต่อตรงเข้ ากับขดลวดของมอเตอร์ หรื อของหม้ อแปลง หรื อบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าอื่น แต่ช่วงเวลาการคายประจุต้องเป็ นไปตามข้ อ 6.5.9.1 6.5.10

การป้องกันกระแสเกิน ก) ต้ องจัดให้ มีมาตรการตรวจจับ และตัดกระแสลัดวงจรซึง่ ทําให้ เกิดความดันภายใน คาปาซิเตอร์ แต่ละตัวที่เป็ นอันตราย ข) การป้องกันคาปาซิเตอร์ จะทําเฉพาะแต่ละตัว หรื อทั้งกลุม่ ก็ได้ ค) เครื่ องป้องกันกระแสเกิน อนุญาตให้ ใช้ ชนิดหนึง่ เฟสก็ได้ ั ฑ์ที่มีคาปาซิเตอร์ ต้ องมีพิกดั หรื อ ง) เครื่ องป้องกันสําหรับคาปาซิเตอร์ และบริ ภณ ขนาดปรับตั้งเพื่อให้ คาปาซิเตอร์ แต่ละตัวทํางานได้ โดยไม่เสียหาย

6.5.11 การสับและการปลด 6.5.11.1 กระแสโหลด การสับหรื อปลดคาปาซิเตอร์ ต้ องใช้ สวิตช์ที่ทํางานพร้ อมกันทุกเฟส (group-operated switch) ซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ ก) ความสามารถในการนํากระแสไฟฟ้าต่อเนื่อง ต้ องไม่น้อยกว่าร้ อยละ 135 ของ พิกดั กระแสของคาปาซิเตอร์ ที่ตดิ ตั้ง ข) สามารถตัดกระแสโหลดต่อเนื่องสูงสุดของคาปาซิเตอร์ ที่ตอ่ อยู่ ในสภาพการใช้ งานปกติได้ ค) สามารถทนกระแสไฟกระโชก (inrush current) ค่าสูงสุดที่อาจเกิดขึ ้นในวงจร รวมทั ้งกระแสที่มาจากคาปาซิเตอร์ ที่อยูข่ ้ างเคียงได้ ง) สามารถทนกระแสลัดวงจรที่อาจเกิดขึ ้นทางด้ านที่ตอ่ เข้ ากับคาปาซิเตอร์ ได้

บทที่ 6 บริภัณฑ์ ไฟฟ้า

6-33

6.5.11.2 การแยกวงจร ก) ต้ องมีสวิตช์แยกวงจร เพื่อแยกคาปาซิเตอร์ ออกจากวงจร ข) ระยะห่างระหว่างส่วนที่มีไฟฟ้าที่แยกออกจากกันเมื่อทําการปลดสวิตช์แยก วงจรแล้ ว ต้ องมากพอที่จะทนแรงดันไฟฟ้าที่ใช้ งานกับคาปาซิเตอร์ ได้ ค) สวิตช์แยกวงจร หรื อเครื่ องปลดวงจรที่ไม่กําหนดพิกดั ตัดกระแสลัดวงจร ต้ องมี อินเตอร์ ลอ็ ก (interlock) กับเครื่ องปลดโหลด (load-interrupting device) หรื อจัดทําเครื่ องหมาย หรื อติดป้ายเตือนให้ สบั หรื อปลดเครื่ องปลดโหลดก่อน 6.5.12 การต่ อลงดิน เปลือกโลหะของคาปาซิเตอร์ ต้องต่อลงดินตามที่กําหนดในบทที่ 4 ตัวนําลงดินเป็ นทองแดง ขนาดไม่เล็กกว่า 35 ตร.มม. ยกเว้ น คาปาซิ เตอร์ ทีต่ ิ ดตัง้ บนโครงสร้างชนิ ดทีเ่ ปลือกของคาปา ซิ เตอร์ มีแรงดันไม่เท่ากับดิ นไม่ตอ้ งต่อลงดิ น 6.5.13 เครื่ องหมายแสดงพิกัด คาปาซิเตอร์ แต่ละตัว ต้ องมีแผ่นป้ายประจําเครื่ องอย่างถาวรระบุชื่อผู้ผลิต พิกดั แรงดัน ความถี่ ไฟฟ้า กิโลวัตต์ จํานวนเฟสและถ้ าบรรจุของเหลวติดไฟได้ ต้ องระบุปริมาณของของเหลวนั้นด้ วย

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-1

บทที่ 7 บริเวณอันตราย ข้ อกําหนดในบทนี ้เกี่ยวกับการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าสําหรับบริ เวณอันตราย โดยแบ่ง ออกเป็ น 2 มาตรฐาน กล่าวคือ มาตรฐานที่ 1 (NEC) กําหนดในข้ อ 7.2 ถึง ข้ อ 7.6 ถูกจําแนก บริ เวณอันตรายเป็ นประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 และ ประเภทที่ 3 มาตรฐานที่ 2 (IEC) กําหนด ในข้ อ 7.7 ถูกจําแนกบริ เวณอันตรายเป็ น โซน 0 โซน 1 และ โซน 2

7.1 ทั่วไป การเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้าสําหรับบริ เวณอันตรายให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ในบทนีใ้ ห้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดของมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรั บ ประเทศไทยในส่วนที่เกี่ยวข้ อง 7.1.1 ขอบเขต บทที่ 7 ครอบคลุมข้ อกําหนดสําหรับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและบริ ภณ ั ฑ์อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงวิธีการ เดินสายทุกระดับแรงดันในบริ เวณที่อาจเกิดเพลิงไหม้ หรื อเกิดการระเบิด เนื่องจากก๊ าซ ไอระเหย หรื อของเหลวที่ตดิ ไฟได้ ฝุ่ นที่เผาไหม้ ได้ เส้ นใยหรื อละอองที่ตดิ ไฟได้ 7.1.2 การจําแนกบริเวณอันตราย 7.1.2.1 การจําแนกบริ เวณอันตราย การเดินสายและการติดตั ้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อ 7.1.2.3 หรื อ ข้ อ 7.1.2.4 7.1.2.2 ไม่อนุญาตให้ บริ เวณอันตรายที่จําแนกคนละวิธีกนั ทับซ้ อนกัน คําอธิ บาย ไม่อนุญาต ให้นําวิ ธีการในการจํ าแนกบริ เวณอันตรายที แ่ ตกต่างกันมาใช้ผสมกันในการ จํ าแนกบริ เวณอันตรายบริ เวณ เดี ยวกัน เช่น ในพื ้นที ่หนึ่ งๆ ซึ่ งประกอบด้วยส่วนย่อย หลายส่วนต้องไม่จําแนกบริ เวณอันตรายของพื น้ ที ่ส่วนย่อยบางส่วนเป็ นโซน 0 โซน 1 หรื อโซน 2 ในขณะทีบ่ ริ เวณอันตรายของพืน้ ที ส่ ่วนย่อยอี กบางส่วนถูกจํ าแนกเป็ น บริ เวณ อันตรายประเภทที ่ 1 แบบที ่ 1 หรื อประเภทที ่ 1 แบบที ่ 2 เป็ นต้น

7.1.2.3 บริ เวณอันตรายมาตรฐานที่ 1 (NEC) จําแนกเป็ นประเภทที่ 1 แบบที่ 1 (Class I ,Division I) ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 (Class I ,Division II) ประเภทที่ 2 แบบที่ 1 (Class II ,Division I) ประเภทที่ 2 แบบที่ 2 (Class II ,Division II) ประเภทที่ 3 แบบที่ 1(Class III ,Division I) และ ประเภทที่ 3 แบบที่ 2 (Class III ,Division II) ให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 7.2 ถึง ข้ อ 7.6

7-2

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.1.2.4 บริ เวณอันตรายมาตรฐานที่ 2 (IEC) ถูกจําแนกเป็ น โซน (Zone) 0 โซน (Zone) 1 และ โซน (Zone) 2 ให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 7.7

7.2 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2 และ ประเภทที่ 3 7.2.1 การจําแนกบริเวณและข้ อกําหนดทั่วไป การจําแนกบริ เวณขึ ้นอยู่กบั คุณสมบัติของไอระเหย ก๊ าซ หรื อของเหลวที่ติดไฟได้ ฝุ่ นหรื อเส้ นใย ที่ลกุ ไหม้ ได้ ซึง่ อาจมีขึ ้นและมีความเป็ นไปได้ ที่จะมีความเข้ มข้ น หรื อมีปริ มาณมากพอที่จะทําให้ เกิดการลุกไหม้ หรื อเกิดเพลิงไหม้ ได้ สถานที่ซงึ่ มีการใช้ สารไพโรฟอริ ก (pyrophoric) เพียงชนิด เดียว ไม่จดั เป็ นบริ เวณอันตราย ในการพิจารณาจําแนกประเภทแต่ละห้ อง ส่วน หรื อพื ้นที่ จะแยกพิจารณาโดยเฉพาะ ข้ อยกเว้ นที่ ข้ อยกเว้ นที่ ข้ อยกเว้ นที่ ข้ อยกเว้ นที่

1 ข้อกําหนดต่างๆ ในตอนต้นนีใ้ ห้ใช้กบั บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าและการเดิ นสายใน บริ เวณอันตราย (แยกประเภท) ได้ ยกเว้นทีไ่ ด้เพิ่มเติ มในข้อ 7.1 ถึง 7.5 2 เครื ่ องสํ าเร็ จและการเดิ นสายที ่รั บรองว่ าปลอดภัยอย่ างแท้จริ ง อนุญาตให้ ใช้ ใ น บริ เวณอันตรายตามทีไ่ ด้รบั การรับรองได้ โดยไม่ต้องทําตามข้อ 7.3 ถึง 7.5 3 การเดิ นสายของวงจรที ่รับรองว่าปลอดภัยอย่างแท้จริ ง ต้องติ ดตัง้ แยกออกจากวงจรอื ่น ๆ และต้องจัดทําให้มีก๊าซหรื อไอระเหยส่งผ่านเข้ามาได้นอ้ ยทีส่ ดุ 4 ท่อร้อยสายทีก่ ล่าวถึงในทีน่ ี ้ ต้องทําเกลียว โดยมีความลาดเอียง 1 ต่อ 16 มม. แต่ละท่อ ร้ อยสายที ่ต่อกันต้องสามารถขันแน่นเพื อ่ ลดการเกิ ดประกายไฟเมื ่อเกิ ดกระแสลัดวงจร ไหลผ่านระบบท่อร้อยสายในทีซ่ ึ่งไม่สามารถขันเกลียวให้แน่นได้ให้ใช้สายต่อฝากแทน

7.2.2 ข้ อควรระวังเป็ นพิเศษ ข้ อ 7.1 ถึง 7.5 ใช้ สําหรับการจัดสร้ างบริ ภณ ั ฑ์และการ ติดตั้งซึ่งให้ ความปลอดภัยในการใช้ งานภายใต้ สภาวะการใช้ งานและบํารุ งรักษาที่เหมาะสม สําหรับจุดประสงค์ เพือ่ การทดสอบ การรับรอง และการจํ าแนกพืน้ ที ่ ส่วนผสมต่างๆ ในอากาศ (ไม่รวมส่วนที ม่ ี อ๊อกซิ เจนมาก) ให้แบ่งเป็ นกลุ่มตามที ก่ ํ าหนดในข้อ 7.2.2.1 และ 7.2.2.2 ยกเว้ น บริ ภณ ั ฑ์ ทีไ่ ด้รบั การรับรองสําหรับ ก๊ าซ ไอระเหย หรื อ ฝุ่น ทีร่ ะบุ 7.2.2.1 การแบ่ งกลุ่ม สําหรั บบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบ่งเป็ นกลุม่ ต่างๆ ดังนี ้ 7.2.2.1.1 กลุ่ม A คือบริ เวณที่มีบรรยากาศซึง่ ประกอบด้ วย อาเซททีลีน (acetylence) 7.2.2.1.2 กลุ่ม B คือบริ เวณที่มีบรรยากาศซึง่ ประกอบด้ วย ก๊ าซที่ลกุ ไหม้ ได้ ไอระเหยจาก ของเหลวที่สามารถลุกเป็ นไฟหรื อเผาไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่ผสมกับอากาศแล้ วอาจทํา

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-3

ให้ เกิดการไหม้ หรื อเกิดการระเบิดได้ ในกลุม่ B มีคา่ MESG (maximum experimental save gap) ไม่เกิน 0.45 มม. หรื อมีอตั ราส่วน MIC (minimum igniting currentratio) ไม่เกิน 0.40 โดยปกติ สารที่จดั ให้ อยูใ่ นกลุม่ B คือ ไฮโดรเจน (hydrogen) ข้ อยกเว้ นที่

1

ข้ อยกเว้ นที่

2

บริ ภณ ั ฑ์ ทีใ่ ช้ในบรรยากาศกลุ่ม D อนุญาตให้ใช้ในบรรยากาศทีม่ ี บิวทะ ไดอี น (butadiene) ได้โดยท่อที ่ต่อเข้ากับอุปกรณ์ ที่ทนการระเบิ ด จะต้องปิ ดผนึกชนิ ดทนการระเบิ ดที ท่ ่อร้ อยสายทัง้ หมดในตํ าแหน่งที ่ อยู่ห่างจากเครื ่องห่อหุ้มไม่เกิ น 450 มม (18 นิ้ ว) บริ ภณ ั ฑ์ ที่ใช้ในบรรยากาศกลุ่ม C อนุญาตให้ใช้ในบรรยากาศที ่มี แอลลิ ล กลี ซิได อี เทอร์ (allyl ethern-butyl glycidyl ether) เอ็นบิ วทิ ล กลี ซิได อี เทอร์ ( n-butyl glycidyl ether) เอทิ ลีนออกไซด์ (ethylene oxide) โพรพี ลี นออกไซด์ (propylene oxide) และอาโครเลอี น (acrolein )ได้ โดยท่อที ่ต่อเข้ากับอุปกรณ์ ที่ทนการระเบิ ดจะต้องปิ ด ผนึกชนิ ดทนการระเบิ ดอุดภายในท่อร้ อยสายทัง้ หมดในตําแหน่งที อ่ ยู่ ห่างจากเครื ่องห่อหุ้มไม่เกิ น 450 มม. (18 นิ้ ว)

7.2.2.1.3 กลุ่ม C บริ เวณที่มีบรรยากาศซึ่งประกอบด้ วย ก๊ าซที่ลกุ ไหม้ ได้ ไอระเหยจาก ของเหลวที่สามารถลุกเป็ นไฟหรื อเผาไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่ผสมกับอากาศแล้ วอาจทํา ให้ เกิดการไหม้ หรื อเกิดการระเบิดได้ ในกลุม่ C มีคา่ MESG มากกว่า 0.45 มม. แต่ไม่เกิน 0.75 มม.หรื อมีอตั ราส่วน MIC มากกว่า 0.40 แต่ไม่เกิน 0.8 โดยปกติ สารที่จดั ให้ อยูใ่ นกลุม่ C คือ เอทิลีน(ethylence) 7.2.2.1.4 กลุ่ ม D บริ เวณที่มีบรรยากาศซึ่งประกอบด้ วย ก๊ าซที่ลกุ ไหม้ ได้ ไอระเหยจาก ของเหลวที่สามารถลุกเป็ นไฟหรื อเผาไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่ผสมกับอากาศแล้ วอาจทํา ให้ เกิดการไหม้ หรื อเกิดการระเบิดได้ ในกลุม่ D มีคา่ MESG มากกว่า 0.75 มม. หรื อมีอตั ราส่วน MIC มากกว่า 0.8 โดยปกติสารที่จดั ให้ อยู่ในกลุม่ D คือ โพรเพน (propane) ยกเว้ น สําหรับ บรรยากาศซึ่ งประกอบด้วยแอมโมเนี ย (ammonia) และเจ้าหน้าที ไ่ ด้กําหนดให้ใช้ข้อบังคับตาม มาตรฐานนี ้ อนุญาตให้สามารถจํ าแนกประเภทบริ เวณอันตรายใหม่ให้เป็ นบริ เวณอันตรายน้อยลง หรื อไม่เป็ นบริ เวณอันตรายได้ 7.2.2.2 การแบ่ งกลุ่มสําหรั บบริเวณอันตรายประเภทที่ 2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบ่งเป็ นกลุม่ ต่างๆ ดังนี ้ 7.2.2.2.1 กลุ่ม E บรรยากาศซึ่งประกอบด้ วย ฝุ่ นโลหะที่ลกุ ไหม้ ได้ ซึ่งได้ แก่ อะลูมิเนียม (aluminum) แมกนีเซียม (magnesium) และโลหะผสมของสารดังกล่าว หรื อฝุ่ นที่ลกุ ไหม้ ได้ ซึง่

7-4

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

ขนาดของฝุ่ น การเสียดสีเนื่องจากฝุ่ น และสภาพการนําไฟฟ้าของฝุ่ น อาจทําให้ เกิดอันตราย เช่นเดียวกับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า 7.2.2.2.2 กลุ่ ม F บรรยากาศซึ่ ง มี ส่ ว นผสมของฝุ่ นที่ ลุก ไหม้ ได้ (combustible carbonaceous dusts) สูงมากกว่าร้ อยละ 8 ของปริ มาณฝุ่ นทั้งหมดที่ดกั จับได้ เมื่อมีการ ทดสอบ เช่น ฝุ่ นของถ่านดํา (carbon black) ถ่านไม้ ถ่านหิน หรื อฝุ่ นซึง่ เกิดจากวัสดุอื่นเกิดที่มี คุณสมบัตสิ ามารถทําให้ เกิดการระเบิดที่เป็ นอันตรายได้ 7.2.2.2.3 กลุ่ม G บรรยากาศซึง่ ประกอบด้ วย ฝุ่ นที่ลกุ ไหม้ ได้ นอกเหนือจากที่ระบุในกลุม่ E และ F ได้ แก่ฝนของ ุ่ แป้ง เมล็ดพืช ไม้ พลาสติก และสารเคมี 7.2.3 การรั บรองบริ ภัณฑ์ สาํ หรั บประเภทและคุณสมบัติ บริ ภณ ั ฑ์ต้องเป็ นประเภทที่ ระบุให้ ใช้ กบั สถานที่นั้นๆ และต้ องรับรองสําหรับคุณสมบัติของการระเบิด การลุกไหม้ หรื อการ จุดระเบิดของก๊ าซ ไอระเหย ฝุ่ น เส้ นใย ละออง แต่ละชนิดที่อาจเกิดขึ ้น นอกจากนี ้ บริ ภัณฑ์ สําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 จะต้ องไม่มีพื ้นผิวเปิ ดโล่ง ซึ่งมีอุณหภูมิใช้ งานสูงกว่า อุณหภูมิจดุ ระเบิดของก๊ าซหรื อไอระเหย บริ ภณ ั ฑ์สําหรับสถานที่ประเภทที่ 2 ต้ องไม่มีอณ ุ หภูมิ ภายนอกสูงกว่าที่กําหนดในข้ อ 7.2.3.5 บริ ภณ ั ฑ์สําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 ต้ องมี อุณหภูมิสงู สุดของผิวด้ านนอกไม่เกินที่กําหนดในข้ อ 7.5.1 บริ ภณ ั ฑ์ที่ได้ รับการรับรองสําหรับ สถานที่แบบที่ 1 อนุญาตให้ ใช้ ในสถานที่แบบที่ 2 ที่อยูใ่ นประเภทและกลุม่ เดียวกันได้ 7.2.3.1 นอกจากที่ได้ อนุญาตเป็ นการเฉพาะในข้ อ 7.3 ถึง 7.5 บริ ภณ ั ฑ์สําหรับใช้ งานทัว่ ไป หรื อบริ ภณ ั ฑ์ที่อยูใ่ นเครื่ องห่อหุ้มสําหรับใช้ งานทัว่ ไป อนุญาตให้ ติดตั ้งในสถานที่แบบที่ 2 ได้ ถ้ า ในสภาพการทํางานปกติไม่เป็ นสาเหตุให้ เกิดการจุดระเบิด ถ้ าไม่ได้ มีการระบุไว้ โดยเฉพาะ สภาพการใช้ งานตามปกติของมอเตอร์ ถือว่าเป็ นการใช้ งานเต็ม กําลังคงที่ ในที่ซงึ่ ก๊ าซที่ติดไฟได้ และฝุ่ นที่ลกุ ไหม้ ได้ อาจเกิดขึ ้นในเวลาเดียวกัน การกําหนดอุณหภูมิใช้ งาน ที่ปลอดภัยของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ต้ องคํานึงถึงสภาพดังกล่าวด้ วย 7.2.3.2 บริ ภณ ั ฑ์ที่ได้ ยอมรับให้ ใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 หรื อแบบที่ 2, ประเภทที่ 2 แบบที่ 1 หรื อแบบที่ 2, ประเภทที่ 3 แบบที่ 1 หรื อแบบที่ 2 ต้ องมีการรับรองจาก สถาบันที่เชื่อถือได้ เช่น UL.CSA. ECCS PTB LCIE หรื อ CSI เป็ นต้ น 7.2.3.3 การทําเครื่ องหมาย (Marking) บริ ภณ ั ฑ์ที่ได้ รับการรับรองแล้ ว ต้ องมีเครื่ องหมาย แสดงประเภท กลุม่ อุณหภูมิใช้ งานหรื อช่วงอุณหภูมิใช้ งาน โดยอ้ างอิงกับอุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-5

ข้ อยกเว้ นที่ 1 บริ ภณ ั ฑ์ ชนิ ดที ่ไม่ ทําให้เกิ ดความร้ อน เช่ น กล่ องต่อสาย ท่อร้ อยสาย และ เครื ่องประกอบและบริ ภณ ั ฑ์ ทีท่ ําให้เกิ ดความร้อนสูงสุดไม่เกิ น 100 ºC ไม่ ต้องแสดงค่าอุณหภูมิหรื อช่วงอุณหภูมิทีใ่ ช้งาน ข้ อยกเว้ นที่ 2 ดวงโคมแบบติ ดประจํ าที ซ่ ึ่ งมี เครื ่องหมายแสดงสําหรับใช้แค่เฉพาะในบริ เวณ อันตรายประเภทที ่ 1 แบบที ่ 2 หรื อประเภทที ่ 2 แบบที ่ 2 ไม่ต้องแสดง เครื ่องหมายระบุกลุ่ม ข้ อยกเว้ นที่ 3 บริ ภณ ั ฑ์ สําหรับใช้งานทัว่ ไปแบบติ ดประจํ าที ใ่ นบริ เวณอันตรายประเภทที ่ 1 นอกจากดวงโคมแบบติ ดประจํ าทีซ่ ึ่ งยอมให้ใช้ในบริ เวณอันตรายประเภทที ่ 1 แบบที ่ 2 ได้ ไม่ตอ้ งแสดงเครื ่องหมายแสดงประเภท แบบกลุ่ม หรื ออุณหภูมิใช้ งาน ข้ อยกเว้ นที่ 4 บริ ภณ ั ฑ์ กนั ฝุ่ นแบบติ ดประจํ าที ่ ยกเว้นดวงโคมแบบติ ดประจํ าที ซ่ ึ่ งยอมให้ใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที ่ 2 แบบที ่ 2 และประเภทที ่ 3 ไม่ต้องแสดง เครื ่องหมายสําหรับ ประเภท แบบ กลุ่ม หรื ออุณหภูมิใช้งาน ข้ อยกเว้ นที่ 5 บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าที ่เหมาะสมสํ าหรับอุณหภูมิโดยรอบที ่สูงเกิ น 40°C (140°F) ต้องมี เครื ่องหมายแสดงค่าสูงสุดของอุณหภูมิโดยรอบ และอุณหภูมิใช้งาน หรื อ แสดงช่วงของอุณหภูมิโดยรอบนัน้

7-6

บทที่ 7 บริเวณอันตราย ตารางที่ 7-1 ระดับอุณหภูมสิ ูงสุดที่ผวิ สําหรับบริภณ ั ฑ์ บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 อุณหภูมสิ ูงสุด

เครื่ องหมาย T-Code

(Temperature Class) องศาเซลเซียส (°C) 450 300 280 260 230 215 200 180 165 160 135 120 100 85

องศาฟาเรนไฮต์ (°F) 842 572 536 500 446 419 392 356 329 320 275 248 212 185

T1 T2 T2A T2B T2C T2D T3 T3A T3B T3C T4 T4A T5 T6

ถ้ าแสดงช่วงอุณหภูมิใช้ งาน ให้ ระบุตามเครื่ องหมาย ที่แสดงในตารางที่ 7-1 และเครื่ องหมายที่ ระบุบนป้ายแสดงของบริ ภณ ั ฑ์ต้องเป็ นไปตามตารางที่ 7-1 บริ ภณ ั ฑ์ที่ได้ รับการรับรองสําหรับใช้ งานได้ ทั้งในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 ต้ องแสดงค่าอุณหภูมิสูงสุดที่ใช้ งานได้ โดยปลอดภัย ซึ่งจะต้ องพิจารณาจากสภาวะของการ ก่อให้ เกิดบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 และ 2 พร้ อมกัน 7.2.3.4 ระดับอุณหภูมิสาํ หรั บบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 เครื่ องหมายแสดงอุณหภูมิที่ ระบุในข้ อ 7.2.3.3 ที่กล่าวมา การเลือกใช้ ค่าอุณหภูมิสงู สุดที่ผิวของบริ ภัณฑ์ต้องมีค่าไม่เกิน อุณหภูมิจดุ ระเบิดของก๊ าซหรื อไอระเหยที่เกี่ยวข้ อง อุณหภูมิที่กําหนดของแต่ละกลุม่ ถือว่าเป็ นอุณหภูมิจดุ ระเบิดที่ตํ่าที่สดุ ของวัสดุตา่ งๆ ในกลุม่ เช่น กลุม่ D อุณหภูมิไม่เกิน 280°C (536°F) และ กลุม่ C อุณหภูมิไม่เกิน 180°C (356°F) อุณหภูมิจดุ ระเบิดสําหรับบริ ภณ ั ฑ์ที่ได้ รับการรับรองแล้ วให้ เป็ นไปตามตารางที่ 7-1

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-7

7.2.3.5 ระดับอุณหภูมิสาํ หรั บบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 เครื่ องหมายแสดงอุณหภูมิที่ กล่าวมาในข้ อ 7.2.3.3 การเลือกใช้ คา่ อุณหภูมิสงู สุดที่ผิวของบริ ภณ ั ฑ์ต้องไม่สงู เกินกว่าอุณหภูมิ จุดระเบิดของฝุ่ นที่เกี่ยวข้ อง สําหรับฝุ่ นที่เป็ นสารอินทรี ย์ซงึ่ อาจแห้ งหรื อกลายเป็ นถ่าน อุณหภูมิ ที่แสดงต้ องไม่เกินค่าตํ่าสุดของอุณหภูมิจดุ ระเบิดหรื อไม่เกิน 165°C (329°F) อุณหภูมิจุด ระเบิดสําหรับบริ ภณ ั ฑ์ที่ได้ รับการรับรองแล้ วให้ เป็ นไปตามตารางที่ 7-2 ตารางที่ 7-2 ระดับอุณหภูมสิ ูงสุดที่ผวิ สําหรับบริภณ ั ฑ์ บริเวณอันตรายประเภทที่ 2 บริเวณอันตราย ประเภทที่ 2 กลุ่ม E F G

บริภณ ั ฑ์ ท่ไี ม่ มีการใช้ โหลดเกิน °C 200 200 165

°F 392 392 329

บริภณ ั ฑ์ ท่อี าจใช้ โหลดเกิน เช่ น มอเตอร์ หรื อหม้ อแปลง ทํางานปกติ ทํางานไม่ ปกติ °C °F °C °F 200 392 200 392 150 302 200 392 120 248 165 329

7.2.4 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 คือ บริ เวณที่ซึ่งมีก๊าซหรื อไอระเหยที่ติดไฟได้ ผสมอยู่ในอากาศ ปริ มาณมากพอที่จะทําให้ เกิดการระเบิดได้ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 จะหมายความรวมถึง บริ เวณตามที่กําหนดในข้ อ 7.2.4.1 และ 7.2.4.2 ต่อไปนี ้ด้ วย 7.2.4.1 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ได้ แก่ 7.2.4.1.1 บริ เวณที่ในภาวะการทํางานตามปกติมีก๊าซหรื อไอระเหยที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะ เกิดการระเบิดได้ 7.2.4.1.2 บริ เวณที่อาจมีก๊าซหรื อไอระเหย ที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะเกิดการระเบิดได้ อยู่ บ่อยๆ เนื่องจากการซ่อมแซม บํารุงรักษาหรื อรั่ว 7.2.4.1.3 บริ เวณที่เมื่อบริ ภัณฑ์ เกิดความเสียหายหรื อทํางานผิดพลาด อาจทําให้ เกิดก๊ าซ หรื อไอระเหยที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะเกิดการระเบิด และอาจทําให้ บริ ภัณฑ์ไฟฟ้าขัดข้ องและ กลายเป็ นแหล่งกําเนิดประกายไฟได้ 7.2.4.2 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ได้ แก่

7-8

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.2.4.2.1 บริ เ วณที่ ใ ช้เก็ บ ของเหลวติ ด ไฟซึ่ ง ระเหยง่ า ยหรื อ ก๊าซที่ ติ ด ไฟได้ ซึ่ ง โดยปกติ ของเหลว ไอระเหยหรื อก๊ าซนี ้จะถูกเก็บไว้ ในภาชนะหรื อระบบที่ปิด ซึง่ จะรั่วออกมาได้ เฉพาะใน กรณีที่บริ ภณ ั ฑ์ทํางานผิดปกติ 7.2.4.2.2 บริ เ วณมี ก ารป้ องกัน การระเบิ ด เนื่ อ งจากก๊ าซหรื อ ไอระเหยที่ มี ค วามเข้ ม ข้ น เพียงพอโดยใช้ ระบบระบายอากาศซึ่งทํางานโดยเครื่ องจักรกล และอาจเกิดอันตรายได้ หาก ระบบระบายอากาศขัดข้ องหรื อทํางานผิดปกติ 7.2.4.2.3 บริ เวณที่อยูใ่ กล้ กบั บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และอาจได้ รับการถ่ายเท ก๊ าซหรื อไอระเหยที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะจุดระเบิดได้ ในบางครั้งถ้ าไม่มีการป้องกันโดยการทําให้ ความดันภายในห้ องสูงกว่าความดันบรรยากาศโดยการดูดอากาศสะอาดเข้ ามาภายในห้ อง และมีระบบตรวจสอบด้ านความปลอดภัยที่มีประสิทธิผลหากระบบการอัดและระบายอากาศ ทํางานผิดพลาด 7.2.5 บริเวณอันตรายประเภทที่ 2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 คือ บริ เ วณที่มีฝุ่นที่ทําให้ เกิดการระเบิดได้ ทําให้ เกิดอันตราย บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 จะหมายความรวมถึงบริ เวณตามที่กําหนดในข้ อ 7.2.5.1 และ 7.2.5.2 ต่อไปนี ้ด้ วย 7.2.5.1 บริเวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ได้ แก่ 7.2.5.1.1 บริ เวณที่มีฝนที ุ่ ่ลกุ ไหม้ ได้ อยูใ่ นอากาศเป็ นปริ มาณที่อาจทําให้ เกิดส่วนผสมที่อาจ ระเบิดหรื อจุดระเบิดได้ ภายใต้ สภาวะการทํางานตามปกติ 7.2.5.1.2 บริ เวณที่เมื่อเครื่ องจักรกลขัดข้ องหรื อทํางานผิดปกติ อาจทําให้ เกิดส่วนผสมที่ อาจระเบิดหรื อ จุดระเบิดได้ และอาจเป็ นแหล่งกํ าเนิ ดของการจุดระเบิ ดเมื่ อบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้ า ทํางานขัดข้ องหรื อจากการทํางานของอุปกรณ์ป้องกัน หรื อสาเหตุอื่น 7.2.5.1.3 บริ เวณที่มีฝนที ุ่ ่มีคณ ุ สมบัติเป็ นตัวนําไฟฟ้าที่ลกุ ไหม้ ได้ ในปริ มาณที่เป็ นอันตราย 7.2.5.2 บริเวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ได้ แก่ 7.2.5.2. 1 บริ เวณที่ตามปกติจะมีฝนที ุ่ ่ลกุ ไหม้ ได้ อยู่ในอากาศแต่มีปริ มาณไม่มากพอที่จะทํา ให้ เกิดการระเบิดหรื อจุดระเบิด และการสะสมของฝุ่ นไม่มีผลต่อการทํางานปกติของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าหรื อเครื่ องสําเร็ จอื่น ฝุ่ นนี ้อาจเกิดขึ ้นเนื่องจากการขนถ่ายน้ อยครั้งหรื อผิดขั ้นตอนหรื อ จาก กระบวนการผลิต

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-9

7.2.5.2.2 บริ เ วณซึ่ง ฝุ่ นมี ก ารสะสมในบริ เ วณใกล้ เ คี ย งกับ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ใช้ งาน และมี ปริ มาณมากพอที่จะทําให้ บริ ภณ ั ฑ์ระบายความร้ อนได้ ยาก หรื ออาจจุดระเบิด ซึ่งเกิดจากการ ทํางานผิดปกติหรื อการขัดข้ องของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า 7.2.6 บริเวณอันตรายประเภทที่ 3 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 คือ บริ เวณที่มีเส้ นใยหรื อละอองที่จุดระเบิดได้ ง่าย แต่ปกติจะไม่ ลอยอยูใ่ นอากาศเป็ นปริ มาณมากพอที่จะทําให้ เกิดการจุดระเบิดได้ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 รวมถึงตามที่กําหนดในข้ อ 7.2.6.1 และ 7.2.6.2 ต่อไปนี ้ด้ วย 7.2.6.1 บริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 ได้ แก่ บริ เวณที่มีเส้ นใยที่จดุ ระเบิดง่ายหรื อมีการขนถ่าย ผลิตหรื อใช้ งาน วัตถุที่ทําให้ เกิดละอองที่จดุ ระเบิดได้ 7.2.6.2 บริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 2 ได้ แก่ บริ เวณที่เป็ นที่เก็บหรื อขนถ่ายเส้ นใยที่ลกุ ไหม้ ได้ ง่าย ยกเว้ น ในกระบวนการผลิ ต 7.2.7 เทคนิคการป้องกัน การออกแบบระบบป้องกันของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้า ให้ เป็ นไป ตามตารางที่ 7-3

7-10

บทที่ 7 บริเวณอันตราย ตารางที่ 7-3 เทคนิคการป้องกัน (Protection Techniques) สัญญลักษณ์ XP IS d e ia ib m nA o p q

เทคนิคการป้องกัน Explosionproof Equipment Intrinsic Safety Flameproof enclosure Increased safety Intrinsic safety Intrinsic safety Encapsulation Nonsparking equipment Oil immersion Purged and pressurized Powder filled

บริเวณอันตราย ประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ประเภทที่ 1 แบบที่ 2

7.3 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 7.3.1 ทั่วไป กฎทัว่ ไปของมาตรฐานนี ้ใช้ กับการเดินสายไฟฟ้าและบริ ภณ ั ฑ์ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 ตามข้ อ 7.2.4 ยกเว้ น ตามทีไ่ ด้ปรับปรุงในข้อนี ้ 7.3.2 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ 7.3.2.1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ที่ติดตั ้งใน บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 มีข้อกําหนดดังนี ้ 7.3.2.1.1 บรรจุของเหลวติดไฟได้ หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ที่บรรจุของเหลวติดไฟได้ ต้ องติดตั้งในห้ องตามข้ อ 6.4 ตอน ค และมีข้อกําหนดเพิ่มเติมดังนี ้ ก) ต้ องไม่มีประตูหรื อช่องเปิ ดถึงกันระหว่าง ห้ องกับบริ เวณอันตราย แบบที่ 1 ข) ต้ องมีการระบายอากาศเพียงพอที่จะระบายก๊ าซ หรื อไอระเหยที่ติดไฟออกได้ อย่างต่อเนื่อง ค) ช่ องหรื อท่ อระบายอากาศต้ องมี ทิ ศทางออกสู่บ ริ เ วณที่ ป ลอดภัย ภายนอก อาคาร ง) ช่องหรื อท่อระบายอากาศต้ องมีพื ้นที่เพียงพอที่จะลดแรงระเบิดภายในห้ องได้ และส่วนของท่อระบายอากาศที่อยูใ่ นอาคารต้ องทําด้ วยคอนกรี ตเสริ มแรง

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-11

7.3.2.1.2 ไม่ ได้ บรรจุของเหลวติดไฟได้ หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ที่ไม่ได้ บรรจุของเหลว ติดไฟได้ มีข้อกําหนดดังนี ้ ก) ติดตั้งในห้ องตามข้ อ 7.3.2.1.1 ข้ างต้ น หรื อ ข) เป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 7.3.2.2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ที่ติดตั้งใน บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 6.4 ตอน ค. 7.3.3 เครื่ องวัด เครื่ องมือวัด และรี เลย์ 7.3.3.1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 เครื่ องวัด เครื่ องมือวัด และรี เลย์ รวมทั้ง เครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้า หม้ อแปลงเครื่ องมือวัด ตัวต้ านทาน เครื่ องเรี ยงกระแสและหลอด เทอร์ มิโอนิก ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มซึง่ ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 เครื่ องห่อหุ้มที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 หมายรวมถึง 7.3.3.1.1 เครื่ องห่อหุ้มที่ทนการระเบิด 7.3.3.1.2 เครื่ องห่อหุ้มอัดชนิดอัดความดัน 7.3.3.2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 เครื่ องวัด เครื่ องมือวัดและรี เลย์ ต้ อง เป็ นดังนี ้ 7.3.3.2.1 หน้ าสัมผัส สวิตช์, เซอร์ กิตเบรกเกอร์ , หน้ าสัมผัสปลด-สับของสวิตช์แบบกดปุ่ ม รี เ ลย์ กระดิ่ ง สัญ ญาณเตื อ นและแตรต้ อ งมี เ ครื่ อ งห่ อ หุ้ม ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง สํ า หรั บ บริ เ วณ อันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ตามข้ อ 7.3.3.1 ข้ างต้ น ยกเว้ น อนุญาตให้ใช้เครื ่ องห่อหุ้มแบบใช้งานทัว่ ไปได้ ถ้าหน้าสัมผัสตัดกระแส เป็ นดังนี ้ 1) จุ่มอยู่ในนํ้ามันหรื อ 2) อยู่ในช่องซึ่ งปิ ดผนึกจนก๊ าซและไอระเหยเข้าไม่ได้ 3) อยู่ในวงจรซึ่ งไม่อาจปล่อยพลังงานออกมาเพี ยงพอที ่จะจุดระเบิ ด สารผสมเฉพาะอย่างในบรรยากาศภายใต้สภาพการทํางานปกติ 7.3.3.2.2 ตัวต้ านทานและบริ ภัณฑ์ ท่ ีคล้ ายกัน ตัวต้ านทาน อุปกรณ์ความต้ านทาน หลอดเทอร์ มิโอนิก (thermionic tubes) เครื่ องเรี ยงกระแส (rectifiers) และบริ ภณ ั ฑ์ที่คล้ ายกัน ซึ่งใช้ ในหรื อใช้ ร่วมกับเครื่ องวัด เครื่ องมื อวัดและรี เลย์ ต้องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.3.1 ข้ างต้ น ยกเว้ น อนุญาตให้ใช้เครื ่องห่อหุม้ แบบใช้งานทัว่ ไปได้ ถ้าบริ ภณ ั ฑ์ ไม่มีหน้าสัมผัสสําหรับปลดสับหรื อหน้าสัมผัสเลื ่อน (นอกจากทีก่ ํ าหนดในข้อ 7.3.3.2.1 ข้างต้น) และถ้าอุณหภูมิใช้งาน

7-12

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

สูงสุดของผิ วทีเ่ ปิ ดโล่งไม่เกิ นร้อยละ 80 ของอุณหภูมิจุดระเบิ ดของก๊ าซหรื อไอระเหยทีเ่ กี ่ยวข้อง หรื อได้ทดสอบแล้วพบว่าไม่สามารถจุดระเบิ ดก๊ าซหรื อไอระเหยได้ 7.3.3.2.3 ไม่ มีหน้ าสัมผัสสําหรั บปลด-สับ ขดลวดหม้ อแปลง ขดลวดอิมพีแดนซ์ โซลิ นอยด์ และขดลวดอื่นซึ่งไม่ใช้ งานร่ วมกับหน้ าสัมผัสเลื่อนหรื อหน้ าสัมผัส สําหรับปลดสับ ซึ่ง จําเป็ นต้ องมีเครื่ องห่อหุ้ม อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องห่อหุ้มแบบใช้ งานทัว่ ไปได้ 7.3.3.2.4 เครื่ องสําเร็ จสําหรั บใช้ งานทั่วไป เครื่ องสําเร็ จที่ทําขึ ้นจากชิ ้นส่วนที่ใช้ สําหรับ เครื่ องห่อหุ้มใช้ งานทัว่ ไปและได้ รับการยอมรับตามข้ อ 7.3.3.2.1, 7.3.3.2.2 และ 7.3.3.2.3 ข้ างต้ น เครื่ องห่อหุ้มเดี่ยวสําหรับใช้ งานทัว่ ไปของเครื่ องสําเร็ จนั้นเป็ นที่ยอมรับด้ วย ถ้ าเครื่ อง สําเร็ จประกอบด้ วยบริ ภณ ั ฑ์ตามข้ อ 7.3.3.2.2 ข้ างต้ น อุณหภูมิสงู สุดที่ผิวของชิ ้นส่วนใดๆ ของ เครื่ องสําเร็ จ ต้ องแสดงไว้ ด้านนอกของเครื่ องห่อหุ้มอย่างชัดเจนและถาวร หรื อยอมให้ บริ ภณ ั ฑ์ที่ ได้ รับการรั บรองแล้ ว มี เครื่ องหมายแสดงช่วงอุณหภูมิ ใช้ งานที่เหมาะสมกับบริ ภัณฑ์ โดยใช้ เครื่ องหมายตามตารางที่ 7-1 7.3.3.2.5 ฟิ วส์ กรณีที่อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องห่อหุ้มแบบใช้ งานทัว่ ไปตามข้ อ 7.3.3.2.1 ถึง 7.3.3.2.4 ข้ างต้ น ฟิ วส์สําหรับใช้ ป้องกันกระแสเกินของวงจรเครื่ องมือวัดและในการใช้ งานปกติ ไม่มีโหลดเกิน อนุญาตให้ ติดตั้งในเครื่ องห่อหุ้มแบบใช้ งานทัว่ ไปได้ ถ้ าฟิ วส์นั้นมีสวิตช์ซึ่งเป็ นไป ตามข้ อ 7.3.3.2.1 ข้ างต้ น อยูด่ ้ านหน้ า 7.3.3.2.6 การต่ อ เพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนทดแทน อนุญาตให้ ต่อเครื่ องมือควบคุม ขบวนการต่างๆ ด้ วยสายอ่อน เต้ ารับและเต้ าเสียบ โดยจัดทําดังนี ้ ก) มีสวิตช์ที่เป็ นไปตามข้ อ 7.3.3.2.1 เพื่อไม่ให้ เต้ าเสียบทําหน้ าที่ตดั กระแส ข) กระแสต้ องไม่เกิน 3 แอมแปร์ ที่แรงดันระบุ 240 โวลต์ ค) สายต่อไฟเข้ ายาวไม่เกิน 900 มม. ซึ่งเป็ นชนิดใช้ งานหนักพิเศษ หรื อชนิดใช้ งานหนัก ถ้าติ ด ตัง้ ในที่ ที่ มี ก ารป้ องกัน สายต่ อ ไฟเข้ า นี ต้ ่อ ผ่ า นเต้ า รั บ และ เต้ าเสียบแบบมีตวั ล็อกและต่อลงดิน ง) มีเต้ ารับเฉพาะที่จําเป็ นเท่านั้น จ) เต้ ารับต้ องมีป้ายเตือน ห้ ามปลดเต้ าเสียบขณะมีโหลด 7.3.4 วิธีการเดินสาย วิธีการเดินสายต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.4.1 และ 7.3.4.2 ดังนี ้ 7.3.4.1 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 7.3.4.1.1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 การเดินสายต้ องใช้ ท่อโลหะหนาแบบมี เกลียว ท่อโลหะหนาปานกลางแบบมีเกลียว สําหรับกล่อง เครื่ องประกอบและข้ อต่อต่างๆ ต้ อง

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-13

เป็ นแบบมีเกลียวเพื่อต่อกับท่อร้ อยสายหรื อเครื่ องประกอบการทําปลายสายเคเบิล และต้ องเป็ น แบบทนการระเบิด เกลียวของข้ อต่อต้ องมีเกลียวสําหรับขันให้ แน่นอย่างน้ อยห้ าเกลียว ที่ได้ รับ การับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 กรณีใช้ สายเคเบิลชนิด MI ต้ องมีเครื่ องประกอบการทําปลายสายที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 การติดตั้งสายเคเบิลชนิด MI ต้ องติดตั้งและยึดใน ลัก ษณะที่ ไ ม่ เ กิ ด แรงดึง ที่ เ ครื่ อ งประกอบปลายสาย ยกเว้ น การติ ด ตั้ง ท่ อ ร้ อ ยสายใต้ดิ น อนุญาตให้ใช้ท่อร้อยสายอโลหะ หุ้มคอนกรี ตหนาไม่นอ้ ยกว่า 50 มม.(2 นิ้ ว) และความลึกต้อง ไม่นอ้ ยกว่า 0.60 เมตร 7.3.4.1.2 ในที่ซงึ่ จําเป็ นต้ องใช้ การต่อที่ยืดหยุ่นได้ เช่นที่ขั ้วของมอเตอร์ ให้ ใช้ เครื่ องประกอบ แบบงอได้ ซงึ่ ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 7.3.4.1.3 กล่องต่อสายและข้ อต่อ ต้ องเป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตราย ประเภทที่ 1 7.3.4.2 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ใช้ วิธีการเดินสายเช่นเดี่ยวกับ 7.3.4.1 หรื อการเดินสายต้ องใช้ ท่อโลหะหนาแบบมีเกลียว ท่อ โลหะหนาปานกลางแบบมีเกลียว บัสเวย์แบบมีปะเก็นและเครื่ องห่อหุ้ม รางเดินสายที่มีปะเก็น และเครื่ องห่อหุ้ม สายเคเบิลชนิด PLTC และ ชนิด PLTC-ER หรื อ สายเคเบิลชนิด ITCและ ชนิด ITC-ER ติดตัง้ ในรางเคเบิลได้ สายเคเบิลชนิด MI, MC, MV, TC และเครื่ องประกอบปลายสายต้ องเป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรอง แล้ ว สายเคเบิลชนิด ITC, ITC-ER, PLTC, PLTC-ER, MI, MC, MVหรื อ TC อนุญาตให้ ตดิ ตั้งในราง เคเบิลได้ และต้ องหลีกเลี่ยงไม่ให้ เกิดแรงดึงที่เครื่ องประกอบปลายสาย กล่อง เครื่ องประกอบและข้ อต่อไม่ต้องเป็ นชนิดทนการระเบิดในที่ซงึ่ ต้ องการความอ่อนตัว เช่นที่ ขั้วของมอเตอร์ ให้ ใช้ เครื่ องประกอบโลหะอ่อนงอได้ ท่อโลหะอ่อนงอได้ และเครื่ องประกอบที่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ท่อโลหะอ่อนงอได้ กันของเหลวและเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ ว ท่ออโลหะอ่อนงอได้ กนั ของเหลวและเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ ว สายอ่อนที่ได้ รับการ รับรองสําหรับใช้ งานหนักพิเศษ พร้ อมทั้งเครื่ องประกอบสายที่ได้ รับการรับรองแล้ ว สายอ่อนที่ใช้ ต้ องเป็ นชนิดที่มีตวั นําสําหรับต่อลงดิน ยกเว้ น การเดิ นสายในวงจรที ไ่ ม่ก่อให้เกิ ดพลังงาน พอทีจ่ ะทําให้เกิ ดการจุดระเบิ ด อนุญาตให้ใช้วิธีเดิ นสายสําหรับสถานทีธ่ รรมดาได้

7-14

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.3.5 การปิ ดผนึกและการระบาย (Sealing and Drainage) การปิ ดผนึกท่อและระบบสายเคเบิลต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.5.1 ถึง 7.3.5.6 สารที่ใช้ ปิดผนึกต้ อง ได้ รับการรับรองสําหรับสภาพและการใช้ งาน สารปิ ดผนึกต้ องใช้ กับเครื่ องประกอบปลายสายของ สายเคเบิลชนิด MI เพื่อกันความชื ้นและของเหลว 7.3.5.1 การปิ ดผนึกท่ อในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 การปิ ดผนึกท่อใน บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ต้ องทําตามตําแหน่งต่างๆ ดังนี ้ 7.3.5.1.1 ในแต่ละท่อร้ อยสายที่ตอ่ เข้ ากับเครื่ องห่อหุ้มที่ทนการระเบิดได้ ก) เครื่ องห่อหุ้มของสวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ฟิ วส์ รี เลย์ ตัวต้ านทานหรื อเครื่ อง สําเร็ จอื่นที่ทําให้ เกิดอาร์ ก ประกายไฟหรื ออุณหภูมิสงู ที่เป็ นแหล่งกําเนิดการ ติดไฟในสภาวะการทํางานตามปกติ หรื อ ข) ท่อขนาดตั้งแต่ 50 มม. (2 นิ ้ว) ขึ ้นไปและเครื่ องห่อหุ้มของปลายสาย หัวต่อ หรื อ จุดต่อแยก รวมถึงในที่อณ ุ หภูมิสงู เกิน 80 เปอร์ เซ็นต์ ของอุณหภูมิติดไฟ ของก๊ าซ หรื อไอระเหยที่เกี่ยวข้ อง การปิ ดผนึกต้ องทําในตําแหน่งที่อยู่ห่างจากเครื่ องห่อหุ้มไม่เกิน 450 มม. (18 นิ ้ว) หัวต่อ ข้ อต่อ ข้ องอ ข้ องอมีฝาเปิ ด และข้ อต่อเปิ ดรูปร่ างคล้ ายตัว “L”, “T” และรูปกากบาท ชนิดทนการระเบิด เท่านั้นที่อนุญาตให้ ใช้ เป็ นเครื่ องประกอบระหว่างการปิ ดผนึกกับเครื่ องห่อหุ้ม ข้ อต่อเปิ ดต้ องมี ขนาดไม่ ใหญ่กว่าท่อร้ อยสายขนาดใหญ่ที่สดุ 7.3.5.1.2 ในแต่ละท่อร้ อยสาย ที่ตอ่ เข้ ากับเครื่ องห่อหุ้มที่ระบายความดันหรื อเปลือกครอบขั้ว สาย จุดต่อสาย หรื อจุดต่อแยกสายภายในระยะ 450 มม. (18 นิ ้ว) จากเครื่ องห่อหุ้มหรื อเครื่ อง ประกอบนั้น 7.3.5.1.3 ในที่ซึ่งเครื่ องห่อหุ้มตั้งแต่ 2 เครื่ องขึ ้นไปซึ่งต้ องมีการปิ ดผนึกตามข้ อ 7.3.5.1.1 และ 7.3.5.1.2 ข้ างต้ นต่อด้ วยนิปเพิล หรื อท่อร้ อยสายยาวไม่เกิน 900 มม. (36 นิ ้ว) การปิ ดผนึก เพียงที่เดียวที่นิปเพิลหรื อท่อถื อว่าเป็ นการเพียงพอ ถ้ าอยู่ห่างจากแต่ละเครื่ องห่อหุ้มไม่เกิ น 450 มม. (18 นิ ้ว) 7.3.5.1.4 ในแต่ละท่อร้ อยสายที่ออกจากบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 อนุญาตให้ ใช้ อุปกรณ์ปิดผนึกที่ด้านใดด้ านหนึ่งของสถานที่นั้น ภายในระยะ 3.00 เมตร และต้ องออกแบบและ ติดตั้งให้ มีก๊าซหรื อไอระเหยเล็ดลอดเข้ าไปในระบบท่อที่อยู่ในสถานที่แบบที่ 1 ได้ น้อยที่สุด ยกเว้ นท่อลดแบบกันระเบิดที่ได้ รับการรับรองที่จดุ ปิ ดผนึกท่อ ต้ องไม่มี หัวต่อ ข้ อต่อ กล่อง หรื อ เครื่ องประกอบในท่อซึง่ อยูร่ ะหว่างอุปกรณ์ปิดผนึกและจุดที่ทอ่ ออกจากบริ เวณอันตรายแบบที่ 1

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-15

ยกเว้ น ท่อโลหะซึ่ งวางผ่านบริ เวณอันตรายประเภทที ่ 1 แบบที ่ 1 โดยไม่มี หัวต่อ ข้อต่อ กล่อง หรื อ เครื ่องประกอบ และในระยะ 300 มม. (12 นิ้ ว) ทีเ่ ลยออกจากขอบเขตของบริ เวณอันตราย ไม่มีเครื ่องประกอบการเดิ นท่อ ไม่จําเป็ นต้องปิ ดผนึกถ้าปลายท่อไม่อยู่ในบริ เวณอันตราย 7.3.5.2 การปิ ดผนึกท่ อในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตราย ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 การปิ ดผนึกท่อต้ องทําตามตําแหน่งต่างๆ ดังนี ้ 7.3.5.2.1 สํา หรับ การต่อ เข้ า กับ เครื่ อ งห่อหุ้มชนิดทนการระเบิดซึ่งได้ รับการรั บรองให้ ใช้ สําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 การปิ ดผนึกต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.5.1.1 ถึง 7.3.5.1.3 ข้ างต้ น ทุกส่วนของท่อหรื อนิปเพิลระหว่างจุดที่ปิดผนึกกับแต่ละเครื่ องห่อหุ้มต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.5.1.4 7.3.5.2.2 การวางท่อผ่านบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ไปยังสถานที่ธรรมดา อนุญาตให้ มีการปิ ดผนึกที่ด้านใดด้ านหนึ่งของสถานที่นั้นแต่ต้องออกแบบและติดตั้งเพื่อให้ มี ก๊ าซ หรื อไอระเหยเล็ดลอดเข้ าไปในระบบท่อที่อยู่ในบริ เวณอันตรายแบบที่ 2 ได้ น้อยที่สดุ การ วางท่อระหว่างจุดที่ปิดผนึกกับจุดที่ท่อออกจากบริ เวณอันตรายแบบที่ 2 ต้ องใช้ ท่อโลหะหนา หรื อท่อโลหะหนาปานกลางแบบมีเกลียวและจุดที่ปิดผนึกต้ องใช้ ข้อต่อแบบมีเกลียว ยกเว้ นท่อ ลดแบบกันระเบิดที่ได้ รับการรับรองที่จดุ ปิ ดผนึกท่อและต้ องไม่มีหวั ต่อ ข้ อต่อ กล่องหรื อเครื่ อง ประกอบในท่อที่อยูร่ ะหว่างอุปกรณ์ปิดผนึกและจุดที่ทอ่ ออกจากบริ เวณอันตรายแบบที่ 2 ข้ อยกเว้ นที่ 1 ท่อโลหะซึ่ งวางผ่านบริ เวณอันตรายประเภทที ่ 1 แบบที ่ 2 โดยไม่มีหวั ต่อข้อ ต่อกล่องหรื อเครื ่องประกอบ และในระยะ 300 มม. (12 นิ้ ว) ทีเ่ ลยออกจาก ขอบเขตของบริ เวณอันตรายไม่มีเครื ่ องประกอบการเดิ นท่อ ไม่จําเป็ นต้อง ปิ ดผนึกถ้าปลายท่อไม่อยู่ในบริ เวณอันตราย ข้ อยกเว้ นที่ 2 ระบบท่อซึ่ งมี จุดสิ้ นสุดไม่อยู่ในบริ เวณอันตรายและอยู่ภายนอกอาคาร และมี การเปลี ่ยนวิ ธีการเดิ นสายเป็ นการเดิ นสายโดยใช้ รางเคเบิ ล ทางเดิ นเคเบิ ล ทางเดิ นบัสแบบมี ช่องระบาย สายเคเบิ ลชนิ ด MI หรื อการเดิ นสายแบบเปิ ด ไม่ จํ า เป็ นต้ อ งทํ า การปิ ดผนึ ก ในที ่ซึ่ ง ระบบท่ อ วางผ่ า นบริ เวณอัน ตราย ประเภทที ่ 1 แบบที ่ 2 ไปยังสถานทีธ่ รรมดา สถานทีธ่ รรมดาต้องเป็ นส่วน ภายนอกอาคาร ยกเว้นถ้าระบบการเดิ นท่อร้ อยสายทัง้ หมดอยู่ในห้อง ให้ถือ เป็ นสายภายในอาคาร ท่อต้องไม่มีจุดสิ้ นสุดทีเ่ ครื ่องห่อหุ้มซึ่ งเป็ นแหล่งทีท่ ํา ให้เกิ ดการจุดระเบิ ด

7.3.5.3 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ 2 ในที่ซึ่งต้ องการปิ ดผนึกของ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ 2 ต้ องเป็ นดังนี ้

7-16

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.3.5.3.1 เครื่ องประกอบ (Fittings) เครื่ องห่อหุ้มสําหรับจุดต่อหรื อบริ ภณ ั ฑ์ ต้ องมีวิธีการปิ ด ผนึกหรื ออุปกรณ์ปิดผนึกที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 อุปกรณ์ปิดผนึก ต้ องอยูใ่ นที่ซงึ่ เข้ าถึงได้ 7.3.5.3.2 สารประกอบ(Compound) สารประกอบที่ ใช้ เป็ นสารปิ ดผนึก ต้ องเป็ นชนิ ดที่ ได้ รั บ การรั บ รองแล้ ว สามารถป้ องกัน ไม่ ใ ห้ ก๊ า ซหรื อ ไอระเหยเล็ ด ลอดผ่ า นได้ ต้ อ งไม่ มี ผ ล เนื่องจากบรรยากาศโดยรอบหรื อของเหลว และต้ องมีจดุ หลอมเหลวไม่ตํ่ากว่า 93 °C (200 °F) 7.3.5.3.3 ความหนาของสารประกอบ เมื่อปิ ดผนึกเสร็ จความหนาของสารประกอบที่ใช้ ปิด ผนึกต้ องไม่น้อยกว่าขนาดของท่อและต้ องไม่น้อยกว่า 16 มม. (5/8 นิ ้ว) 7.3.5.3.4 การต่ อและการต่ อแยก การต่อและการต่อแยกต้ องไม่ทําในเครื่ องประกอบ สําหรับใส่สารปิ ดผนึกหรื อเครื่ องประกอบอื่นซึ่งการต่อและการต่อแยกจะต้ องใส่สารสําหรับปิ ด ผนึก 7.3.5.3.5 ชุดประกอบสําเร็ จ (Assemblies) ในชุดประกอบสําเร็ จที่ซงึ่ บริ ภณ ั ฑ์ที่อาจทําให้ เกิดอาร์ ก ประกายไฟ หรื ออุณหภูมิสงู ติดตั้งในส่วนที่แยกต่างหากจากส่วนที่มีการต่อหรื อการต่อ แยก และมีการปิ ดผนึกในจุดที่ตวั นําผ่านจากส่วนหนึ่งไปส่วนอื่น ชุดประกอบสําเร็ จนันต้ ้ องได้ รับ การรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 การปิ ดผนึกในท่อที่ต่อเข้ ากับส่วนที่มีการต่อหรื อ การต่อแยกต้ องเป็ นแบบที่ใช้ กบั บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ตามข้ อ 7.3.5.1.2 ข้ างต้ น 7.3.5.4 การปิ ดผนึกสายเคเบิลในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ในบริ เวณ อันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 สายเคเบิลหลายแกนแต่ละเส้ นให้ ถือว่าเป็ นตัวนําเดียว ถ้ าสาย เคเบิลเป็ นชนิดป้องกันไม่ให้ ก๊าซหรื อไอระเหยผ่านเข้ าทางแกนสายเคเบิลได้ การปิ ดผนึกสาย เคเบิลให้ เป็ นไปตามข้ อ 7.3.5.1 ข้ างต้ น สายเคเบิลชนิดกันก๊ าซหรื อไอระเหยที่มีเปลือกหุ้มตลอด แต่ก๊าซหรื อไอระเหยสามารถผ่านเข้ า ทางแกนได้ เมื่ออยู่ในบริ เวณอันตรายแบบที่ 1 ต้ องมีการปิ ดผนึกเมื่อมีการปอกเปลือกเพื่อให้ สารปิ ดผนึกหุ้มแต่ละตัวนําและเปลือกนอกทั้งหมด ยกเว้ น สายเคเบิ ลหลายแกนชนิ ดกันก๊ าซ หรื อไอระเหยทีม่ ี เปลื อกหุม้ ตลอด แต่ก๊าซหรื อไอระเหยสามารถผ่านเข้าทางแกนได้ อนุญาตให้ถือ เป็ นตัวนําเดียวโดยการปิ ดผนึกสายเคเบิ ลทีอ่ ยู่ในท่อร้อยสายทีม่ ี เครื ่องห่อหุม้ ยาวไม่เกิ น 450 มม. (18 นิ้ ว) และจุดสิ้ นสุดของสายเคเบิ ลอยู่ในเครื ่องห่อหุ้ม การปิ ดผนึกนี ต้ อ้ งใช้วิธีทีไ่ ด้รับการรับรองแล้วว่าสามารถป้ องกันก๊ าซหรื อไอระเหยผ่านเข้าไปหรื อป้ องกันการแผ่ขยายของเปลวเพลิ ง เข้าไปในแกนของสายเคเบิ ล หรื อโดยวิ ธีการอื น่ ทีไ่ ด้รบั การรับรองแล้ว 7.3.5.5 การปิ ดผนึกสายเคเบิล ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณ อันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 การปิ ดผนึกให้ เป็ นดังนี ้

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-17

7.3.5.5.1 ต้ องปิ ดผนึกจุดที่สายเคเบิลเข้ าสู่เครื่ องห่อหุ้มที่ได้ รับการรั บรอง สําหรั บบริ เวณ อันตรายประเภทที่ 1 อุปกรณ์ปิดผนึกต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.5.2.1 ข้ างต้ น สายเคเบิลหลายแกน ชนิดกันก๊ าซหรื อไอระเหยที่มีเปลือกหุ้มตลอด แต่ก๊าซหรื อไอระเหยสามารถผ่านเข้ าทางแกนได้ ถ้ า อยู่ในบริ เวณอันตรายแบบที่ 2 ต้ องมีการปิ ดผนึกในเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ วหากมี การปอกเปลือก เพื่อให้ สารปิ ดผนึกหุ้มแต่ละตัวนําทังหมด ้ ทั้งนี ้เพื่อให้ มีก๊าซหรื อไอระเหยผ่านเข้ า ไปได้ น้อยที่สดุ สายเคเบิลหลายแกนในท่อต้ องทําการปิ ดผนึกตามข้ อ 7.3.5.4 ข้ างต้ น 7.3.5.5.2 สายเคเบิลหลายแกนชนิดกันก๊ าซหรื อไอระเหย ที่มีเปลือกหุ้มตลอดและก๊ าซหรื อไอ ระเหยไม่สามารถผ่านเข้ าทางแกนได้ เกินกว่าปริ มาณที่ผ่านอุปกรณ์ปิดผนึกได้ ไม่จําเป็ นต้ องมีการ ปิ ดผนึก นอกจากจะกําหนดไว้ ในข้ อ 7.3.5.5.1 ข้ างต้ น ความยาวตํ่าสุดของสายเคเบิลต้ องไม่น้อย กว่าความยาวที่จํากัดการไหลผ่านของก๊ าซหรื อไอระเหยผ่านทางแกนสายเคเบิลไม่ให้ เกินอัตราที่ ผ่านอุปกรณ์ปิดผนึก (200 ลบ.ซม. ต่อ ชัว่ -โมง) ของอากาศที่ความดัน 1500 พาสคัล (Pascal) 7.3.5.5.3 สายเคเบิลชนิ ดกันก๊ าซหรื อไอระเหย ที่ มีเปลือกหุ้มตลอดและก๊ าซหรื อไอระเหย สามารถผ่านเข้ าทางแกนได้ ไม่จําเป็ นต้ องมีการปิ ดผนึกนอกจากที่กําหนดในข้ อ 7.3.5.5.1 ข้ างต้ น ถ้ าสายเคเบิลนั้นไม่ได้ อยู่ติดกับบริ ภณ ั ฑ์หรื ออุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการผลิต ซึ่งอาจทําให้ เกิดแรงดัน เกิน 1500 พาสคัล ที่ปลายสายเคเบิล ในกรณีนี ้ต้ องจัดให้ มีการปิ ดผนึกหรื อกั้นเพื่อป้องกันการติด ไฟแผ่ขยายเข้ าสูส่ ถานที่ธรรมดา ยกเว้ น สายเคเบิ ลชนิ ดกันก๊ าซหรื อไอระเหยทีม่ ี เปลื อกหุม้ ตลอด และไม่มีจุดแตกชํ ารุดอนุญาตให้วางผ่านบริ เวณอันตรายประเภทที ่ 1 แบบที ่ 2 ได้โดยไม่ตอ้ งมี การปิ ดผนึก 7.3.5.5.4 สายเคเบิลชนิดไม่มีเปลือกหุ้มตลอดเพื่อกันก๊ าซหรื อไอระเหยต้ องมีการปิ ดผนึกที่ ขอบเขตของบริ เวณอันตรายแบบที่ 2 และสถานที่ธรรมดา เพื่อให้ มีการส่งผ่านก๊ าซหรื อไอระเหย เข้ าสูส่ ถานที่ธรรมดาน้ อยที่สดุ 7.3.5.6 การระบาย (Drainage) 7.3.5.6.1 บริภณ ั ฑ์ สาํ หรั บควบคุม ในที่ซงึ่ ของเหลวหรื อไอระเหยที่กลัน่ ตัวเป็ นของเหลวได้ มีโอกาสเข้ าไปภายในเครื่ องห่อหุ้มของบริ ภณ ั ฑ์สําหรับควบคุมหรื อที่ใดๆ ในระบบช่องเดินสาย ต้ องมีวิธีการที่รับรองแล้ วเพื่อไม่ให้ เกิดการสะสม หรื อต้ องมีการระบายของเหลวหรื อไอระเหยที่ กลัน่ ตัวเป็ นระยะ 7.3.5.6.2 มอเตอร์ และเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า ในที่ซงึ่ เจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอํานาจตัดสินว่ามีโอกาส ที่ของเหลวหรื อไอระเหยที่กลัน่ ตัวอาจเกิดการสะสมในตัวมอเตอร์ หรื อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าต้ อง จัดทําจุดต่อและระบบท่อให้ มีของเหลวผ่านเข้ าไปได้ น้อยที่สดุ ถ้ าการตัดสินนั้นจําเป็ นที่จะต้ อง

7-18

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

ให้ มีการป้องกันการสะสมหรื อมีการระบายเป็ นระยะ วิธีการที่เหมาะสมต้ องจัดทําพร้ อมกับการ ผลิตและเป็ นส่วนหนึง่ ของเครื่ องจักร 7.3.6 สวิตช์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิ วส์ 7.3.6.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิ วส์ รวมทั้งสวิตช์กดปุ่ ม รี เลย์และอุปกรณ์ อื่นที่คล้ ายกัน ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มและเครื่ องห่อหุ้มนั้นรวมถึงเครื่ องสําเร็ จที่อยู่ในเครื่ องห่อหุ้ม ต้ องเป็ นชุดประกอบสําเร็ จแบบที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 7.3.6.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุม มอเตอร์ และฟิวส์ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้ 7.3.6.2.1 แบบชนิดที่ต้องการเครื่ องป้องกัน เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และ สวิตช์ ที่ใช้ สําหรับตัดกระแสในการทํางานปกติ ต้ องอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มที่ได้ รับการรับรองสําหรับ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ตามข้ อ 7.3.3.1 นอกจากจะเป็ นเครื่ องห่อหุ้มแบบใช้ งาน ทัว่ ไปซึง่ เป็ นดังต่อไปนี ้ 1) การตัดกระแสอยู่ในส่วนที่มีการปิ ดผนึกอย่างแน่นหนาไม่ให้ ก๊าซหรื อไอระเหย เข้ าได้ 2) หน้ าสัมผัส ปลด-สับกระแสจมอยูใ่ นนํ ้ามัน ดังนี ้ ก) สําหรับหน้ าสัมผัสใช้ งานแบบกําลัง ต้ องจมอยูใ่ นนํ ้ามันที่มีระดับความลึก ไม่น้อยกว่า 50 มม. (2 นิ ้ว) ข) สําหรับหน้ าสัมผัสใช้ งานแบบควบคุม ต้ องจมอยู่ในนํ ้ามันที่มีระดับความ ลึกไม่น้อยกว่า 25 มม. (1 นิ ้ว) ค) การตัดกระแสเกิดขึ ้นในส่วนที่ปิดผนึกมาจากโรงงานและทนการระเบิด ซึง่ ได้ รับการรับรองให้ ใช้ ในสถานที่ดงั กล่าว ง) การใช้ อปุ กรณ์กึ่งตัวนําตัดกระแส การควบคุมปราศจากหน้ าสัมผัส อุณหภูมิที่ผิวต้ องไม่เกินร้ อยละ 80 ของอุณหภูมิจดุ ระเบิดของก๊ าซหรื อ ไอระเหย 7.3.6.2.2 สวิตช์ แยกวงจร สวิตช์แยกวงจรแบบมีหรื อไม่มีฟิวส์สําหรับหม้ อแปลงและคาปา ซิเตอร์ ซงึ่ ไม่ได้ ใช้ สําหรับตัดกระแสในการใช้ งานปกติ ยอมให้ ติดตั้งในเครื่ องห่อหุ้มสําหรับใช้ งาน ทัว่ ไปได้ 7.3.6.2.3 ฟิ วส์ เพื่อการป้องกันมอเตอร์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าและหลอดไฟฟ้า นอกจากที่กําหนดไว้ ในข้ อ 7.3.6.2.4 ข้ างล่างอนุญาตให้ ใช้ เต้ าเสียบมาตรฐาน หรื อคาร์ ทริ ดจ์ฟิวส์ได้ ถ้ าติดตั้งไว้ ใน

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-19

เครื่ องห่อหุ้มซึ่งได้ รับการรับรองสําหรับประเภทของสถานที่นั ้น หรื ออนุญาตให้ ใช้ ฟิวส์ซึ่งอยู่ใน เครื่ องห่อหุ้มสําหรับใช้ งานทัว่ ไปได้ ถ้ าเป็ นแบบที่ชิ ้นส่วนสําหรับตัดกระแสจมอยู่ในนํ ้ามันหรื อ ของเหลวที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง หรื อ ชิ น้ ส่ว นสํ า หรั บ ตัด กระแสอยู่ใ นส่ว นที่ มี ก ารปิ ดผนึ ก อย่ า ง หนาแน่นไม่ให้ ก๊าซหรื อไอระเหยเข้ าไปได้ 7.3.6.2.4 ฟิ วส์ หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ สาํ หรั บป้องกันกระแสเกิน ในกรณีที่มีฟิวส์ไม่เกิน 10 ชุด ในเครื่ องห่อหุ้ม หรื อมีเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ไม่เกิน 10 ชุด และไม่มีจดุ ประสงค์ที่จะให้ เป็ น สวิตช์สําหรับตัดกระแสติดตั้งเพื่อป้องกันวงจรย่อยและสายป้อนในห้ อง พื ้นที่หรื อส่วนใดๆ ของ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องห่อหุ้มของฟิ วส์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบใช้ งานทัว่ ไปได้ ถ้ าฟิ วส์หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ใช้ สําหรับป้องกันวงจรหรื อสายป้อนที่จ่ายไฟ ให้ กบั หลอดไฟที่ตดิ ประจําที่เท่านั้น 7.3.6.2.5 ฟิ วส์ ภายในดวงโคม อนุญาตให้ ใช้ คาร์ ทริ ดจ์ฟิวส์ที่ได้ รับการรับรองแล้ วภายใน ดวงโคมได้ 7.3.7 หม้ อแปลงควบคุมและตัวต้ านทาน หม้ อแปลง ขดลวดอิมพีแดนซ์ และตัวต้ านทานที่ใช้ เป็ นหรื อใช้ ร่วมกับบริ ภณ ั ฑ์ควบคุมสําหรับ มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า และเครื่ องใช้ ไฟฟ้า ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.7.1 และ 7.3.7.2 ดังนี ้ 7.3.7.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 หม้ อแปลง ขดลวดอิมพีแดนซ์ และตัวต้ านทาน รวมทั้งกลไกการสวิตช์ที่เกี่ยวข้ องต้ องเป็ นแบบมี เครื่ องห่อหุ้มที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ตามข้ อ 7.3.3.1 7.3.7.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 หม้ อแปลงควบคุมและตัวต้ านทาน ต้ องเป็ นดังนี ้ 7.3.7.2.1 กลไกการสวิตช์ กลไกการสวิตช์ที่ใช้ ร่วมกับหม้ อแปลง ขดลวดอิมพีแดนซ์ และตัว ต้ านทานต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.6.2 7.3.7.2.2 ขดลวด เครื่ องห่อหุ้มขดลวดของหม้ อแปลง ขดลวดโซลินอยด์ หรื อขดลวด อิมพีแดนซ์ อนุญาตให้ ใช้ แบบสําหรับใช้ งานทัว่ ไปได้ 7.3.7.2.3 ตัวต้ านทาน ตัวต้ านทาน ต้ องเป็ นแบบมีเครื่ องห่อหุ้มและทั้งชุดต้ องได้ รับการ รับรองสําหรับใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 นอกจากความต้ านทานจะแปรค่าไม่ได้ และ อุณหภูมิทํางานในหน่วยองศาเซลเซียสไม่เกินร้ อยละ 80 ของอุณหภูมิจดุ ระเบิดของก๊ าซ หรื อไอ ระเหยที่เกี่ยวข้ องหรื อเป็ นแบบที่ทดสอบแล้ วว่าไม่สามารถจุดระเบิดก๊ าซหรื อไอระเหยได้ 7.3.8

มอเตอร์ และเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า

7-20

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.3.8.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า และเครื่ องจักรกลไฟฟ้าต้ องเป็ นดังนี ้ 7.3.8.1.1 เป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 หรื อ 7.3.8.1.2 เป็ นแบบที่ถูกห่อหุ้มอย่างมิดชิดทั้งหมดและมีระบบระ บายอากาศจากแหล่ง อากาศที่สะอาดและระบายออกสู่สถานที่ปลอดภัย โดยจัดทําในลักษณะที่เครื่ องจักรจะไม่ได้ รับ การจ่ายไฟจนกว่าจะมีการระบายอากาศแล้ ว และเครื่ องห่อหุ้มต้ องได้ รับการอัดอากาศผ่านใน ปริ มาตรไม่น้อยกว่า 10 เท่าของปริ มาตรเครื่ องห่อหุ้ม และต้ องจัดทําให้ บริ ภัณฑ์ หยุดโดย อัตโนมัตเิ มื่อการระบายอากาศขัดข้ อง หรื อ 7.3.8.1.3 เป็ นแบบที่ถกู ห่อหุ้มอย่างมิดชิดทังหมดบรรจุ ้ ก๊าซเฉื่อยอยู่ภายในและมีแหล่งจ่าย ก๊ าซที่แน่นอนสําหรับอัดก๊ าซเข้ าเครื่ องห่อหุ้ม มีอุปกรณ์ ที่เหมาะสมที่สามารถตรวจสอบได้ ว่า แรงดันของก๊ าซในเครื่ องห่อหุ้มเป็ นไปตามที่ต้องการ และมีการจัดทําในลักษณะที่ตดั การจ่ายไฟ ให้ บริ ภณ ั ฑ์โดยอัตโนมัติ เมื่อระบบจ่ายก๊ าซขัดข้ อง หรื อ 7.3.8.1.4 เป็ นแบบที่จมอยู่ในของเหลว ซึ่งจะติดไฟได้ ก็ต่อเมื่อกลายเป็ นไอระเหยและผสม กับอากาศหรื อเป็ นแบบที่อยู่ภายใต้ ก๊าซหรื อไอระเหยที่มีแรงดันสูงกว่าบรรยากาศ และจะติดไฟ ได้ ก็ต่อเมื่อผสมกับอากาศ เครื่ องจักรต้ องมีการจัดทําในลักษณะที่ไม่ได้ รับการจ่ายไฟจนกว่า อากาศจะถูกไล่ด้วยของเหลวหรื อก๊ าซ และต้ องตัดการจ่ายไฟให้ เครื่ องจักรเมื่อระบบการจ่าย ของเหลวหรื อก๊ าซขัดข้ อง หรื อแรงดันลดลงเท่ากับบรรยากาศ ุ หภูมิ มอเตอร์ ซงึ่ มีเครื่ องห่อหุ้มตามข้ อ 7.3.8.1.2 และ 7.3.8.1.3 ต้ องไม่มีสว่ นของพื ้นผิวที่มีอณ ใช้ งานเป็ นองศาเซลเซียสเกินกว่าร้ อยละ 80 ของอุณหภูมิจุดระเบิดของก๊ าซหรื อไอระเหยที่ เกี่ยวข้ องกับต้ องมีอปุ กรณ์ที่เหมาะสมคอยตรวจจับและตัดการจ่ายไฟให้ มอเตอร์ โดยอัตโนมัติ หรื อมีสญ ั ญาณเตือนภัยอย่างเพียงพอเมื่ออุณหภูมิของมอเตอร์ เพิ่มขึ ้นเกินขีดจํากัด บริ ภัณฑ์ ประกอบต้ องเป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายนี ้ด้ วย 7.3.8.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 มอเตอร์ เครื่ องกํ าเนิดไฟฟ้า และเครื่ องจักรกลไฟฟ้าที่หมุนได้ อื่นๆ ที่มีหน้ าสัมผัสเลื่อน หรื อ สวิตช์หนีศนู ย์กลาง หรื อกลไกสวิตช์แบบอื่น (รวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน การใช้ เกินกําลัง และอุณหภูมิเกินของมอเตอร์ ) หรื ออุปกรณ์ความต้ านทานในเครื่ อง ไม่วา่ จะใช้ ขณะเริ่ มเดิน หรื อ ขณะเดินต้ องเป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ตามข้ อ 7.3.3.2

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-21

เมื่อทํางานที่แรงดันพิกดั พื ้นผิวเปิ ดโล่งของตัวทําความร้ อน สําหรับป้องกันการกลัน่ ตัวขณะหยุด ใช้ งาน ต้ องสูงไม่เกินร้ อยละ 80 ของอุณหภูมิจดุ ระเบิดเป็ นองศาเซลเซียสของก๊ าซหรื อไอระเหย ที่เกี่ยวข้ อง และต้ องมีป้ายแสดงที่เห็นได้ ชดั เจนติดตั้งที่ตวั มอเตอร์ ซึ่งระบุอุณหภูมิพื ้นผิวสูงสุด (สําหรับอุณหภูมิแวดล้ อม 40°C) ตัวทําความร้ อนต้ องได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตราย ประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ด้ วย ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ยอมให้ ติดตั้งมอเตอร์ แบบเปิ ดหรื อแบบไม่ทนการ ระเบิดซึ่งมีเครื่ องห่อหุ้ม เช่น มอเตอร์ แบบเหนี่ยวนํา โรเตอร์ เป็ นชนิด กรงกระรอกซึ่งไม่มีแปรง ถ่าน กลไกสวิตช์ หรื ออุปกรณ์ก่อให้ เกิดอาร์ กที่คล้ ายกัน 7.3.9 ดวงโคม ดวงโคมต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.9.1.หรื อ 7.3.9.2 ดังนี ้ 7.3.9.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ดวงโคมต้ องเป็ นดังนี ้ 7.3.9.1.1 ดวงโคมที่ได้ รับการรั บรองแล้ ว ดวงโคมต้ องเป็ นแบบประกอบสําเร็ จที่ได้ รับ การรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และต้ องแสดงค่ากําลังไฟฟ้าที่ได้ รับการ รับรองที่เห็นได้ ชดั เจน ดวงโคมแบบหยิบยกได้ ต้องได้ รับการรับรองเป็ นพิเศษว่าเป็ นชุดประกอบ สําเร็ จสําหรับการใช้ งานนั้น 7.3.9.1.2 ความเสียหายทางกายภาพ ดวงโคมต้ องมีการป้องกันมิให้ เกิดความเสียหาย ทางกายภาพโดยการกั้น หรื อโดยตําแหน่งติดตั้งที่เหมาะสม 7.3.9.1.3 ดวงโคมแขวน ดวงโคมแขวน ต้ องยึดแขวนและรับกระแส ผ่านทางก้ านแขวนซึง่ ทําด้ วยท่อโลหะหนาหรื อท่อโลหะหนาปานกลางมีเกลียว และจุดต่อเกลียวต่างๆ ต้ องมีหมุด เกลียวยึดหรื อใช้ วิธีการที่มีประสิทธิผลเพื่อป้องกันการหลวม ถ้ าก้ านแขวนยาวกว่า 300 มม. ต้ องมีตวั ยึดที่มีประสิทธิผลติดตั้งอย่างถาวรเพื่อป้องกันการแกว่ง โดยยึดที่จดุ ซึ่งสูงไม่เกิน 300 มม. จากปลายล่างของก้ าน ถ้ าต้ องการให้ อ่อนตัวได้ ต้องใช้ เครื่ องประกอบและข้ อต่อที่ผ่านการ รับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และต้ องติดตั้งในระยะไม่เกิน 300 มม. จาก จุดยึดติดกับกล่องหรื อเครื่ องประกอบ 7.3.9.1.4 ที่รองรั บ กล่อง กล่องประกอบสําเร็ จ หรื อเครื่ องประกอบ ซึง่ ใช้ รองรับดวงโคม ต้ องเป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 7.3.9.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ดวงโคมต้ องเป็ นดังนี ้

7-22

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.3.9.2.1 ดวงโคมแบบหยิบยกได้ ดวงโคมแบบหยิบยกได้ ต้องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.9.1.1 ข้ างต้ น ยกเว้ น ดวงโคมแบบหยิ บยกได้ซึ่งติ ดบนขาตัง้ เคลื อ่ นทีไ่ ด้และต่อด้วยสายอ่อนตามข้อ 7.3.11 อนุญาตให้ใช้ได้เมื อ่ ติ ดตัง้ ในตําแหน่งใดๆ ทีเ่ ป็ นไปตามข้อ 7.3.9.2.2 ข้างล่าง 7.3.9.2.2 ดวงโคมแบบยึดกับที่ ดวงโคมสําหรับให้ แสงสว่างประจําที่ ต้ องมีการกั้นหรื อ ติดตั้งในตําแหน่งที่เหมาะสมเพื่อมิให้ เกิ ดความเสียหายทางกายภาพ ในที่ซึ่งอาจมี อันตราย เนื่องจากประกายไฟหรื อความร้ อนของโลหะจากหลอดไฟหรื อดวงโคมที่อาจจุดระเบิดก๊ าซหรื อ ไอระเหยที่มีความเข้ มข้ นเพียงพอต่อการติดไฟในบริ เวณใกล้ เคียงได้ ต้ องจัดให้ มีเครื่ องห่อหุ้มที่ เหมาะสมหรื อวิธีป้องกันอื่นที่มีประสิทธิผล ในที่ซงึ่ หลอดไฟมีขนาด หรื อเป็ นแบบ ซึง่ ในภาวะการทํางานตามปกติ ทําให้ อณ ุ หภูมิที่ผิววัดเป็ น องศาเซลเซียสสูงกว่าร้ อยละ 80 ของอุณหภูมิจดุ ระเบิดของก๊ าซหรื อไอระเหยที่เกี่ยวข้ อง ดวง โคมนั้นต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.9.1.1 ข้ างต้ น หรื อเป็ นแบบที่ทดสอบแล้ วโดยมีการแสดงค่าหรื อ ระดับอุณหภูมิใช้ งาน 7.3.9.2.3 ดวงโคมแขวน ดวงโคมแขวนต้ องแขวนและรับกระแสผ่านทางก้ านแขวนซึ่งทํา ด้ วยท่อโลหะหนาหรื อท่อโลหะหนาปานกลางแบบมีเกลียว หรื อวิธีการอื่นที่รับรองแล้ ว 7.3.9.2.4 สวิตช์ สวิตช์ที่เป็ นส่วนของดวงโคมประกอบสําเร็ จหรื อของแต่ละขั้วรับหลอดต้ อง เป็ นไปตามข้ อ 7.3.6.2.1 ั ฑ์สําหรับจุดหลอดและควบคุมหลอดปล่อย 7.3.9.2.5 บริ ภัณฑ์ สําหรั บจุดหลอด บริ ภณ ประจุต้องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.7.2 ยกเว้ น บัลลาสต์ ของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ทีม่ ี ตวั ป้ องกัน ความร้อนติ ดอยู่ภายใน ถ้าดวงโคมได้รบั การรับรองตามประเภทและแบบของสถานทีน่ นั้ แล้ว 7.3.10 บริภณ ั ฑ์ ใช้ สอย 7.3.10.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยทั้งหมดต้ องได้ รับการรับรองสําหรับใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 7.3.10.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยทั้งหมดต้ องเป็ นดังนี ้ 7.3.10.2.1 มอเตอร์ มอเตอร์ ซึ่งเป็ นตัวขับเคลื่อนของบริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอย ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.9.2 7.3.10.2.2 สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ และฟิ วส์ สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ และฟิ วส์ ต้ อง เป็ นไปตามข้ อ 7.3.6.2

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-23

7.3.11 สายอ่ อนในบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ 2 อนุญาตให้ ใช้ สายอ่อนเพียงเพื่อการต่อระหว่างแหล่งจ่ายไฟประจําที่ไปยังโคมไฟแบบหยิบยกได้ หรื อบริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยแบบหยิบยกได้ และต้ องเป็ นดังนี ้ 7.3.11.1 เป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับใช้ งานหนักพิเศษ 7.3.11.2 ต่อกับขั้วสาย หรื อกับสายที่จ่ายไฟให้ โดยวิธีที่ได้ รับการรับรอง 7.3.11.3 มีการจับยึดด้ วยแคลมป์หรื อโดยวิธีที่เหมาะสมซึง่ ไม่ทําให้ เกิดแรงดึงที่ขั้วปลายสาย 7.3.11.4 มีการปิ ดผนึกที่เหมาะสม เมื่อสายอ่อนเข้ าไปในกล่อง เครื่ องประกอบ หรื อเครื่ อง ห่อหุ้มชนิดทนการระเบิด ยกเว้ น ตามทีก่ ํ าหนดในข้อ 7.3.3.2.6 และ 7.3.4.2 เครื่ องสูบนํ ้าไฟฟ้าแบบจุ่มในนํ ้าถือว่าเป็ นบริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยแบบหยิบยกได้ ถ้ าสามารถเคลื่อนย้ าย ได้ โดยไม่ต้องเข้ าไปยังที่ซงึ่ จุ่มนํ ้าอยู่ อนุญาตให้ มีการต่อขยายสายอ่อนระหว่างจุดที่จ่มุ นํ ้ากับจุด จ่ายไฟได้ โดยต้ องอยูใ่ นช่องเดินสายที่เหมาะสม เครื่ องผสมไฟฟ้าแบบที่ใช้ สําหรับเลื่อนเข้ า-ออกในถังหรื อหม้ อสําหรับผสม ถือว่าเป็ นบริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยแบบหยิบยกได้ 7.3.12 เต้ ารั บและเต้ าเสียบพร้ อมสายในบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ2 เต้ ารั บและเต้ าเสียบพร้ อมสายต้ องเป็ นแบบมีที่สําหรั บต่อตัวนําสําหรั บต่อลงดินของสายอ่อน และเป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายนั้น ยกเว้ น ตามที ่ กํ าหนดในข้ อ 7.3.3.2.6 7.3.13 ฉนวนของตัวนําในบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ 2 ในที่ซึ่งของเหลวหรื อไอระเหยกลัน่ ตัวอาจสะสม หรื อสัมผัสกับฉนวนของตัวนํา ฉนวนนั้นต้ อง เป็ นแบบที่ได้ รับการรั บรองแล้ วสําหรั บสภาวะนัน้ หรื อฉนวนต้ องมีการป้องกันโดยใช้ เปลือก ตะกัว่ หรื อวิธีการอื่นที่ได้ รับการรับรองแล้ ว 7.3.14 ระบบสั ญ ญาณ ระบบสั ญ ญาณเตื อ น ระบบควบคุ ม ระยะไกล และ ระบบสื่อสาร 7.3.14.1 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 เครื่ องสําเร็ จและบริ ภณ ั ฑ์ทั้งหมดของระบบ สัญญาณเตือน ระบบควบคุมระยะไกลและระบบสื่อสาร โดยไม่คํานึงแรงดันไฟฟ้า ต้ องเป็ นแบบ ที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และการเดินสายต้ องเป็ นไป ตามข้ อ 7.3.4.1, 7.3.5.1 และ 7.3.5.3 7.3.14.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ระบบสัญญาณ ระบบสัญญาณเตือน ระบบควบคุมระยะไกลและระบบสื่อสาร ต้ องเป็ นดังนี ้

7-24

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.3.14.2.1 หน้ าสัมผัส สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ และหน้ าสัมผัสปลดสับ ของสวิตช์แบบกด ปุ่ ม รี เลย์ กริ่ งเตือนและแตรเตือนต้ องเป็ นแบบที่มีเครื่ องห่อหุ้มที่ได้ รับการรั บรองแล้ ว สําหรั บ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ตามข้ อ 7.3.3.1 ยกเว้ น อนุญาตให้ใช้เครื ่ องห่ อหุ้มสํ าหรับใช้งานทั่วไปได้ ถ้า หน้า สัม ผัส ตัด กระแสเป็ นดังนี ้ 1) จุ่มอยู่ในนํ้ามัน หรื อ 2) ถูกห่อหุ้มในช่องที ่มีการปิ ดผนึกอย่างแน่นหนา ไม่ให้ก๊าซหรื อไอ ระเหยเข้าไปได้ หรื อ 3) อยู่ในวงจรซึ่ งไม่อาจปล่อยพลังงานออกมาเพี ยงพอที ่จะจุดระเบิ ด บรรยากาศผสมได้ภายใต้สภาวะการทํางานปกติ 7.3.14.2.2 ตัวต้ านทานและบริ ภัณฑ์ ท่ ีคล้ ายกัน ตัวต้ านทาน อุปกรณ์ ความต้ านทาน หลอดเทอร์ มิโอนิก เครื่ องเรี ยงกระแส และบริ ภณ ั ฑ์ที่คล้ ายกัน ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.3.2.2 7.3.14.2.3 ตัวป้องกัน อุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่าและฟิ วส์ต้องมีเครื่ องห่อหุ้ม และอนุญาตให้ ใช้ เครื่ องห่อหุ้มแบบใช้ งานทัว่ ไปได้ 7.3.14.2.4 การเดินสายและการปิ ดผนึก การเดินสายทั้งหมดต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.4.2 และ 7.3.5.2 และ 7.3.5.3 7.3.15 ส่ วนที่มีไฟฟ้าในบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ 2 ต้ องไม่มีสว่ นที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่ง 7.3.16 การต่ อลงดินในบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ 2 การเดินสายและบริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 และ 2 ต้ องต่อลงดินตามบทที่ 4 และเพิ่มเติมดังนี ้ 7.3.16.1 การต่ อฝาก การใช้ บชุ ชิงพร้ อมแป้นเกลียวล็อก หรื อใช้ แป้นเกลียว ล็อกคู่ ไม่ถือว่า เป็ นการต่อฝากเพียงพอ การต่อฝากต้ องใช้ สายต่อฝาก พร้ อมเครื่ องประกอบที่เหมาะสมหรื อใช้ วิธีการต่อฝากแบบอื่นซึ่งได้ รับการรับรองแล้ ว ต้ องมีการต่อฝากสําหรับช่องเดินสาย, เครื่ อง ประกอบ, กล่อง เครื่ องห่อหุ้ม ที่อยู่ระหว่างบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 กับจุดต่อลงดินของ บริ ภณ ั ฑ์ประธานหรื อจุดต่อลงดินของระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก ยกเว้ น วิ ธีการต่อฝาก โดยเฉพาะให้จดั ทําทีจ่ ุดต่อลงดิ นของเครื ่องปลดวงจรของอาคาร ตามข้อ 4.3 เท่านัน้ และต้องจัด ให้เครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นของวงจรย่อยติ ดตัง้ อยู่ดา้ นโหลดของเครื ่องปลดวงจร

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-25

7.3.16.2 ชนิดของตัวนําสําหรั บต่ อลงดินของบริภณ ั ฑ์ ในที่ซงึ่ อนุญาตให้ ใช้ ทอ่ โลหะอ่อนงอ ได้ หรื อท่อโลหะอ่อนกันของเหลวตามข้ อ 7.3.4.2 และเชื่อได้ ว่ามีการต่อลงดินที่สมบูรณ์เพียงจุด เดียว ต้ องจัดให้ มีสายต่อฝากภายในหรื อภายนอกขนานไปกับแต่ละท่อร้ อยสายและต้ องเป็ นไป ตามข้ อ 4.15.6 7.3.17 การป้องกันเสิร์จ (Surge Protection) 7.3.17.1 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ หรื อกับดักเสิร์จ หรื อ คาปาซิเตอร์ จะรวมทั้งการติดตั้งและการต่อสายต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน และต้ องติดตั้งใน เครื่ องห่อหุ้มซึง่ ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 การใช้ คาปาซิเตอร์ เพื่อป้องกันเสิร์จต้ องเป็ นชนิดที่ออกแบบเพื่อใช้ งานเฉพาะ 7.3.17.2 บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ หรื อกับดักเสิร์จ ต้ อง เป็ นชนิดที่ไม่ทําให้ เกิดอาร์ ก เช่น แบบ เมทัลออกไซด์วาริ สเตอร์ (MOV) แบบปิ ดผนึก และคาปา ซิเตอร์ แบบป้องกันเสิร์จ และต้ องเป็ นชนิดที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ อนุญาตให้ ใช้ เครื่ องห่อหุ้มสําหรับใช้ งานทัว่ ไปได้ การป้องกันเสิร์จที่เป็ นชนิดอื่นนอกเหนือจากที่ กล่าวมาข้ างต้ นต้ องติดตั ้งในเครื่ องห่อหุ้มที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 7.3.18 วงจรย่ อยหลายสาย ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 แต่ละวงจรย่อยแบบ 1 เฟส ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของวงจรย่อยหลายสายต้ องติดตังตั ้ วนําที่ต่อลงดินแยกต่างหาก ยกเว้ น ในที ซ่ ึ่ งใช้อปุ กรณ์ ปลดวงจรที ส่ ามารถปลดตัวนําเส้นไฟทุกเส้นของ วงจรย่อยหลายสายออกได้ พร้อมกัน

7.4 บริเวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.1 ทั่วไป กฎทัว่ ไปของมาตรฐานนีใ้ ช้ กับการเดินสายไฟฟ้าและบริ ภัณฑ์ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 ตามข้ อ 7.2.3 ยกเว้ น ตามทีไ่ ด้ปรับปรุงในข้อนี ้ คําว่า “ทนฝุ่ นที่จุดระเบิดได้ ” ในข้ อนี ้หมายถึง ถูกห่อหุ้มในลักษณะที่ป้องกันฝุ่ นไม่ให้ เข้ าได้ ใน ที่ซึ่งมี การติดตั้งและป้องกันตามมาตรฐานนี จ้ ะไม่ทําให้ อาร์ ก ประกายไฟ หรื อความร้ อนที่ เกิดขึ ้นหรื อปล่อยออกมาจาก ภายในเครื่ องห่อหุ้มเป็ นสาเหตุของการจุดระเบิด ฝุ่ นที่สะสมอยู่ ภายนอกหรื อที่ลอยอยูใ่ นบรรยากาศหรื อในบริ เวณใกล้ เคียง

7-26

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

บริ ภณ ั ฑ์ที่ติดตั้งในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 เมื่อใช้ งานเต็มที่ต้องไม่ทําให้ อณ ุ หภูมิพื ้นผิวสูง เพียงพอที่จะทําให้ ฝนของสารอิ ุ่ นทรี ย์ที่สะสมอยูท่ ี่ผิวเกิดการแห้ งหรื อค่อยๆ กลายเป็ นถ่าน บริ ภัณฑ์ และการเดินสายที่กําหนดเป็ นชนิดทนการระเบิดตามบทที่ 1 ตอน ก ไม่สามารถ นํามาใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 ได้ นอกจากจะได้ รับการรับรองว่าใช้ ได้ ที่ซงึ่ มีฝนประเภทที ุ่ ่ 2 กลุ่ม E (ข้ อ 7.2.2.2.1) ในปริ มาณที่อาจเกิดอันตราย ถือว่าเป็ นบริ เวณ อันตรายแบบที่ 1 เท่านั้น 7.4.2 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ 7.4.2.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ต้องเป็ นดังต่อไปนี ้ 7.4.2.1.1 บรรจุของเหลวติดไฟได้ หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ซึ่งบรรจุของเหลวติดไฟได้ ต้ องติดตั้งในห้ องที่ได้ รับการรับรองแล้ วตามข้ อ 6.4 ตอน ค เท่านั้น และมีข้อกําหนดเพิ่มเติมดังนี ้ ก) ประตูหรื อช่องเปิ ดเข้ าสู่บริ เวณอันตรายแบบที่ 1 ต้ องมีประตูกนั ไฟซึ่งปิ ดเอง ได้ ทั้งสองด้ านของผนัง ประตูต้องติดตั้งให้ พอดีและมีการปิ ดผนึกที่เหมาะสม (เช่น weather stripping) เพื่อให้ ฝนเข้ ุ่ าได้ น้อยที่สดุ ข) ช่องระบายอากาศและท่อต้ องต่อออกสูอ่ ากาศภายนอกเท่านั้น ค) ต้ องจัดให้ มีช่องเปิ ดสําหรับลดความดันที่เหมาะสมต่อออกสูอ่ ากาศภายนอก 7.4.2.1.2 ไม่ บรรจุของเหลวติดไฟได้ หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ซงึ่ ไม่บรรจุของเหลวติด ไฟได้ ต้องเป็ นดังต่อไปนี ้ ก) ติดตั้งในห้ องที่เป็ นไปตามข้ อ 6.4 ตอน ค หรื อ ข) เป็ นชุดประกอบสําเร็ จรวมทั้งขั้วต่อสายที่ได้ รับการรั บรองแล้ ว สําหรั บใช้ ใน บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.2.1.3 ฝุ่ นโลหะ ห้ ามติดตั้ง หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ในสถานที่ซึ่งมีฝนแมกนี ุ่ เซียม อะลูมิเนียม หรื อผงอะลูมิเนียมบรอนซ์ หรื อฝุ่ นโลหะอื่นซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นอันตรายคล้ ายกัน 7.4.2.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ต้องเป็ นดังต่อไปนี ้ ก) บรรจุของเหลวติดไฟได้ หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ที่บรรจุของเหลวติดไฟได้ ต้ องติดตังในห้ ้ องที่เป็ นไปตามข้ อ 6.4 ตอน ค ข) หม้ อแปลงชนิดแห้ ง หม้ อแปลงชนิดแห้ งต้ องติดตั้งในห้ องหม้ อแปลงและ ต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-27

1) ขดลวดและขั ้วต่อสายของหม้ อแปลงต้ องอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มโลหะโดยไม่มี ช่องระบายหรื อช่องเปิ ดอื่นๆ 2) แรงดันใช้ งานที่ระบุไม่เกิน 1,000 โวลต์ 7.4.3 วิธีการเดินสาย วิธีการเดินสายต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.3.1 และ 7.4.3.2 ดังนี ้ 7.4.3.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 การเดินสายต้ องใช้ ทอ่ โลหะหนาแบบมีเกลียว ท่อโลหะหนาปานกลางแบบมีเกลียว กรณีสายเคเบิลชนิด MI เครื่ องประกอบ และการทําปลายสายต้ องเป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรอง แล้ วสําหรับสถานที่นั้น สายเคเบิลชนิด MI ต้ องติดตั้งในลักษณะที่ไม่เกิดแรงดึงที่เครื่ องประกอบ ปลายสาย 7.4.3.1.1 เครื่ องประกอบและกล่ อง เครื่ องประกอบและกล่องต้ องมีที่ต่อแบบเกลียว สําหรับต่อกับท่อหรื อขั้วปลายสายเคเบิล ต้ องมีฝาปิ ดมิดชิดและไม่มีช่องเปิ ด (เช่นรู สําหรับยึด สกรู) ซึง่ ฝุ่ นอาจเข้ าได้ หรื อประกายไฟหรื อวัตถุที่เผาไหม้ ผา่ นออกมาได้ เครื่ องประกอบและกล่อง ซึ่งใช้ เป็ นที่ต่อแยกสาย ต่อเชื่อมสาย หรื อขั ้วต่อสาย หรื อใช้ ในที่ซึ่งมีฝุ่นที่ลกุ ไหม้ ได้ ต้ องเป็ น ชนิดที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.3.1.2 การต่ อแบบอ่ อนตัวได้ ในที่ซงึ่ มีความจําเป็ นต้ องใช้ การต่อแบบอ่อนตัวได้ ต้องใช้ ข้ อต่ออ่อนงอได้ ชนิดกันฝุ่ น ท่อโลหะอ่อนงอได้ กนั ของเหลวและเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรอง แล้ ว ท่ออโลหะอ่อนงอได้ กนั ของเหลวและเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ ว หรื อสายอ่อนที่ ได้ รับการรับรองสําหรับใช้ งานหนักพิเศษและเครื่ องประกอบสาย การใช้ สายอ่อนต้ องเป็ นไปตาม ข้ อ 7.3.11 ในที่ซึ่งการต่อแบบอ่อนตัวได้ สมั ผัสกับนํ ้ามันหรื อสภาวะที่กัดกร่ อนอื่น ฉนวนของ ตัวนําต้ องเป็ นชนิดที่ได้ รับการรั บรองสําหรั บสภาวะดังกล่าวหรื อต้ องมีการป้องกันโดยการใช้ เปลือกหุ้มที่เหมาะสม 7.4.3.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 การเดินสายใช้ ตาม ข้ อ 7.4.3.1 หรื อต้ องใช้ ท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อโลหะบาง รางเดินสายชนิดกันฝุ่ น สายเคเบิลชนิด MC หรื อ MI พร้ อมทั้งเครื่ องประกอบปลายสายที่ได้ รับการรับรองแล้ ว สาย เคเบิลชนิด PLTC และ PLTC-ER หรื อ สายเคเบิลชนิด ITC และ ITC-ER ติดตั้งในรางเคเบิลได้ สายเคเบิลชนิด MC, MI หรื อ TC ติดตั้งแบบชั้นเดียวในรางเคเบิลแบบบันได หรื อแบบด้ านล่างมี ช่องระบายอากาศ และมี ช่องว่างระหว่างสายเคเบิลไม่น้อยกว่าเส้ นผ่านศูนย์ กลางของสาย เคเบิลเส้ นใหญ่ที่สดุ

7-28

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

ยกเว้ น 1) การเดิ นสายในวงจรทีไ่ ม่ก่อให้เกิ ดพลังงานพอทีจ่ ะทําให้เกิ ดการจุดระเบิ ดได้ อนุญาตให้ใช้วิธีเดิ นสายสําหรับสถานทีธ่ รรมดาได้ 2) การติ ดตัง้ ท่อร้อยสายใต้ดิน อนุญาตให้ใช้ท่อร้อยสายอโลหะ หุม้ คอนกรี ตหนาไม่ น้อยกว่า 50 มม.(2 นิ้ ว) และความลึกต้องไม่นอ้ ยกว่า 0.60 เมตร 7.4.3.2.1 รางเดินสาย เครื่ องประกอบและกล่ อง รางเดินสาย เครื่ องประกอบและกล่อง ที่ใช้ ในการต่อแยกสาย ต่อเชื่อมสายหรื อเข้ าขั้วปลายสาย ต้ องออกแบบให้ ฝนเข้ ุ่ าได้ น้อยที่สดุ และเป็ นดังต่อไปนี ้ ก) ต้ องมีที่สวมป้องกัน ฝาปิ ดมิดชิด หรื อวิธีการอื่นเพื่อป้องกันไม่ให้ ประกายไฟ หรื อวัตถุที่ลกุ ไหม้ ผา่ นออกมา ข) ต้ องไม่มีช่องเปิ ด (เช่น รูสําหรับยึดสกรู) ภายหลังการติดตั้ง เพื่อไม่ให้ ประกาย ไฟ หรื อ วัต ถุ ที่ ลุก ไหม้ ผ่ า นออกมาจุ ด ระเบิ ด วัต ถุ ลุก ไหม้ได้ ที่ อ ยู่ บ ริ เ วณ ใกล้ เคียง 7.4.3.2.2 การต่ อแบบอ่ อนตัวได้ ในที่ซึ่งมีความจําเป็ นต้ องใช้ การต่อแบบอ่อนตัวได้ ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อ 7.4.3.1.2 ข้ างต้ น 7.4.4 การปิ ดผนึกในบริเวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 และ 2 ในที่ซึ่งช่องเดินสายต่ออยู่ระหว่างเครื่ องห่อหุ้มชนิดทนฝุ่ นที่จดุ ระเบิดได้ กบั ชนิดอื่น ต้ องจัดให้ มี วิธีการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันไม่ให้ ฝนเข้ ุ่ าไปในเครื่ องห่อหุ้มชนิดทนฝุ่ น ผ่านทางช่องเดินสาย โดยใช้ วิธีใดวิธีหนึง่ ดังต่อไปนี ้ 7.4.4.1 การปิ ดผนึกที่ถาวรและมีประสิทธิผล 7.4.4.2 ช่องเดินสายติดตั้งในแนวระดับและมีความยาวไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร (10 ฟุต) 7.4.4.3 ช่องเดินสายติดตั้งในแนวดิ่งและมีความยาวไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร (5 ฟุต) ต่อจาก ด้ านล่างของเครื่ องห่อหุ้มชนิดทนฝุ่ นที่จดุ ระเบิดได้ ในกรณีที่ช่องเดินสายต่ออยู่ระหว่างเครื่ องห่อหุ้มชนิดทนฝุ่ นที่จุดระเบิดได้ กบั เครื่ องห่อหุ้มที่ไม่ อยูใ่ นบริ เวณอันตราย ไม่บงั คับให้ มีการปิ ดผนึก อุปกรณ์ปิดผนึกต้ องเข้ าถึงได้ และสารปิ ดผนึกไม่จําเป็ นต้ องเป็ นวัสดุกนั ระเบิด 7.4.5 สวิตช์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิ วส์ 7.4.5.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิวส์ต้องเป็ นดังนี ้

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-29

7.4.5.1.1 ชนิดที่ต้องการ สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิ วส์ รวมทั้ง สวิตช์กดปุ่ ม รี เลย์ และอุปกรณ์อื่นที่คล้ ายกัน ที่ใช้ สําหรับตัดกระแสในการทํางานปกติหรื อติดตั ้ง ในที่ ซึ่งมี ฝุ่นที่ลุกไหม้ ได้ และมี คุณสมบัติเป็ นตัวนํ าไฟฟ้า ต้ องมี เครื่ องห่อหุ้มชนิ ดทนฝุ่ นที่จุด ระเบิดได้ ซึง่ ได้ รับการรับรองว่าเป็ นชุดประกอบสําเร็ จสําหรับใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.5.1.2 สวิตช์ แยกวงจร สวิตช์ปลดวงจรและสวิตช์แยกวงจร แบบไม่มีฟิวส์ซึ่งไม่ได้ ใช้ สําหรั บตัดกระแสและไม่ได้ ติดตั้งอยู่ในที่ซึ่งมี ฝุ่นที่เป็ นตัวนํ าไฟฟ้าต้ องมี เครื่ องห่อหุ้มโลหะที่ ออกแบบให้ ฝนเข้ ุ่ าได้ น้อยที่สดุ และต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้ ก) ต้ องมีที่สวมป้องกัน ฝาปิ ดมิดชิดหรื อวิธีการอื่นเพื่อป้องกันไม่ให้ ประกายไฟ หรื อวัตถุที่ลกุ ไหม้ ผา่ นออกมา ข) ต้ องไม่มีช่องเปิ ด (เช่น รูสําหรับยึดสกรู) ภายหลังการติดตั้งเพื่อไม่ให้ ประกาย ไฟหรื อวัตถุที่ลกุ ไหม้ ผ่านออกมาจุดระเบิดฝุ่ นที่สะสมอยู่ภายนอกหรื อวัตถุที่ ลุกไหม้ ได้ ที่อยูใ่ นบริ เวณใกล้ เคียง 7.4.5.1.3 ฝุ่ นโลหะ ในสถานที่ซึ่งมีฝนแมกนี ุ่ เซียม อะลูมิเนียม ผงอะลูมิเนียมบรอนซ์ หรื อ ฝุ่ นโลหะอื่นที่มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นอันตรายคล้ ายกัน สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิวส์ ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มซึง่ ได้ รับการรับรองเฉพาะสําหรับสถานที่ดงั กล่าว 7.4.5.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 เครื่ องห่อหุ้มสําหรับ สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิ วส์ รวมทั้งสวิตช์กด ปุ่ ม รี เลย์ และอุปกรณ์อื่นที่คล้ ายกันต้ องเป็ นชนิดกันฝุ่ น 7.4.6 หม้ อแปลงควบคุมและตัวต้ านทาน 7.4.6.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 หม้ อ แปลงควบคุม ขดลวดโซลินอยด์ ขดลวดอิ มพี แดนซ์ ตัวต้ า นทาน และอุปกรณ์ ป้ องกัน กระแสเกิ นอื่ นๆ หรื อกลไกสวิตช์ ที่ใช้ ประกอบต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มชนิดทนฝุ่ นที่จุดระเบิดได้ ซึ่ง ได้ รับกาารรับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 ห้ ามติดตั้งหม้ อแปลงควบคุม ขดลวด อิมพีแดนซ์ ตัวต้ านทานในสถานที่ซงึ่ มีฝนแมกนี ุ่ เซียม อะลูมิเนียม ผงอะลูมิเนียมบรอนซ์ หรื อฝุ่ น โลหะอื่นที่มีคณ ุ สมบัติเป็ นอันตรายคล้ ายกัน ถ้ าไม่มีเครื่ องห่อหุ้มซึง่ ได้ รับรองโดยเฉพาะสําหรับ บริ เวณอันตรายดังกล่าว 7.4.6.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 หม้ อแปลงควบคุมและตัวต้ านทานต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้

7-30

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.4.6.2.1 กลไกสวิตช์ กลไกสวิตช์ (รวมทั ้งอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน) ซึง่ ใช้ ร่วมกับหม้ อ แปลงควบคุม ขดลวดโซลินอยด์ ขดลวดอิมพีแดนซ์และตัวต้ านทานต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มชนิดกัน ฝุ่ น 7.4.6.2.2 ขดลวด ในกรณีที่ไม่ได้ ติดตั้งอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มเดียวกันกับกลไกสวิตช์ หม้ อ แปลงควบคุม ขดลวดโซลิ-นอยด์ และขดลวดอิมพีแดนซ์ ต้ องจัดให้ มีเครื่ องห่อหุ้มโลหะปิ ดมิดชิด และไม่มีช่องระบายอากาศ 7.4.6.2.3 ตัวต้ านทาน ตัวต้ านทานและอุปกรณ์ความต้ านทาน ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มชนิดทน ฝุ่ นที่จดุ ระเบิดได้ และได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 ยกเว้ น ในกรณี ที่ อุณหภูมิใช้งานสูงสุดของตัวต้านทานไม่เกิ น 120°C อนุญาตให้ตวั ต้านทานแบบปรับค่าไม่ได้ หรื อตัวต้านทานซึ่ งเป็ นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ เดิ นเครื ่องอัตโนมัติมีเครื ่องห่อหุม้ ตามข้อ 7.4.6.2.2 ข้างต้นได้ 7.4.7 มอเตอร์ และเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า 7.4.7.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า และเครื่ องจักรกลไฟฟ้า ต้ องเป็ นดังนี ้ 7.4.7.1.1 ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 หรื อ 7.4.7.1.2 เป็ นแบบหุ้มปิ ดหมดมีทอ่ ระบายอากาศและมีอณ ุ หภูมิจํากัดไว้ ตามข้ อ 7.3.1 7.4.7.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า และเครื่ องจักรกลไฟฟ้าอื่นๆ ต้ องเป็ นชนิดหุ้มปิ ดหมดไม่มีการระบาย อากาศ, หุ้มปิ ดหมดมีท่อระบายอากาศ, หุ้มปิ ดหมดมีพดั ลมระบายความร้ อน หรื อเป็ นชนิดทน ฝุ่ นที่ จุด ระเบิ ด ได้ อุณ หภูมิ สูง สุด ของพื น้ ผิ ว เมื่ อ จ่ า ยโหลดเต็ ม ที่ ต้ อ งเป็ นไปตามข้ อ 7.2.3.5 สําหรับการทํางานตามปกติในที่โล่ง (ไม่มีฝนปกคลุ ุ่ ม) และไม่มีช่องเปิ ดออกภายนอก 7.4.8 ท่ อระบายอากาศ ท่อระบายอากาศสําหรับมอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า เครื่ องจักรกลไฟฟ้าหรื อเครื่ องห่อหุ้มของ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต้ องเป็ นโลหะหนาไม่น้อยกว่า 0.5 มม. หรื อเป็ นวัสดุที่ไม่ติดไฟที่เทียบเท่าและ ต้ องเป็ นดังนี ้ ก) ต่อตรงไปนอกอาคารซึง่ มีอากาศสะอาด ข) ปลายท่อด้ านนอกต้ องปิ ดด้ วยตาข่ายเพื่อป้องกันไม่ให้ สตั ว์เล็กและนกเข้ า และ ค) ต้ องมี การป้องกันความเสียหายทางกายภาพ และป้องกันการเกิ ดสนิมหรื อการผุ กร่อน จากสาเหตุอื่น ท่อระบายอากาศต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.8.1 และ 7.4.8.2 ต่อไปนี ้

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-31

7.4.8.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ท่อระบายอากาศรวมทั้งการต่อเข้ ากับมอเตอร์ หรื อเข้ ากับเครื่ องห่อหุ้มชนิดทนฝุ่ นที่จดุ ระเบิดได้ ของบริ ภณ ั ฑ์อื่น ต้ องเป็ นชนิดกันฝุ่ นตลอดความยาวตะเข็บและข้ อต่อของท่อโลหะต้ องเป็ นดังข้ อ ใดข้ อหนึง่ ต่อไปนี ้ ก) ยึดด้ วยหมุดและบัดกรี ข) ยึดด้ วยสลักเกลียวและบัดกรี ค) เชื่อม ง) วิธีอื่นๆ ที่มีประสิทธิผลทําให้ กนั ฝุ่ นได้ 7.4.8.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ุ่ าไปในเครื่ องห่อหุ้ม ท่อระบายอากาศและการต่อต้ องทําให้ แน่นหนาพอที่จะป้องกันไม่ให้ ฝนเข้ หรื อในบริ ภณ ั ฑ์ที่ต้องการระบายอากาศได้ มากเกินไป และต้ องป้องกันไม่ให้ ประกายไฟ เปลวไฟ หรื อวัตถุที่ลกุ ไหม้ ผ่านออกมาซึ่งอาจทําให้ เกิดการจุดระเบิดฝุ่ นที่สะสมอยู่ หรื อวัตถุติดไฟที่อยู่ ใกล้ เคียงได้ การต่อท่อโลหะ อนุญาตให้ ใช้ วิธีเชื่ อมหรื อต่อเป็ นตะเข็บและยํา้ ด้ วยหมุด จุดที่ ต้ องการให้ มีความอ่อนตัวอนุญาตให้ ใช้ ข้อต่อเลื่อนแบบสวมแน่นพอดีได้ 7.4.9 บริภณ ั ฑ์ ใช้ สอย 7.4.9.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยทุกชนิดต้ องเป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองสําหรับสถานที่ประเภทที่ 2 ในที่ซงึ่ มีฝนุ่ แมกนี เซี ย ม อะลูมิ เนี ยม ผงอะลูมิ เ นี ยมบรอนซ์ หรื อ ฝุ่ นโลหะอื่ นที่ มี คุณ สมบัติเป็ นอันตราย ั ฑ์ที่ใช้ ต้องได้ รับการรับรองเป็ นการเฉพาะ คล้ ายกัน บริ ภณ 7.4.9.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยทุกชนิดต้ องเป็ นไปดังนี ้ 7.4.9.2.1 เครื่ องทําความร้ อน บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยที่ทําให้ เกิดความร้ อนด้ วยไฟฟ้าต้ องเป็ นแบบ ที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.9.2.2 มอเตอร์ มอเตอร์ ของบริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยต้ องเป็ นไปตามข้ อ 5.4.7.2 7.4.9.2.3 สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ และฟิ วส์ เครื่ องห่อหุ้มสําหรับสวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ และฟิวส์ต้องเป็ นชนิดกันฝุ่ น 7.4.9.2.4 หม้ อแปลง ขดลวดอิมพีแดนซ์ และตัวต้ านทาน หม้ อแปลง ขดลวดโซลินอยด์ ขดลวดอิมพีแดนซ์ และตัวต้ านทานต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.6.2

7-32

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.4.10 ดวงโคม ดวงโคมต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.10.1 และ 7.4.10.2 ต่อไปนี ้ 7.4.10.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ดวงโคมแบบยึดกับที่และแบบหยิบยกได้ ต้องเป็ นดังนี ้ 7.4.10.1.1 ดวงโคมที่ได้ รับการรั บรองแล้ ว ดวงโคมต้ องเป็ นแบบซึ่งได้ รับการรั บรอง สําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 และต้ องมีเครื่ องหมายอย่างชัดเจน แสดงกําลังไฟฟ้าสูงสุดที่ ได้ รับการรับรอง ในที่ซงึ่ มีฝนแมกนี ุ่ เซียม อะลูมิเนียม ผงอะลูมิเนียมบรอนซ์ หรื อฝุ่ นโลหะอื่นที่มี คุณสมบัตเิ ป็ นอันตรายคล้ ายกัน ดวงโคมแบบยึดกับที่หรื อดวงโคมแบบหยิบยกได้ และบริ ภณ ั ฑ์ ประกอบทั ้งหมดต้ องได้ รับการรับรองเป็ นการเฉพาะ 7.4.10.1.2 ความเสียหายทางกายภาพ ดวงโคมต้ องมีการป้องกันความเสียหายทาง กายภาพ โดยการกั ้นหรื อโดยตําแหน่งติดตั้งที่เหมาะสม 7.4.10.1.3 ดวงโคมแขวน ดวงโคมแขวนต้ องยึดแขวนด้ วยก้ านซึง่ ทําด้ วยท่อโลหะหนา หรื อ ท่อโลหะหนาปานกลางมีเกลียว โดยโซ่ซึ่งมีเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ ว หรื อโดยวิธีอื่น ที่ได้ รับการรับรองแล้ ว 7.4.10.1.4 ที่รองรั บ กล่อง กล่องประกอบสําเร็ จ หรื อเครื่ องประกอบสําหรับรองรับดวงโคม ต้ องได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.10.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ดวงโคมต้ องเป็ นดังนี ้ 7.4.10.2.1 ดวงโคมแบบหยิบยกได้ ดวงโคมแบบหยิบยกได้ ต้องได้ รับการรับรองสําหรับ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 และต้ องมีเครื่ องหมายอย่างชัดเจนแสดงกําลังไฟฟ้าสูงสุด ที่ได้ รับการรับรอง 7.4.10.2.2 ดวงโคมแบบยึดกับที่ ดวงโคมแบบยึดกับที่ซงึ่ ไม่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณ อันตรายประเภทที่ 2 ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มหลอดไฟและขั้วรับหลอด ซึง่ ออกแบบให้ ฝนเข้ ุ่ าไปเกาะ หลอดไฟได้ น้อยที่สดุ และต้ องสามารถป้องกันไม่ให้ ประกายไฟ วัตถุติดไฟหรื อโลหะร้อนผ่าน ออกมาได้ ดวงโคมต้ องมีเครื่ องหมายที่ชัดเจนแสดงกํ าลังไฟฟ้าสูงสุดของหลอดไฟที่ไม่ทําให้ พื ้นผิวเปิ ดโล่งมีอณ ุ หภูมิสงู เกินกว่าที่กําหนดในข้ อ 7.2.3.5 เมื่อใช้ งานปกติ 7.4.10.2.3 ความเสียหายทางกายภาพ ดวงโคมแบบยึดกับที่ต้องมี การป้องกันความ เสียหายทางกายภาพโดยการกั้นหรื อโดยตําแหน่งติดตั้งที่เหมาะสม

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-33

7.4.10.2.4 ดวงโคมแขวน ดวงโคมแขวนต้ องยึดด้ วยก้ านซึ่งทําด้ วยท่อโลหะหนา หรื อท่อ โลหะหนาปานกลางมีเกลียว โดยโซ่ซึ่งมีเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ ว หรื อโดยวิธีอื่นซึ่ง ได้ รับการรับรองแล้ ว 7.4.10.2.5 หลอดไฟฟ้าชนิดปล่ อยประจุ บริ ภณ ั ฑ์สําหรับจุดไส้ หลอดและควบคุมหลอด ปล่อยประจุ ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.6.2 7.4.11 สายอ่ อนในบริเวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 และ 2 สายอ่อนที่ใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 ต้ องเป็ นดังนี ้ ก) เป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับใช้ งานหนักพิเศษ ข) มีตวั นําสําหรับต่อลงดินร่วมอยูด่ ้ วย ค) ต่อกับขั้วต่อสาย หรื อกับสายที่จ่ายไฟฟ้าให้ ในลักษณะที่ได้ รับการรับรองแล้ ว ง) มีการรองรับโดยใช้ ตวั จับยึดหรื อวิธีที่เหมาะสมซึ่งไม่ทําให้ เกิดแรงดึงที่ขั้วปลาย สาย และ จ) มี การปิ ดผนึกที่ เหมาะสมเพื่ อป้ องกัน ไม่ให้ ฝุ่นเข้ าไปได้ ตรงจุดที่ สายอ่ อนเข้ า กล่องหรื อเครื่ องประกอบชนิดทนฝุ่ นที่จดุ ระเบิดได้ 7.4.12 เต้ ารั บและเต้ าเสียบพร้ อมสาย 7.4.12.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 เต้ ารับและเต้ าเสียบพร้อมสายต้ องเป็ นแบบมีที่สําหรับต่อตัวนําสําหรับต่อลงดินของสายอ่อน และต้ องได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.12.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 เต้ ารับและเต้ าเสียบพร้อมสายต้ องเป็ นแบบมีที่สําหรับต่อตัวนําสําหรับต่อลงดินของสายอ่อน และต้ องเป็ นแบบซึ่งไม่สามารถถอดออกหรื อเสียบเข้ าวงจรจ่ายไฟได้ ถ้ามีส่วนที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่ง อยู่ 7.4.13 ระบบสัญญาณ ระบบสัญญาณเตือน ระบบควบคุมระยะไกล ระบบสื่อสาร เครื่ องวัด เครื่ องมือวัดและรี เลย์ 7.4.13.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ระบบสัญญาณ ระบบสัญญาณเตือน ระบบควบคุมระยะไกล ระบบสื่อสาร เครื่ องวัด เครื่ องมือ วัดและรี เลย์ ต้ องเป็ นดังนี ้ 7.4.13.1.1 วิธีการเดินสาย วิธีการเดินสายต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.3.1

7-34

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.4.13.1.2 หน้ าสัมผัส สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ รี เลย์ คอนแทกเตอร์ ฟิ วส์ และหน้ าสัมผัส ตัดกระแสของกริ่ ง แตร หวูด ไซเรน หรื ออุปกรณ์อื่นซึ่งเมื่อทํางานอาจเกิดประกายไฟ หรื ออาร์ ก ได้ ต้ องติดตั้งในเครื่ องห่อหุ้มซึง่ ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 ยกเว้ น ใน กรณี ทีห่ น้าสัมผัสตัดกระแสซึ่ งจุ่มอยู่ในนํ้ามัน หรื อการตัดกระแสเกิ ดขึ้ นในช่องปิ ดผนึกที ฝ่ นเข้ ุ่ า ไม่ได้ อนุญาตให้ใช้เครื ่องห่อหุม้ สําหรับใช้งานทัว่ ไปได้ 7.4.13.1.3 ตัวต้ านทานและบริ ภัณฑ์ ท่ ีคล้ ายกัน ตัวต้ านทาน หม้ อแปลง โช้ ก เครื่ องเรี ยง กระแส หลอดเทอร์ มิโอนิก และบริ ภณ ั ฑ์ซงึ่ ทําให้ เกิดความร้ อนชนิดอื่นต้ องติดตั ้งในเครื่ องห่อหุ้ม ที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 ยกเว้ น ในกรณี ทีต่ วั ต้านทานและ บริ ภณ ั ฑ์ ที่คล้ายกันจุ่มอยู่ในนํ้ ามันหรื ออยู่ในช่ องปิ ดผนึ กที ่ฝนเข้ ุ่ าไม่ ได้ อนุญาตให้ใช้เครื ่ อง ห่อหุม้ สําหรับใช้งานทัว่ ไปได้ 7.4.13.1.4 เครื่ องจักรกล มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าและเครื่ องจักรกลไฟฟ้าแบบอื่นๆ ต้ อง เป็ นไปตามข้ อ 7.4.7.1 7.4.13.1.5 ฝุ่ นที่เป็ นตัวนําไฟฟ้าและลุกไหม้ ได้ ในที่ซงึ่ มีฝนที ุ่ ่เป็ นตัวนําไฟฟ้าและลุกไหม้ ได้ การเดินสายและบริ ภณ ั ฑ์ต้องได้ รับการรับรองสําหรับใช้ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 7.4.13.1.6 ฝุ่ นโลหะ ในที่ซงึ่ อาจมีฝนุ่ แมกนีเซียม อะลูมิเนียม ผงอะลูมิเนียมบรอนซ์ หรื อฝุ่ น โลหะอื่นที่มีคณ ุ สมบัติเป็ นอันตรายคล้ ายกัน บริ ภณ ั ฑ์และเครื่ องสําเร็ จต้ องได้ รับการรับรองเป็ น การเฉพาะ 7.4.13.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 2 ระบบสัญญาณ ระบบสัญญาณเตือน ระบบควบคุมระยะไกล ระบบสื่อสาร เครื่ องวัด เครื่ องมือ วัดและรี เลย์ ต้ องเป็ นดังนี ้ 7.4.13.2.1 หน้ าสัมผั ส เครื่ องห่อหุ้มของหน้ าสัมผัสต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.13.1.2 ข้ างต้ น หรื อหน้ าสัมผัสต้ องอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มโลหะปิ ดแน่นซึ่งฝุ่ นเข้ าได้ น้อยที่สดุ และมีฝาปิ ด แน่นโดยไม่มีช่องเปิ ดภายหลังการติดตั้งซึง่ ประกายไฟหรื อวัตถุที่ติดไฟผ่านออกมาได้ ยกเว้ น วงจรซึ่ งในสภาวะปกติ ไม่ทําให้เกิ ดพลังงานเพียงพอที จ่ ะจุดระเบิ ดฝุ่ นที เ่ กาะอยู่ ยอมให้ใช้เครื ่อง ห่อหุม้ สําหรับใช้งานทัว่ ไปได้ 7.4.13.2.2 หม้ อแปลงและบริ ภัณฑ์ ท่ ีคล้ ายกัน ขดลวดและขั ้วต่อสายของหม้ อแปลง โช้ กและบริ ภณ ั ฑ์ที่คล้ ายกันต้ องอยูใ่ นเครื่ องห่อหุ้มโลหะปิ ดแน่นโดยไม่มีช่องระบายอากาศ 7.4.13.2.3 ตัวต้ านทานและบริภณ ั ฑ์ ท่ คี ล้ ายกัน ตัวต้ านทาน อุปกรณ์ความต้ านทานหลอด เทอร์ มิโอนิก เครื่ องเรี ยงกระแส และบริ ภณ ั ฑ์ที่คล้ ายกันต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.13.1.3 ข้ างต้ น

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-35

ยกเว้ น อนุญาตให้ใช้เครื ่องห่อหุม้ สําหรับใช้งานทัว่ -ไปสําหรับหลอดเทอร์ มิโอนิ ก ตัวต้านทาน ชนิ ดปรับค่าไม่ได้หรื อเครื ่องเรี ยงกระแสซึ่ งมี อณ ุ หภูมิใช้งานสูงสุดไม่เกิ น 120 °Cได้ 7.4.13.2.4 เครื่ องจักรกล มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้าและเครื่ องจักรกลไฟฟ้าอื่นๆ ต้ อง เป็ นไปตามข้ อ 7.4.7.2 7.4.13.2.5 วิธีการเดินสาย วิธีการเดินสาย ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.3.2 7.4.14 ส่ วนที่มีไฟฟ้าในบริเวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 และ 2 ต้ องไม่มีสว่ นที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่ง 7.4.15 การต่ อลงดิน ในบริเวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 และ 2 การเดินสายและบริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 และ 2 ต้ องต่อลงดิน ตามที่ กําหนดในบทที่ 4 และเพิ่มเติมดังนี ้ 7.4.15.1 การต่ อฝาก การใช้ บชุ ชิงพร้ อมแป้นเกลียวล็อก หรื อใช้ แป้นเกลียวล็อกคู่ ไม่ถือว่าเป็ น การต่อฝากเพียงพอ การต่อฝากต้ องใช้ สายต่อฝาก พร้ อมเครื่ องประกอบที่เหมาะสมหรื อใช้ วิธีการต่อฝากอื่นซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ต้ องมีการต่อฝากสําหรับช่องเดินสาย, เครื่ องประกอบ, กล่อง เครื่ องห่อหุ้ม ที่อยู่ระหว่างบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 กับจุดต่อลงดินของบริ ภัณฑ์ ประธานหรื อจุดต่อลงดินของระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก ยกเว้ น วิ ธีการต่อฝากโดยเฉพาะ ให้จดั ทําทีจ่ ุดต่อลงดิ นของเครื ่องปลดวงจรของอาคาร ตามข้อ 4.3 เท่านัน้ และต้องจัดให้เครื ่อง ป้ องกันกระแสเกิ นของวงจรย่อยติ ดตัง้ อยู่ดา้ นโหลดของเครื ่องปลดวงจร 7.4.15.2 ชนิดของตัวนําสําหรั บต่ อลงดินของบริ ภัณฑ์ ในที่ซงึ่ อนุญาตให้ ใช้ ท่อโลหะอ่อน ตามข้ อ 7.4.3 ต้ องมีสายต่อฝากภายในหรื อภายนอกขนานไปกับแต่ละท่อร้อยสายและต้ อง เป็ นไปตามข้ อ 4.15.6 7.4.16 การป้องกันเสิร์จในบริเวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบที่ 1 และ 2 ล่อฟ้า กับดักเสิร์จ รวมทั้งการติดตั้งและการต่อสาย ต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน สําหรับล่อฟ้า หรื อกับดักเสิร์จ ที่ติดตั้งในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 2 แบบ ที่ 1 ต้ องติดตั ้งในเครื่ องห่อหุ้มที่ เหมาะสม หากใช้ คาปาซิเตอร์ เพื่อป้องกันเสิร์จ ต้ องเป็ นชนิดที่ออกแบบเพื่อใช้ งานเฉพาะ

7.5 บริเวณอันตรายประเภทที่ 3 7.5.1 ทั่วไป กฎทัว่ ไปของมาตรฐานนีใ้ ช้ กับการเดินสายไฟฟ้าและบริ ภัณฑ์ ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 ตามข้ อ 7.2.4 ยกเว้ น ตามทีไ่ ด้ปรับปรุงในข้อนี ้

7-36

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

บริ ภณ ั ฑ์ที่ติดตั้งในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 ต้ องสามารถทํางานได้ เต็มพิกัด โดยไม่ทําให้ อุณหภูมิที่ผิวสูงพอที่จะทําให้ เกิดการแห้ งตัวมากเกินไป หรื อทําให้ เส้ นใย หรื อละอองที่สะสมตัว อยู่ค่อยๆ กลายเป็ นถ่าน อินทรี ย์สารที่กลายเป็ นถ่านหรื อแห้ งมากเกินไปนี ้สามารถจุดระเบิดขึ ้น เองได้ อุณหภูมิสงู สุดที่ผิวของบริ ภณ ั ฑ์ขณะทํางานตามปกติไม่มีโหลดเกินต้ องไม่เกิน 165 °C ส่วนบริ ภณ ั ฑ์ซงึ่ ตามภาวะการทํางานตามปกติอาจมีโหลดเกิน เช่น มอเตอร์ หรื อหม้ อแปลงกําลัง ต้ องมีอณ ุ หภูมิสงู สุดที่ผิวไม่เกิน 120 °C 7.5.2 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 หม้ อแปลงและคาปาซิเตอร์ ต้องเป็ นไปตามข้ อ 7.4.3.2 7.5.3 วิธีการเดินสาย วิธีการเดินสายต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.5.3.1 และ 7.5.3.2 ดังนี ้ 7.5.3.1 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 การเดินสายต้ องเดินในท่อโลหะหนา ท่ออโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อโลหะบาง ราง เดินสายชนิดกันฝุ่ น สายเคเบิลชนิด MCหรื อ MI และเครื่ องประกอบการทําปลายสาย ต้ องเป็ นชนิดที่ได้ รับการ รับรองแล้ ว สายเคเบิลชนิด PLTC และ PLTC-ER หรื อ สายเคเบิลชนิด ITC และ ITC-ER ให้ ติดตั้งในราง เคเบิลได้ สายเคเบิลชนิด MC, MI หรื อ TC ติดตั้งแบบชั้นเดียวในรางเคเบิลแบบบันได หรื อแบบด้ านล่างมี ช่องระบายอากาศได้ ยกเว้ น การเดิ นสายในวงจรทีไ่ ม่ก่อให้เกิ ดพลังงานพอทีจ่ ะทําให้เกิ ด การจุดระเบิ ดได้ อนุญาตให้ใช้วิธีเดิ นสายสําหรับสถานทีธ่ รรมดาได้ 7.5.3.1.1 กล่ องและเครื่ องประกอบ กล่องและเครื่ องประกอบต้ องเป็ นชนิดกันฝุ่ น 7.5.3.1.2 การต่ อแบบอ่ อนตัวได้ ในที่ซงึ่ มีความจําเป็ นต้ องใช้ การต่อแบบอ่อนตัวได้ ต้ อง ใช้ ข้อต่ออ่อนงอได้ ชนิดกันฝุ่ น ท่อโลหะอ่อนงอได้ กันของเหลวและเครื่ องประกอบที่ได้ รับการ รับรองแล้ ว ท่ออโลหะอ่อนงอได้ กนั ของเหลวและเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ ว หรื อสาย อ่อนที่เป็ นไปตามข้ อ 7.5.10 7.5.3.2 บริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 2 วิธีการเดินสายในบริ เวณอันตราย ประเภทที่ 3 แบบที่ 2 ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.5.3.1 ข้ างต้ น ยกเว้ น กรณี ทีส่ ถานทีด่ งั กล่าวใช้ เป็ นทีเ่ ก็บอย่างเดี ยว และไม่มีเครื ่องจักรกลใดๆ อนุญาตให้เดิ นสายเปิ ดบนลูกถ้วยได้ ในกรณี ที่

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-37

ตัวนําไม่ได้เดิ นอยู่ในช่องใต้หลังคา ต้องการมี การป้ องกันตัวนําจากความเสียหายทางกายภาพ ด้วย 7.5.4 สวิ ต ช์ เซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ เครื่ องควบคุ ม มอเตอร์ และฟิ วส์ ในบริ เ วณ อันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิวส์ รวมทั้งสวิตช์กดปุ่ ม รี เลย์ และอุปกรณ์ ที่คล้ ายกันต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มชนิดกันฝุ่ น 7.5.5 หม้ อแปลงควบคุม และตัวต้ านทาน ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 หม้ อ แปลง ขดลวดอิมพีแดนซ์ และตัวต้ านทานที่ ใช้ ร่วมกับบริ ภัณฑ์ สําหรั บควบคุมมอเตอร์ เครื่ อ งกํ าเนิ ด ไฟฟ้าและเครื่ อ งใช้ ไฟฟ้าต้ อ งมี เครื่ อ งห่อ หุ้ม ชนิ ดกันฝุ่ น และอุณหภูมิ ไม่ เกิ น ที่ กําหนดในข้ อ 7.5.1 7.5.6 มอเตอร์ และเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า และเครื่ องจักรกล ไฟฟ้าอื่นๆ ต้ องเป็ นชนิดหุ้มปิ ดหมดโดยไม่มีช่องระบายอากาศ หรื อชนิดหุ้มปิ ดหมดมีท่อระบาย อากาศ หรื อชนิดหุ้มปิ ดหมดมีพดั ลมระบายอากาศ 7.5.7 ท่ อระบายอากาศในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 ท่อระบายอากาศสําหรับ มอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า และเครื่ องจักรกลไฟฟ้าอื่นๆ หรื อสําหรับ เครื่ องห่อหุ้มของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ต้ องใช้ ท่อโลหะหนาไม่น้อยกว่า 0.5 มม. หรื อวัสดุที่ไม่ติดไฟ อย่างอื่นที่เทียบเท่าและต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้ 7.5.7.1 ต่อตรงไปนอกอาคารซึง่ มีอากาศสะอาด 7.5.7.2 ปลายท่อด้ านนอกต้ องปิ ดด้ วยตาข่ายเพื่อป้องกันไม่ให้ สตั ว์เล็กหรื อนกเข้ า 7.5.7.3 ต้ องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ และป้องกันการเกิดสนิมหรื อผุกร่ อน จากสาเหตุอื่น ท่อระบายอากาศรวมทั้งการต่อต้ องแน่นหนาเพียงพอ เพื่อป้องกันมิให้ เส้ นใยหรื อละอองเข้ าไป ในบริ ภณ ั ฑ์ระบายอากาศ หรื อเครื่ องห่อหุ้มและเพื่อป้องกันมิให้ ประกายไฟ เปลวไฟ วัตถุที่ตดิ ไฟ ผ่า นออกมาทํ า ให้ เ ส้ น ใย ละออง และวัต ถุติ ด ไฟที่ ส ะสมอยู่ใ นบริ เ วณใกล้ เ คี ย งเกิ ด ลุก ไหม้ อนุญาตให้ ใช้ ท่อโลหะ ตะเข็บล็อก และจุดต่อโดยการใช้ หมุดยํ ้าหรื อการเชื่อมได้ ส่วนข้ อต่อ เลื่อนแบบสวมแน่นพอดี อนุญาตให้ ใช้ ในที่ซงึ่ ต้ องการความอ่อนตัว เช่น จุดที่ตอ่ เข้ ามอเตอร์

7-38

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.5.8 บริภณ ั ฑ์ ใช้ สอยในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 7.5.8.1 เครื่ องทําความร้ อน บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยที่ทําให้ เกิดความร้ อนด้ วยไฟฟ้า ต้ องเป็ น แบบที่ได้ รับการรับรองสําหรับบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 7.5.8.2 มอเตอร์ มอเตอร์ ของบริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอย ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.5.6 7.5.8.3 สวิตช์ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิ วส์ สวิตช์ เซอร์ กิต เบรกเกอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และฟิวส์ ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.5.4 7.5.9 ดวงโคม ในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 7.5.9.1 ดวงโคมแบบยึดกับที่ ดวงโคมแบบยึดกับที่ ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มสําหรับหลอดไฟ และขั้วรับหลอดซึ่งออกแบบให้ เส้ นใย และละอองเข้ าไปภายในได้ น้อยที่สดุ และป้องกันไม่ให้ ประกายไฟ วัตถุที่ติดไฟ หรื อโลหะร้ อน ผ่านออกมาได้ ดวงโคมต้ องมีเครื่ องหมายที่ชดั เจนแสดง กําลังไฟฟ้าสูงสุดของหลอดที่ไม่ทําให้ พื ้นผิวเปิ ดโล่งมีอณ ุ หภูมิสงู กว่า 165 °C (329 °F) ในการ ใช้ งานปกติ 7.5.9.2 ความเสียหายทางกายภาพ ดวงโคมที่เปิ ดโล่งต่อความเสียหายทางกายภาพ ต้ อง ป้องกันด้ วยเครื่ องกั้นที่เหมาะสม 7.5.9.3 ดวงโคมแขวน ดวงโคมแขวนต้ อ งยึด แขวนด้ ว ยก้ า นซึ่ง ทํ า ด้ ว ยท่อ โลหะหนามี เกลียว ท่อ โลหะหนาปานกลางมีเกลียว ท่อโลหะบางมีเกลียวที่มีความหนาเทียบเท่า หรื อแขวน ด้ วยโซ่ซงึ่ มีเครื่ องประกอบที่ได้ รับการรับรองแล้ ว 7.5.9.4 ดวงโคมแบบหยิบยกได้ ดวงโคมแบบหยิบยกได้ ต้องมีด้ามจับและเครื่ องกั้นที่ แข็งแรง ขั ้วรับหลอดต้ องเป็ นแบบไม่มีสวิตช์ และเต้ ารับ ต้ องไม่มีส่วนที่เป็ นโลหะนํากระแสเปิ ด โล่ง ส่วนที่เป็ นโลหะไม่นํากระแสเปิ ดโล่งต้ องต่อลงดินและต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.5.9.1 ข้ างต้ น ด้ วย 7.5.10 สายอ่ อนในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 สายอ่อนต้ องเป็ นดังนี ้ 7.5.10.1 เป็ นแบบที่ได้ รับการรับรองแล้ วสําหรับใช้ งานหนักพิเศษ 7.5.10.2 มีตวั นําสําหรับต่อลงดินร่วมอยูด่ ้ วย 7.5.10.3 ต่อกับขั้วต่อสาย หรื อกับสายที่จ่ายไฟฟ้าให้ ในลักษณะที่ได้ รับการรับรองแล้ ว 7.5.10.4 มีการรองรับโดยใช้ ตวั จับยึดหรื อวิธีที่เหมาะสมซึ่งไม่ทําให้ เกิดแรงดึงที่ขั้วปลายสาย และ 7.5.10.5 มีวิธีการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันเส้ นใยหรื อละอองเข้ าไปได้ ตรงจุดที่สายอ่อนเข้ า กล่อง หรื อเครื่ องประกอบ

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-39

7.5.11 เต้ ารั บและเต้ าเสียบในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 เต้ ารับและเต้ าเสียบต้ องเป็ นแบบต่อลงดินและต้ องออกแบบให้ มีการสะสมเส้ นใยและละออง น้ อยที่สดุ และต้ องป้องกันมิให้ ประกายไฟหรื ออนุภาคที่หลอมละลาย เล็ดลอดออกมา 7.5.12 ระบบสัญญาณ ระบบสัญญาณเตือน ระบบควบคุมระยะไกล และระบบเครื่ อง พูดติดต่ อภายใน ในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 ระบบสัญญาณ ระบบสัญญาณเตือน ระบบควบคุมระยะไกล และระบบเครื่ องพูดติดต่อภายใน ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.5 ในเรื่ องวิธีการเดินสาย สวิตช์ หม้ อแปลง ตัวต้ านทาน มอเตอร์ ดวงโคม และอุปกรณ์ประกอบที่เกี่ยวข้ อง 7.5.13 เครนไฟฟ้า รอกไฟฟ้า และบริ ภัณฑ์ ท่ ีคล้ ายกันในบริ เวณอันตรายประ เภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 ในกรณีที่ติดตัง้ เครนไฟฟ้า รอกไฟฟ้า และบริ ภณ ั ฑ์ที่คล้ ายกัน เพื่อใช้ งานเหนือเส้ นใยที่ลกุ ไหม้ ได้ หรื อที่ซงึ่ มีละอองสะสม ต้ องเป็ นไปตาม 7.5.13.1 ถึง 7.5.13.2 ดังนี ้ 7.5.13.1 การจ่ ายไฟ การจ่ายไฟให้ กบั ตัวนําหน้ าสัมผัส ต้ องแยกออกจากระบบอื่น และต้ อง มีเครื่ องตรวจจับการรั่วลงดินซึ่งแสดงสัญญาณเตือน และตัดไฟที่จ่ายไปยังตัวนําหน้ าสัมผัสได้ โดยอัตโนมัติเมื่อเกิดไฟรั่วลงดิน หรื อให้ สญ ั ญาณที่มองเห็นได้ และได้ ยินเสียงเตือนตลอดเวลา เมื่อยังจ่ายไฟให้ กบั ตัวนําหน้ าสัมผัสที่ยงั มีการรั่วลงดิน 7.5.13.2 ตัวนําหน้ าสัมผัส ตัวนําหน้ าสัมผัสต้ องติดตั้งหรื อกั้นไม่ให้ ผ้ ทู ี่ไม่มีอํานาจหน้ าที่ เข้ าถึงได้ และต้ องป้องกันมิให้ สงิ่ แปลกปลอมสัมผัสโดยบังเอิญ 7.5.13.3 ตัวเก็บกระแส ตัวเก็บกระแสต้ องจัด หรื อกั้น เพื่อกักเก็บประกายไฟที่เกิดขึ ้น ตามปกติและป้องกันมิให้ ประกายไฟและอนุภาคที่ร้อนหลุดออกไฟ เพื่อลดการเกิดประกายไฟ ต้ องทําให้ พื ้นผิวของตัวนําหน้ าสัมผัสแต่ละอันแยกกันเป็ นหลายชิ ้นและต้ องจัดให้ มีมาตรการที่ เหมาะสมที่ทําให้ ตวั นําหน้ าสัมผัส และตัวเก็บกระแสไม่มีการสะสมฝุ่ นหรื อละออง 7.5.13.4 บริภณ ั ฑ์ ควบคุม บริ ภณ ั ฑ์ควบคุมต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.5.4 และ 7.5.5 7.5.14 บริภณ ั ฑ์ สาํ หรั บอัดแบตเตอรี่ ในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1และ 2 บริ ภณ ั ฑ์สําหรับอัดแบตเตอรี่ ต้องติดตั้งในห้ องแยกโดยเฉพาะ ซึ่งสร้ างหรื อบุด้วยวัสดุไม่ติดไฟ และต้ องสร้ างไม่ให้ ฝนหรื ุ่ อละอองเข้ าไปได้ และต้ องมีการระบายอากาศที่ดี 7.5.15 ส่ วนที่มีไฟฟ้าในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 ต้ องไม่มีสว่ นที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่ง

7-40

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.5.16 การต่ อลงดินในบริเวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 การเดินสายและบริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 แบบที่ 1 และ 2 ต้ องต่อลงดินตามบทที่ 4 และเพิ่มเติมดังนี ้ 7.5.16.1 การต่ อฝาก การใช้ บชุ ชิงพร้ อมแป้นเกลียวล็อก หรื อใช้ แป้นเกลียวล็อกคู่ ไม่ถือว่า เป็ นการต่อฝากเพียงพอ การต่อฝากต้ องใช้ สายต่อฝาก พร้ อมเครื่ องประกอบที่เหมาะสมหรื อใช้ วิธีการต่อฝากอื่นซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ต้ องมีการต่อฝากสําหรับช่องเดินสาย เครื่ องประกอบ กล่อง เครื่ องห่อหุ้ม ที่อยูร่ ะหว่างบริ เวณอันตรายประเภทที่ 3 กับจุดต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ ประธาน หรื อจุดต่อลงดินของระบบชนิดจ่ายแยกต่างหาก ยกเว้ น วิ ธีการต่อฝากโดยเฉพาะให้ จัดทําทีจ่ ุดต่อลงดิ นของเครื ่องปลดวงจรของอาคาร ตามข้อ4.3 เท่านัน้ และต้องจัดให้เครื ่อง ป้ องกันกระแสเกิ นของ วงจรย่อยติ ดตัง้ อยู่ดา้ นโหลดของเครื ่องปลดวงจร 7.5.16.2 ชนิดของตัวนําสําหรั บต่ อลงดินของบริ ภัณฑ์ ในที่ซงึ่ อนุญาตให้ ใช้ ท่อโลหะอ่อน งอได้ หรื อท่อโลหะอ่อนกันของเหลวตามข้ อ 7.5.3 และเชื่อได้ ว่ามีการต่อลงดินที่สมบูรณ์เพียง จุดเดียว ต้ องจัดให้ มีสายต่อฝากภายในหรื อภายนอกขนานไปกับแต่ละท่อร้ อยสายและต้ อง เป็ นไปตามข้ อ 4.15.6

7.6 ระบบที่ปลอดภัยอย่ างแท้ จริง (Intrinsically Safe Systems) 7.6.1 ขอบเขต มาตรฐานข้ อนีค้ รอบคลุมการติดตั้งสําหรั บเครื่ องสําเร็ จ การเดินสายและ ระบบในบริ เวณอันตรายประเภทที่ 1, 2 และ 3 หมายเหตุ สําหรับข้อมูลเพิ่ มเติ มให้ดู ANSI/ISA-RP 12.06.01-2003, Recommended Practice for Wiring Methods for Hazardous (Classified) Locations Instrumentation

7.6.2 นิยาม สําหรับจุดประสงค์ในข้ อนี ้ มีดงั นี ้ อุ ป กรณ์ ประกอบ (Associated Apparatus) หมายถึ ง อุ ป กรณ์ ใ นวงจรซึ่ ง อุ ป กรณ์ นี ไ้ ม่ จําเป็ นต้ องมีความปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง แต่มีผลต่อพลังงานในวงจรที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง และช่วยให้ คงไว้ ซึ่งความปลอดภัยอย่างแท้ จริ งของอุปกรณ์ อุปกรณ์ ประกอบนี ้ได้ แก่ข้อใดข้ อ หนึง่ ดังนี ้ ก) อุปกรณ์ไฟฟ้าที่สามารถเลือกวิธีการป้องกันให้ เหมาะสมกับบริ เวณอันตรายแต่ ละประเภทหรื อ ข) อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่มีการป้องกันซึง่ ห้ ามใช้ ในบริ เวณอันตราย หมายเหตุ อุป กรณ์ ป ระกอบที ่มี สัญ ลัก ษณ์ ว่ า การต่ อ มี ค วามปลอดภัย อย่ า งแท้จ ริ ง สําหรับการต่อระหว่างอุปกรณ์ ทีม่ ี ความปลอดภัยอย่างแท้จริ งกับอุปกรณ์ ทีไ่ ม่ เป็ นอุปกรณ์ แบบปลอดภัยอย่างแท้จริ ง

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-41

แบบแสดงระบบควบคุม (Control Drawing) หมายถึง แบบหรื อเอกสารที่จดั ทําโดยบริ ษัทที่ ผลิต อุปกรณ์ที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งหรื ออุปกรณ์ประกอบซึ่งแสดงรายละเอียดการต่อระหว่าง ระบบที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งและอุปกรณ์ประกอบ วงจรที่มี ค วามปลอดภัย อย่ า งแท้ จ ริ ง ต่ า งกั น (Different Intrinsically Safe Circuits) หมายถึง วงจรที่มีความปลอดภัยอย่างแท้ จริ งซึ่งการต่อระหว่างกันไม่ได้ รับการประเมินและ รับรองว่าปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง อุปกรณ์ ท่ ปี ลอดภัยอย่ างแท้ จริง (Intrinsically Safe Apparatus) หมายถึง อุปกรณ์ในวงจรที่ มีความปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง วงจรที่ปลอดภัยอย่ างแท้ จริ ง (Intrinisically Safe Circuit) หมายถึง วงจรซึง่ ประกายไฟหรื อ ผลของความร้ อนที่อาจเกิดขึ ้น ไม่สามารถทําให้ เกิดการจุดระเบิดสารผสมที่ติดไฟได้ หรื อวัสดุที่ ลุกไหม้ ได้ ที่อยูใ่ นอากาศภายใต้ สภาวะการทดสอบที่กําหนด หมายเหตุ สภาวะการทดสอบกํ าหนดไว้ใน ANSI/UL 913-1997, Standard for Safety, Intrinsically SafeApparatus and Associated Apparatus for Use in Class I, II,and III, Division 1, Hazardous (Classified) Locations.

ระบบที่ปลอดภัยอย่ างแท้ จริ ง (Intrinsically Safe Systems) หมายถึง การประกอบสําเร็ จ ของการต่อระหว่างอุปกรณ์ที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง อุปกรณ์ประกอบและสายเคเบิลที่ใช้ ตอ่ ร่ วม ซึง่ ทุกส่วนในระบบสามารถใช้ ในบริ เวณอันตราย หมายเหตุ ระบบทีป่ ลอดภัยอย่างแท้จริ งอาจประกอบด้วย วงจรทีป่ ลอดภัยอย่างแท้จริ งมากกว่า 1 วงจร

7.6.3 การใช้ กฎข้ ออื่น นอกจากที่ได้ ปรับปรุงในข้ อนี ้แล้ ว กฎข้ ออื่นในมาตรฐานนี ้สามารถ นํามาใช้ ได้ 7.6.4 การรั บ รองบริ ภัณ ฑ์ อุป กรณ์ที่ป ลอดภัย อย่า งแท้ จริ งและอุป กรณ์ป ระกอบต้ อง ได้ รับการรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้ เช่น UL, NEMA, FM, CSA, ECCS, PTB, LCIE หรื อ DEMKO เป็ นต้ น 7.6.5 การติดตัง้ บริภณ ั ฑ์ 7.6.5.1 แบบแสดงระบบควบคุม อุปกรณ์ ที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง อุปกรณ์ ประกอบและ บริ ภณ ั ฑ์อื่นต้ องติดตั้งตามแบบแสดงระบบควบคุม หมายเหตุ อุปกรณ์ มีเครื ่องหมายแสดงเอกลักษณ์ ของแบบแสดงระบบควบคุม

7.6.5.2 สถานที่ อุปกรณ์ที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งและอุปกรณ์ประกอบ อนุญาตให้ ติดตั้ง ในบริ เวณอันตรายซึง่ อุปกรณ์นั้นได้ รับการรับรอง

7-42

บทที่ 7 บริเวณอันตราย หมายเหตุ อุปกรณ์ ประกอบอาจติ ดตัง้ ในบริ เวณอันตรายถ้ามี การป้ องกันโดยวิ ธีทีอ่ นุญาตไว้ใน ข้อ 7.3 ข้อ 7.4 และข้อ 7.5 อนุญาตให้ใช้เครื ่องห่อหุม้ สําหรับใช้งานทัว่ -ไปสําหรับ อุปกรณ์ ทีป่ ลอดภัยอย่างแท้จริ งได้

7.6.6 วิธีการเดินสาย อุปกรณ์ ที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งและการเดินสายอนุญาตให้ ติดตั้ง โดยใช้ วิธีการเดินสายที่เหมาะสมสําหรับสถานที่ธรรมดา ต้ องจัดให้ มีการปิ ดผนึกตามข้ อ 7.6.10 และ การแยกตามข้ อ 7.6.7 7.6.7 การแยกตัวนําที่ปลอดภัยอย่ างแท้ จริง 7.6.7.1 การแยกจากตัวนําของวงจรที่ไม่ ปลอดภัยอย่ างแท้ จริง 7.6.7.1.1 การเดินสายเปิ ด ตัวนําและสายเคเบิลของวงจรที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง และ ไม่ได้ อยู่ในช่องเดินสายหรื อรางเคเบิลต้ องแยกให้ อยู่ห่างจากตัวนําและสายเคเบิลของวงจรที่ไม่ ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งอย่างน้ อย 50 มม. ยกเว้ น สําหรับกรณี ต่อไปนี ้ 1) ตัวนํ าของวงจรที ่ป ลอดภัยอย่ างแท้จ ริ งเป็ นสายเคเบิ ลชนิ ด MI หรื อ MC 2) ตัวนํ าของวงจรที ่ไม่ ปลอดภัยอย่างแท้จริ งอยู่ในช่ องเดิ นสายหรื อ เป็ นสายเคเบิ ลชนิ ด MI หรื อ MC ซึ่ งมี เปลื อกหุ้มสามารถรับ กระแสผิ ดพร่ องลงดิ นได้ 7.6.7.1.2 ในช่ องเดินสาย รางเคเบิล และสายเคเบิล ตัวนําของ วงจรที่ปลอดภัยอย่าง แท้ จริ งต้ องไม่อยู่ในช่องเดินสาย รางเคเบิลหรื อสายเคเบิลร่ วมกับตัวนําของ วงจรที่ไม่ปลอดภัย อย่างแท้ จริ ง ข้ อยกเว้ นที่ 1 ในกรณี ที่ตวั นํ าของวงจรที ่ปลอดภัยอย่างแท้จริ งมี การจับยึ ดและแยกออก จากตัวนําของวงจรทีไ่ ม่ปลอดภัยอย่างแท้จริ งเป็ นระยะไม่นอ้ ยกว่า 50 มม. (2นิ้ ว) หรื อโดยใช้ผนังกัน้ แยกที เ่ ป็ นโลหะและต่อลงดิ นหรื อทําด้วยฉนวนที ่ ได้รบั การรับรองแล้ว ผนังกัน้ แยกซึ่ งเป็ นแผ่นโลหะหนาไม่นอ้ ยกว่า 1 มม. (0.0359 นิ้ ว)ยอมรับให้ ใช้ได้ทวั่ ไป ข้ อยกเว้ นที่ 2 กรณี ใดกรณี หนึ่งดังต่อไปนี ้ 1) เป็ นตัวนําของวงจรที ่ปลอดภัยอย่างแท้จริ งทัง้ หมด หรื อ 2) ตัวนําของวงจรที ่ไม่ปลอดภัยอย่างแท้จริ งเป็ นสายเคเบิ ลชนิ ดเปลือก นอกโลหะหรื อสายเคเบิ ลหุม้ ด้วยโลหะซึ่งเปลือกหรื อส่วนหุม้ ทีเ่ ป็ นโลหะ ต่อลงดิ น และสามารถรับกระแสผิ ดพร่ องลงดิ นได้ สายเคเบิ ลชนิ ด MI, MC หรื อ SNM ยอมรับให้ใช้ได้

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.6.7.1.3

7-43

ภายในเครื่ องห่ อหุ้ม ก) ตัวนําของวงจรที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งต้ องแยกให้ อยู่ห่างจากตัวนําของวงจร ที่ไม่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งอย่างน้ อย 50 มม. (2 นิว้ ) หรื อตามที่ระบุในข้ อ 7.6.7.1.2 ข) ต้ องจับยึดตัวนําให้ แน่นเพื่อไม่ให้ เกิดการหลวม ซึง่ อาจทําให้ ปลายสายหลุด จากขั้วไปสัมผัสกับปลายสายขั้วอื่นได้ หมายเหตุ

การใช้วิธีการเดิ นสายแยกแต่ละส่วนสํ าหรับขัว้ สายของวงจรที ่ปลอดภัย อย่างแท้จริ งและวงจรที ่ไม่ปลอดภัยอย่างแท้จริ ง จัดเป็ นวิ ธีทีค่ วรพิ จารณา ตามข้อกําหนดนี ้ ผนังกั้น เช่ น ผนังกั้นแยกโลหะที ่ต่อลงดิ น ผนังกั้นแยกฉนวนที ่ได้รับการ รับรองแล้ว หรื อท่อร้ อยสายที จ่ ํ ากัดการเข้าถึงทีไ่ ด้รับการรับรองแล้วและอยู่ ห่างจากท่ออื น่ อย่างน้อย 19 มม. (3/4 นิ้ ว) สามารถนํามาใช้เพือ่ ช่วยให้ เป็ นไปตามข้อกําหนดการแยกเดิ นสาย

7.6.7.2 จากตัวนําของวงจรที่มีความปลอดภัยอย่ างแท้ จริงต่ างกัน วงจรที่มีความปลอดภัยอย่างแท้ จริ งต่างกัน ต้ องมีการแยกสายเคเบิลหรื อแยกจากวงจรอื่นโดย วิธีใดวิธีหนึง่ ดังนี ้ 7.6.7.2.1 ตัวนําของแต่ละวงจรอยูภ่ ายในเปลือกโลหะที่ตอ่ ลงดิน 7.6.7.2.2 ตัวนําของแต่ละวงจรมีฉนวนซึง่ หนาไม่น้อยกว่า 0.25 มม. (0.01 นิ ้ว) หุ้ม ยกเว้ น ถ้าไม่มีการรับรองเป็ นอย่างอื น่ 7.6.8 การต่ อลงดิน 7.6.8.1 อุปกรณ์ ท่ ีปลอดภัยอย่ างแท้ จริ ง อุปกรณ์ ประกอบและช่ องเดินสาย อุปกรณ์ ที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง เกราะหุ้มสายเคเบิล เครื่ องห่อหุ้ม และช่องเดินสายหากเป็ นโลหะต้ อง ต่อลงดิน การต่อฝากกับหลักดิน เพิ่มเติมอาจมีความจําเป็ นสําหรับอุปกรณ์ประกอบบางอย่าง เช่น ผนัง กั้นของซีเนอร์ ไดโอด ถ้ าได้ ระบุไว้ ในแบบแสดงระบบควบคุม หมายเหตุ ดูรายละเอียดเพิ่มเติ มใน ANSI/ISA-RP 12.06.01-2003, RecommendedPractice for Wiring Methods for Hazardous (Classified) LocationsInstrumentation — Part 1: Intrinsic Safety.

7.6.8.2 การต่ อกับหลักดิน ในกรณีที่ต้องจัดให้ มีการต่อเข้ ากับหลักดินแบบ exothermic หลักดินต้ องมีรายละเอียดเป็ นไปตามข้ อ 2.4

7-44

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.6.8.3 เกราะหุ้มสายเคเบิล ในกรณีที่ตวั นําสายเคเบิลมีเกราะหุ้ม ต้ องต่อเกราะหุ้มลงดิน ยกเว้ น ในกรณี ทีเ่ กราะหุม้ นีเ้ ป็ นส่วนของวงจรทีป่ ลอดภัยอย่างแท้จริ ง 7.6.9 การต่ อฝาก 7.6.9.1 บริ เวณอันตราย ในบริ เวณอันตรายอุปกรณ์ที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งต้ องมีการต่อ ฝากตามข้ อ 4.15.5 7.6.9.2 ไม่ เป็ นบริ เวณอันตราย ในสถานที่ซึ่งไม่จดั เป็ นบริ เวณอันตราย ในที่ซึ่งมีการใช้ ช่องเดินสายโลหะสําหรับการเดินสายระบบที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งในบริ เวณอันตราย อุปกรณ์ ประกอบต้ องมีการต่อฝากตามข้ อ 7.3.16.1, 7.4.15.1 หรื อ 7.5.17.1 7.6.10 การปิ ดผนึ ก ท่อร้ อยสายและสายเคเบิลซึ่งต้ องมี การปิ ดผนึกตามข้ อ 7.3.5 และ 7.4.4 ต้ องปิ ดผนึกเพื่อให้ ก๊าซ ไอระเหย หรื อฝุ่ นผ่านเข้ าไปได้ น้อยที่สดุ ยกเว้ น ไม่จําเป็ นต้อง มี การปิ ดผนึกสําหรับเครื ่องห่อหุ้มที ่มีเพี ยงอุปกรณ์ ที่ปลอดภัยอย่างแท้จริ ง นอกจากจะกํ าหนด โดยข้อ 7.3.5.6.3 หมายเหตุ ข้อนีไ้ ม่มีจดุ มุ่งหมายสําหรับการปิ ดผนึกชนิ ดทนการระเบิ ด

7.6.11 สั ญลั ก ษณ์ ป้ ายซึ่ ง กํ า หนดในข้ อ นี ต้ ้ อ งเหมาะสมกับ สภาพแวดล้ อ มที่ ติ ด ตั้ง โดย พิจารณาถึงการเปิ ดโล่งต่อสารเคมีและแสงอาทิตย์ 7.6.11.1 ขัว้ ปลายสาย วงจรที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งต้ องแสดงสัญลักษณ์ ที่ขั ้วปลายสาย และจุดชุมสายในลักษณะที่จะป้องกันการรบกวนต่อวงจรโดยไม่ตั้งใจระหว่างการทดสอบหรื อ บริ การ 7.6.11.2 การเดินสาย ช่องเดินสาย รางเคเบิล และการเดินสายเปิ ดสําหรั บการเดินสายที่ ปลอดภัย อย่า งแท้ จ ริ ง ต้ อ งแสดงเอกลัก ษณ์ ด้ ว ยป้ ายที่ ถ าวรมี ข้ อ ความว่ า "การเดิน สายที่ ปลอดภัยอย่ างแท้ จริง" หรื อเทียบเท่า และต้ องติดตั้งป้ายในที่เห็นได้ ชดั เจนภายหลังการติดตั้ง และอ่านได้ ง่ายจากทางเข้ าสู่ตําแหน่งติดตั้ง ระยะห่างระหว่างป้ายต้ องไม่เกิน 7.50 ม. (25 ฟุต) ยกเว้ น วงจรที ่เดิ นสายใต้ดินอนุญาตให้แสดงเอกลักษณ์ ตรงจุดที ่เข้าถึงได้หลังจากโผล่พน้ ดิ น วิ ธีการเดิ นสายที ่อนุญาตให้ใช้ในสถานที ่ซึ่งไม่ใช่บริ เวณอันตราย อาจใช้กบั ระบบที ่ปลอดภัย อย่ า งแท้ จ ริ งในบริ เวณอัน ตรายได้ ถ้ า ไม่ มี ป้ ายแสดงเอกลัก ษณ์ ข องการใช้ ง านเดิ น สาย เจ้าหน้าที ่ผู้มีอํานาจไม่สามารถพิ จารณาได้ว่าการติ ดตัง้ นัน้ เป็นไปตามมาตรฐานในสถานที ่ซึ่ง ไม่ใช่บริ เวณอันตราย การแสดงเอกลักษณ์ เป็ นสิ่ งจํ าเป็ นเพือ่ ให้แน่ใจได้ว่าวงจรที ไ่ ม่ปลอดภัย อย่างแท้จริ งจะไม่ถูกเพิ่ มเข้าไปในช่องเดิ นสายทีม่ ี อยู่ในปั จจุบนั ภายหลังโดยพลัง้ เผลอ

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-45

7.6.11.3 รหัสสี อนุญาตให้ ใช้ รหัสสี แสดงเอกลักษณ์ของตัวนําที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งในที่ ซึง่ ตัวนําเป็ นสีฟ้าอ่อนและไม่มีตวั นําอื่นที่มีสีฟ้าอ่อนรวมอยูด่ ้ วย

7.7 บริเวณอันตราย โซน 0, โซน 1 และ โซน 2 มาตรฐานที่ 2 (IEC) 7.7.1 ขอบเขต หัวข้ อนี ้ครอบคลุมข้ อกําหนดทั้งในระบบการแบ่งโซน ตามมาตรฐาน IEC เช่นเดียวกันกับระบบ การแบ่งกลุ่ม ซึ่งกําหนดไว้ ในข้ อ 7.1 สําหรับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า บริ ภณ ั ฑ์อิเล็กทรอนิกส์ และการ เดินสายทุกระดับแรงดัน ในบริ เวณอันตราย แยกเป็ นโซน 0, โซน 1 และ โซน 2 ซึง่ เป็ นสถานที่ ที่อาจเกิดเพลิงไหม้ หรื อการระเบิดเนื่องจากก๊ าซ ไอระเหยของเหลวที่ตดิ ไฟได้ 7.7.2 บริเวณและข้ อกําหนดทั่วไป 7.7.2.1 การจําแนกบริเวณอันตราย การจําแนกบริ เวณอันตรายขึ ้นอยู่กับคุณสมบัติของไอระเหย ก๊ าซ หรื อของเหลวที่ติดไฟได้ ซึ่ง อาจมีขึ ้นและมีความเป็ นไปได้ ที่จะมีความเข้ มข้ น หรื อมีปริ มาณมากพอที่จะทําให้ เกิดการลุก ไหม้ หรื อเกิดเพลิงไหม้ ได้ สถานที่ซงึ่ มีการใช้ สารไพโรฟอริ ก (pyrophoric) เพียงชนิดเดียว ไม่ จัดเป็ นบริ เวณอันตราย ในการพิจารณาจําแนกประเภทแต่ละห้ อง ส่วนหรื อพื ้นที่จะแยกพิจารณาเป็ นกรณีเฉพาะของ แต่ละห้ องหรื อพื ้นที่นั้นๆ 7.7.2.2 บริ เวณอันตราย โซน 0, โซน 1 และโซน 2 เป็ นบริ เวณที่มีก๊าซหรื อไอระเหย ติดไฟหรื ออาจมีจาํ นวนอากาศที่ผสมอย่ างเพียงพอจนเกิดการติดหรื อระเบิด 7.7.3 เทคนิคการป้องกัน เทคนิคการป้องกันที่เป็ นที่ยอมรับ สําหรับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าในบริ เวณอันตราย (แยกประเภท) มี ดังนี ้ ก) Flameproof “d” เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กับบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าในบริ เวณ อันตราย โซน 1 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ั ฑ์ในบริ เวณ ข) Purged and Pressurized เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กบั บริ ภณ อันตราย โซน 1 หรื อโซน 2 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ค) Intrinsic Safety เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กบั บริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณอันตราย โซน 0 หรื อโซน 1 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว

7-46

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

ง) Type of Protection “n” เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กบั บริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณ อันตราย โซน 2 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว และแบ่งย่อยออกเป็ นชนิด nA, nC และ nR จ) Oil Immersion “o” เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กบั บริ ภณ ั ฑ์ในสถานอันตราย โซน 1 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ฉ) Increased Safety “e” เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กับบริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณ อันตราย โซน 1 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ช) Encapsulation “m” เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กบั บริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณอันตราย โซน 1 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว ซ) Powder filling “q” เป็ นเทคนิคการป้องกันที่ใช้ กบั บริ ภณ ั ฑ์ในบริ เวณอันตราย โซน 1 ซึง่ ได้ รับการรับรองแล้ ว 7.7.4 การรั บรองผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ในสถานที่อนั ตรายและอุปกรณ์ประกอบต้ องได้ รับการรับรองผลิตภัณฑ์ เช่น CE, ATEX, IEC และ IP เป็ นต้ น หรื อได้ รับการรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้ เช่น ECCS, PTB, LCIE หรื อ DEMKO เป็ นต้ น 7.7.5 ข้ อควรระวังเป็ นพิเศษ ข้ อ 7.7 ใช้ สําหรับการจัดสร้ างบริ ภณ ั ฑ์ และการติดตั้งซึง่ ให้ ความปลอดภัยในการใช้ งานภายใต้ สภาวะการใช้ งาน และบํารุงรักษาที่เหมาะสม 7.7.5.1 การควบคุมงาน การแบ่งพื ้นที่ การเลือกบริ ภัณฑ์ และวิธีการเดินสายต้ องอยู่ ภายใต้ การควบคุมของ ช่างเทคนิคหรื อวิศวกรมืออาชีพ ที่ผา่ นการฝึกอบรมจากวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย หรื อ สถาบันที่ เชื่ อ ถื อ ได้ ที่ วิ ศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยรั บรอง จึงจะมี คุณสมบัตติ ามที่กําหนด 7.7.5.2 การอนุญาตให้ มีการจําแนกประเภทของบริเวณอันตราย อนุญาตให้ จําแนกประเภทใหม่เป็ นบริ เวณอันตรายโซน 0 โซน 1 หรื อโซน 2 ได้ เนื่องจาก แหล่งกําเนิดก๊ าซ หรื อ ไอระเหย ที่ตดิ ไฟได้ แต่ละชนิดได้ จําแนกประเภทใหม่ ตามหัวข้ อนี ้แล้ ว 7.7.6 การแบ่ งกลุ่มและการแบ่ งประเภท สําหรับจุดประสงค์เพื่อการทดสอบ การรับรอง และการจําแนกพื ้นที่สว่ นผสมต่าง ๆ ในอากาศ (ไม่รวมส่วนที่มีออกซิเจนมาก) ให้ แบ่งกลุม่ ตามที่กําหนดในข้ อ 7.7.5.1, 7.7.5.2

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-47

กลุ่มก๊ าซ I คือบรรยากาศ ซึ่งประกอบด้ วย firedamp (ส่วนผสมของก๊ าซหลายชนิด ซึง่ ส่วน ใหญ่เป็ นก๊ าซมีเทน (methane) โดยพบบริ เวณใต้ พื ้นดิน เช่นเหมืองแร่) กลุ่มก๊ าซ II แบ่งเป็ นกลุม่ IIC IIB และ IIA ตามธรรมชาติของก๊ าซหรื อไอระเหย 7.7.6.1 กลุ่มก๊ าซ IIC บรรยากาศซึง่ ประกอบด้ วยอาเซททีลีน (acetylene) ไฮโดรเยน (hydroyen) ก๊ าซที่ลกุ ไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่สามารถลุกเป็ นไฟ หรื อเผาไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่ผสมกับ อากาศแล้ ว อาจทําให้ เกิดการไหม้ หรื อเกิดการระเบิดได้ ในกรณีที่มีคา่ MESG น้ อยกว่าหรื อ เท่ากับ 0.5 มม. หรื อในกรณีที่คา่ MIC ratio น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 0.45 7.7.6.2 กลุ่มก๊ าซ IIB บรรยากาศซึง่ ประกอบด้ วยอาเซททาลดีไฮต์ (acetsldehyte) เอทิลีน (elhylene) ก๊ าซที่ลกุ ไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่สามารถลุกเป็ นไฟ หรื อเผาไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่ผสมกับ อากาศแล้ วเกิดการระเบิดได้ ซึ่งอาจทําให้ เกิดการเผาไหม้ หรื อระเบิดได้ ในกรณีที่มีค่า MESG มากกว่า 0.5 มม. และน้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 0.9 มม. หรื อในกรณีที่คา่ MIC ratio มากกว่า 0.45 และน้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 0.80 7.7.6.3 กลุ่ ม ก๊ า ซ IIA บรรยากาศซึ่งประกอบด้ วยอาเซโทน (acetone) แอมโมเนีย (ammonia) เอธี ลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol) ก๊ าซโซลีน (gasolie) มีเทน (methane) โพรเพน (propane) ก๊ าซที่ลกุ ไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่สามารถลุกเป็ นไฟ หรื อเผาไหม้ ได้ ไอระเหยจากของเหลวที่ผสมกับ อากาศแล้ ว เกิ ด การระเบิ ด ได้ ซึ่ ง อาจทํ า ให้ เ กิ ด การเผาไหม้ ห รื อ ระเบิ ด ได้ ในกรณี ที่ มี ค่ า maximum experimental safe gap (MESG) มากกว่า 0.9 มม. หรื อในกรณีที่คา่ Minimum igniting current ratio (MIC ratio) มากกว่า 0.8 7.7.6.4 กลุ่มก๊ าซอื่น ๆ บริ ภณ ั ฑ์ที่อนุญาตให้ กําหนดรายชื่อสําหรับก๊ าซหรื อไอระเหย โดยเฉพาะส่วนผสมของก๊ าซหรื อ ไอระเหย โดยเฉพาะ หรื อการรวมตัวของก๊ าซหรื อไอระเหยโดยเฉพาะ 7.7.7 อุณหภูมิโซน เครื่ องหมายจําแนกอุณหภูมิที่ระบุในข้ อ 7.7.9.2 ต้ องมีคา่ ไม่เกินอุณหภูมิจดุ ระเบิดของก๊ าซหรื อ ไอที่เกี่ยวข้ อง 7.7.8 การจําแนกโซน การจําแนกโซน ต้ องเป็ นไปตาม รายละเอียดดังนี ้

7-48

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.7.8.1 โซน 0 บริ เวณอันตราย โซน 0 คือ ก) สถานที่ซงึ่ มีก๊าซหรื อไอระเหย อย่างต่อเนื่องและมีความเข้ มข้ นพอที่จะ เกิด การระเบิดได้ ข) สถานที่ซึ่งมีก๊าซหรื อไอระเหย ตลอดเวลา และมีความเข้ มข้ นพอที่จะเกิด การระเบิดได้ 7.7.8.2 โซน 1 บริ เวณอันตราย โซน 1 คือ ก) สถานที่ซึ่งในภาวะการทํางานปกติ อาจมีก๊าซหรื อไอระเหยที่มีความเข้ มข้ น พอที่จะเกิดการระเบิดได้ ข) สถานที่ซงึ่ อาจมีก๊าซหรื อ ไอระเหย ที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะเกิดการระเบิดได้ อยูบ่ อ่ ยๆ เนื่องจากการซ่อมแซม บํารุงรักษา หรื อรั่ว ค) สถานที่ซึ่งเมื่อบริ ภณ ั ฑ์เกิดความเสียหายหรื อทํางานผิดพลาดอาจทําให้ เกิด ก๊ าซหรื อ ไอระเหยที่ มี ค วามเข้ มข้ นพอที่ จ ะเกิ ด การระเบิ ด ได้ และใน ขณะเดียวกันอาจทําให้ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าขัดข้ องซึง่ เป็ นสาเหตุให้ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ดังกล่าวเป็ นแหล่งกําเนิดของการระเบิดได้ ง) สถานที่ซึ่งอยู่ใกล้ กบั บริ เวณอันตรายประเภทที่ 1 โซน 0 และอาจได้ รับการ ถ่ายเทก๊ าซหรื อไอระเหยที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะจุดระเบิดได้ ถ้ าไม่มีการ ป้องกันโดยการระบายอากาศโดยดูดอากาศสะอาดเข้ ามา และมีระบบรักษา ความปลอดภัยที่มีประสิทธิผล หากระบบระบายอากาศทํางานผิดพลาด 7.7.8.3 โซน 2 บริ เวณอันตราย โซน 2 คือ ก) สถานที่ซึ่งในภาวะการทํางานปกติ เกือบจะไม่มีก๊าซหรื อไอระเหยที่มีความ เข้ มข้ นพอที่จะเกิดการระเบิดได้ และถ้ ามีก๊าซหรื อไอระเหยดังกล่าว เกิดขึ ้นก็ จะมีในช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น ข) สถานที่ซึ่งใช้ เก็บของเหลวติดไฟซึ่งระเหยง่าย ก๊ าซ หรื อไอระเหยที่ติดไฟได้ ซึ่งโดยปกติของเหลวไอระเหยหรื อก๊ าซนี ้จะถูกเก็บไว้ ในภาชนะหรื อระบบที่ ปิ ดโดยอาจรั่วออกมาได้ จากการทํางานของบริ ภัณฑ์ ที่ผิดปกติในขณะที่มี การหยิบยก ผลิต หรื อใช้ งานของเหลวหรื อก๊ าซ

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-49

ค) สถานที่ ซึ่ง มี ก ารป้องกันการระเบิ ด เนื่ อ งจากก๊ าซหรื อ ไอระเหยที่ มี ความ เข้ มข้ นเพียงพอโดยใช้ ระบบระบายอากาศ ซึ่งทํางานโดยเครื่ องจักรกล และ อาจเกิดอันตรายได้ หากระบบระบายอากาศขัดข้ องหรื อทํางานผิดปกติ ง) สถานที่ซงึ่ อยู่ใกล้ กบั บริ เวณอันตราย โซน 1 และอาจได้ รับการถ่ายเทก๊ าซหรื อ ไอระเหยที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะจุดระเบิดได้ ถ้ าไม่มีการป้องกันโดยการ ระบายอากาศโดยดูดอากาศสะอาดเข้ ามาและมีระบบรักษาความปลอดภัย ที่มีประสิทธิผลหากระบบระบายอากาศทํางานผิดพลาด 7.7.9 การทํารายชื่อ เครื่ องหมายและเอกสาร 7.7.9.1 การทํารายชื่อ บริ ภณ ั ฑ์ที่มีรายชื่อให้ ใช้ ได้ ในบริ เวณอันตรายโซน 0 อนุญาตให้ ใช้ ในบริ เวณอันตรายโซน 1 และ ั ฑ์ที่มีรายชื่อให้ ใช้ ได้ ในบริ เวณ โซน 2 ได้ สําหรับก๊ าซหรื อไอระเหย ที่เป็ นชนิดเดียวกัน และบริ ภณ อันตรายโซน 1 อนุญาตให้ ใช้ ในบริ เวณอันตราย โซน 2 ได้ สําหรับก๊ าซหรื อไอระเหย ที่เป็ นชนิด เดียวกัน 7.7.9.2 การทําเครื่ องหมาย บริ ภณ ั ฑ์ต้องมีเครื่ องหมายตามรายละเอียด ดังนี ้ 7.7.9.2.1 การจําแนกบริภณ ั ฑ์ บริ ภัณฑ์ ที่ได้ รับการรั บรองแล้ วสําหรั บ ที่ทําเครื่ องหมายตามข้ อ 7.2.3.6 อนุญาตให้ ทํา เครื่ องหมายดังนี ้ ก) แสดงการจําแนกเป็ นโซน 1 หรื อ โซน 2 ข) แสดงการจําแนกกลุม่ ก๊ าซตามตารางที่ 7-5 ค) แสดงการจําแนกประเภทอุณหภูมิใช้ งานตามตารางที่ 7-6 7.7.9.2.2 การจําแนกการทําเครื่ องหมาย บริ ภณ ั ฑ์ที่มีเทคนิคการป้องกันตั้งแต่ 1 แบบขึ ้นไป ตามข้ อ 7.7.3 ต้ องทําเครื่ องหมายตามลําดับ ดังนี ้ a กลุม่ (Groups) เช่น กลุม่ I (เหมือง) หรื อ กลุม่ II (พื ้นที่อื่น ๆ) b ลําดับป้องกันอันตราย (Category) เช่น โซน 0 ลําดับหมายเลข 1, โซน 1 ลําดับหมายเลข 2, หรื อโซน 2 ลําดับหมายเลข 3 c สภาวะการจุดระเบิด (explosive atmosphere) เช่น ก๊ าซ (G) หรื อ ฝุ่ น (D) d สัญลักษณ์ “Wx” (มีอกั ษรนําหน้ าได้ ตามความเหมาะสม) e เทคนิคการป้องกันตามตารางที่ 7-4

7-50

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

f การจําแนกกลุม่ ก๊ าซตามตารางที่ 7-5 g การจําแนก ประเภทอุณหภูมิใช้ งานตามตารางที่ 7-6 ข้ อยกเว้ นที่ ข้ อยกเว้ นที่ ข้ อยกเว้ นที่

ข้ อยกเว้ นที่

1 บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าทีม่ ี การป้ องกัน แบบ “e”, “m”, “p” หรื อ ”q” ต้องทําเครื ่องหมาย กลุ่ม ก๊ าซ II 2 บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าที ม่ ี การป้ องกัน แบบ “d“, “ia“ หรื อ “ib”, “[ia]” หรื อ “[ib]” ต้องทํา เครื ่องหมาย กลุ่มก๊ าซ IIA IIB IIC ชือ่ ก๊ าซหรื อไอระเหยโดยเฉพาะ 3 บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าทีม่ ี การป้ องกัน แบบ “n“ ต้องทําเครื ่องหมาย กลุ่มก๊ าซ II ถ้าไม่มีอปุ กรณ์ ตัดตอนที ่มีเครื ่ องห่ อหุ้มส่ วนประกอบที ่ไม่ เป็ นเครื ่ องกระตุ้นบริ ภณ ั ฑ์ หรื อวงจรที ่จํากัด พลังงาน ในกรณี นอกเหนือจากทีก่ ล่าวข้างตันให้ทําเครื ่องหมาย กลุ่มก๊ าซ IIA IIB IIC ชื อ่ ก๊ าซหรื อไอระเหยโดยเฉพาะ 4 บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าที ม่ ี การป้ องกัน แบบอื ่นให้ทําเครื ่องหมาย กลุ่มก๊ าซ II ถ้าแบบของการ ป้ องกันนัน้ ไม่ก่อให้เกิ ดประโยชน์ แก่บริ ภณ ั ฑ์ ในกรณี นอกเหนื อจากที ก่ ล่าวข้างต้นให้ทํา เครื ่องหมาย กลุ่มก๊ าซ IIA IIB IIC ชือ่ ก๊ าซหรื อไอระเหยโดยเฉพาะ ตารางที่ 7-4 เทคนิคการป้องกัน (Protection Techniques)

ประเภทการออกแบบ d db e eb ia ib ic [ia] [ib] [ic] m ma mb nA nAc nC nCc

เทคนิคการป้องกัน Flameproof enclosure Flameproof enclosure Increased safety Increased safety Intrinsic safety Intrinsic safety Intrinsic safety Associated apparatus Associated apparatus Associated apparatus Encapsulation Encapsulation Encapsulation Nonsparking equipment Nonsparking equipment Sparking equipment in which the contacts are suitably protected other than by restricted breathing enclosure Sparking equipment in which the contacts are suitably protected other than by restricted breathing enclosure

โซน 1 1 1 1 0 1 2 Unclassified Unclassified Unclassified 1 0 1 2 2 2 2

7-51

บทที่ 7 บริเวณอันตราย ประเภทการออกแบบ nR nRc o ob p pxb py pyb pz pzc q qb

เทคนิคการป้องกัน Restricted breathing enclosure Restricted breathing enclosure Oil immersion Oil immersion pressurization pressurization pressurization pressurization pressuization pressurization Powder filled Powder filled

ตารางที่ 7-5 การจําแนกประเภทของกลุ่มก๊ าซ กลุ่มก๊ าซ II C II B II A

หัวข้ อ 7.7.6.1 7.7.6.2 7.7.6.3

ตารางที่ 7-6 การจําแนกประเภทอุณหภูมพ ิ นื ้ ผิวสูงสุดสําหรั บบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ประเภทอุณหภูมใิ ช้ งาน

(Temperature Class) (T Code)

อุณหภูมพ ิ นื ้ ผิวสูงสุด (Maximum SurfaceTemperature) (°C)

T1 T2 T3 T4 T5 T6

≤450 ≤300 ≤200 ≤135 ≤100 ≤85

โซน 2 2 1 1 1 1 1 1 2 2 1 1

7-52

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.7.9.2.3 การจําแนกอุณหภูมิใช้ งาน (Temperature Class) บริ ภัณฑ์ ที่ได้ รับการรั บรองต้ องทําเครื่ องหมายแสดงอุณหภูมิใช้ งานหรื อช่วงอุณหภูมิใช้ งาน (Temperature Class) สําหรับอุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิใช้ งานให้ ระบุ ตาม ตารางที่ 7-6 โดยการเลือ กใช้ บริ ภัณฑ์ จ ะต้ อ งมี ค่าอุณหภูมิพื น้ ผิว สูง สุดของบริ ภัณฑ์ ไม่ เกิ น อุณหภูมิจดุ ติดไฟได้ เองของสารไวไฟ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ออกแบบให้ ใช้ งานในช่วงอุณหภูมิโดยรวมจากช่วงอุณหภูมิ -20๐C และ +40๐C ไม่ ต้ อ งทํ าเครื่ องหมายเพิ่ มเติ ม สํ าหรั บ บริ ภัณฑ์ ไฟฟ้ าที่ ออกแบบให้ ใช้ งานในช่ วงอุณหภูมิ โดยรอบนอกเหนือจากช่วงอุณหภูมิ -20๐C และ +40๐C นั้นจะเป็ นกรณีพิเศษต้ องทําเครื่ องหมาย และช่วงอุณหภูมิโดยรอบนั้นบนบริ ภณ ั ฑ์และต้ องทําเครื่ องหมาย “Ta” หรื อ “Tamb” เพิ่มอีกด้ วย ๐ ๐ ตัวอย่างเช่น “-30 C Ta +40 C” บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ใช้ งานที่อุณหภูมิโดยรอบมากกว่า 40 ๐C ต้ องทําเครื่ องหมายแสดงอุณหภูมิ โดยรอบสูงสุดและอุณหภูมิใช้ งานหรื ออาจทําเครื่ องหมายแสดงช่วงอุณหภูมิใช้ งานที่อุณหภูมิ โดยรอบนั้นๆ ข้ อยกเว้ นที่ 1 บริ ภณ ั ฑ์ ชนิ ดทีไ่ ม่ทําให้เกิ ดความร้อนเช่น ท่อร้อยสาย และเครื ่องประกอบ และบริ ภณ ั ฑ์ ทีท่ ํา ๐ ให้เกิ ดความร้อนสูงสุดไม่เกิ น 100 C ไม่ตอ้ งแสดงค่าอุณหภูมิหรื อช่วงอุณหภูมิทีใ่ ช้งาน ข้ อยกเว้ นที่ 2 บริ ภณ ั ฑ์ ทีไ่ ด้รับรองสํ าหรับ บริ เวณอันตรายโซน 1 หรื อ โซน 2 ในข้อ 7.7.12.2 และ 7.7.12.3 ต้องทําเครื ่องหมายตามข้อ 7.7.9.2.3 และ ตารางที ่ 7-6

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-53

ตัวอย่างการทําเครื ่องหมาย II 2 G Ex d IIC T3 ประเภทอุณหภูมิใช้งาน ตารางที7่ .6 กลุ่มก๊ าซ ตารางที7่ .5 ประเภทออกแบบระบบป้ องกัน ตารางที7่ .4 สัญลักษณ์ อปุ กรณ์ ป้องกัน สภาวะการจุดระเบิ ด G (ก๊ าซ) D ลําดัฝ่บป้ องกันอันตราย โซน 0 ลําดับหมายเลข 1 โซน 1 ลําดับหมายเลข 2 โซน 2 ลําดับหมายเลข 3 กลุ่ม กลุ่ม I (เหมื อง) กลุ่ม II (พืน้ ทีอ่ ื น่ ๆ) 7.7.10 วิธีการเดินสายด้ วยระบบสายเคเบิล 7.7.10.1 ทั่วไป 7.7.10.1.1 วิธีเดินสายต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 5 ยกเว้ น ข้ อ 5.3 และ ข้ อ 5.14 หรื อ เป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 60079-14 โดยเป็ นอุปกรณ์และบริ ภณ ั ฑ์ต้องเป็ นชนิดที่ได้ รับการ รับรองแล้ วสําหรับบริ เวณอันตราย จากสถาบันที่เชื่อถือได้ เช่น UL, NEMA, FM, CSA, ECCS, PTB, LCIE หรื อ DEMKO เป็ นต้ น ตามที่ระบุในข้ อ 7.7.4 7.7.10.1.2 การเดินสายต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 7.7.10 ยกเว้ น การติ ดตัง้ ที เ่ ป็ น ระบบทีป่ ลอดภัยอย่างแท้จริ ง 7.7.10.1.3 การใช้ สายไฟฟ้าแกนเดียวชนิดไม่มีเปลือก ห้ ามใช้ สายแกนเดียวชนิดไม่มีเปลือก 7.7.10.1.4 การเดินสายเข้ าบริ ภณ ั ฑ์ การเดินสายเข้ าบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต้ องเป็ นไปตามที่กําหนด ในแต่ละแบบการป้องกัน (type of protection)

7-54

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.7.10.1.5 ทางผ่านของเปลวเพลิง เครื่ องห่อหุ้มสาย ช่องเดินสาย ต้ องมีการป้องกันไม่ให้ สาร ไวไฟทั้งที่เป็ นไอระเหย ก๊ าซ และ ของเหลวไหลผ่านจากพื ้นที่หนึ่งไปยังอีกพื ้นที่หนึ่ง และป้องกัน ไม่ให้ สารไวไฟดังกล่าวถูกเก็บขังอยูภ่ ายใน การป้องกันอาจทําโดยการปิ ดผนึก การระบายอากาศ หรื อเติมทรายให้ เต็มช่องว่าง 7.7.10.1.6 การเดินสายผ่านบริ เวณอันตราย สายไฟฟ้าที่เดินผ่านจากบริ เวณทั่วไปเข้ าหรื อ ผ่านบริ เวณอันตรายต้ องมีการป้องกันที่เหมาะสมกับโซนนั้น ๆ 7.7.10.1.7 การเดิน สายผ่า นผนัง การเดิน สายไฟฟ้ าผ่า นผนัง ระหว่ า งบริ เ วณทั่ว ไปกับ บริ เวณอันตรายต้ องมีการปิ ดผนึกที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการรั่วไหลของสารไวไฟจากบริ เวณ อันตรายไปยังบริ เวณทัว่ ไป 7.7.10.1.8 การต่อ สาย สายไฟฟ้ าที ่เ ดิน ในบริ เ วณอัน ตรายไม่ควรมี การต่อสาย กรณี ที่ จําเป็ นต้ องต่อสายต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 1.101 และใช้ วิธีการต่อสายที่เหมาะสมกับแต่ ละสถานที่ การต่อสายต้ องทําในเครื่ องห่อหุ้มที่มีระดับการป้องกันเหมาะสมกับโซนที่มีเครื่ อง ห่อหุ้มอยู่ หรื อ จุดต่อสายมีการเติมให้ เต็มด้ วยอิพอกซี (epoxy) คอมปาวด์ หรื อหลอดหดตัวด้ วย ความร้ อน (heat shrinkable tube) ตามกรรมวิธีที่ผ้ ผู ลิตกําหนด และจุดต่อสายต้ องไม่รับแรง ทางกล 7.7.10.2 โซน 0 ชนิดของสายเคเบิลและการเดินสายให้ เป็ นไปตามข้ อ 12.3 ของ IEC 60079-14 สําหรับชนิด การป้องกันแบบ “ia” (ความปลอดภัยแบบแท้ จริ ง) 7.7.10.3 โซน 1 และ โซน 2 ชนิดของสายเคเบิลและการเดินสายให้ เป็ นไปตามข้ อ 7.7.11 และข้ อกําหนดเพิ่มเติมในข้ อ 7.7.10.4 ถึง 7.7.10.8 หรื อตามมาตรฐาน IEC 60079-14 7.7.10.3.1 โซน 1 และ โซน 2 สายเคเบิลสําหรับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดติดตั้งถาวร เป็ นสาย เคเบิลฉนวนแร่ ห้ มุ เปลือกโลหะ, สายเคเบิลหุ้มเปลือกเทอร์ โมพลาสติก เช่น MI, MC, AC, CV หรื อ NYY เป็ นต้ น 7.7.10.3.2 สายสําหรั บบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้าชนิ ดเคลื่อนที่ ได้ ต้ องระบุแรงดันใช้ งานไม่เกิ น 240 โวลต์ เทียบกับดิน สายไฟฟ้าต้ องเป็ นชนิดมีเปลือกนอก พิกดั ใช้ กระแสในสายไม่เกิน 6 แอมแปร์ กรณีเป็ นบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ต้องต่อลงดิน สายไฟฟ้าต้ องมีสายดินรวมอยู่ด้วย ขนาดสายไฟฟ้าต้ อง ไม่เล็กกว่า 1.00 ตารางมิลลิเมตร

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-55

7.7.10.4 ข้ อกําหนดเพิ่มเติมสําหรั บเทคนิคการป้องกันแบบ “d” (Flameproof Enclosure) 7.7.10.4.1 การเข้ าสายเคเบิล ก) การเข้ าสายต้ องทําให้ เหมาะสมกับมาตรฐานที่กําหนดของบริ ภัณฑ์ อุปกรณ์ เข้ าสายเคเบิลต้ องเป็ นชนิดที่เหมาะสมกับสายเคเบิลที่ใช้ งาน การเข้ าสาย ต้ องไม่ทําให้ ระดับการป้องกันของอุปกรณ์ลดลง ข) ในที่ซึ่งสายเคเบิลเดินเข้ าบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าชนิดกันเปลวเพลิงโดยผ่านบุชชิง ชนิดกันเปลวเพลิงซึ่งเป็ นการเข้ าสายโดยอ้ อม บุชชิงที่อยู่นอกเครื่ องห่อหุ้ม ชนิดกันเปลวเพลิงจะต้ องมีการป้องกันที่เหมาะสม เช่นให้ สว่ นที่เปิ ดโล่งของ บุชชิงอยู่ในกล่องต่อสาย กล่องต่อสายนี ้อาจเป็ นกล่องต่อสายชนิดกันเปลว เพลิงหรื อหรื อมีการป้องกันแบบ “e” ค) ในที่ซงึ่ กล่องต่อสายเป็ นแบบ Ex “d” ระบบการเดินสายต้ องเป็ นไปตามที่ กําหนดในข้ อ 7.7.11 และในที่ซงึ่ กล่องต่อสายเป็ นแบบ Ex “e” ระบบการ เดินสายต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 7.7.11 ถ้ าการเดินสายเข้ าบริ ภณ ั ฑ์ ชนิดกันเปลวเพลิงเป็ นการเดินสายเข้ าโดยตรง ระบบการเดินสายต้ องเป็ นไป ตามที่กําหนดในข้ อ 7.7.11 7.7.10.4.2 ระบบการเข้ าสายเคเบิล ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดข้ อใดข้ อหนึง่ ดังนี ้ ก) ใช้ อปุ กรณ์เข้ าสายที่เหมาะสมกับเทคนิคการป้องกันที่ใช้ ข) ใช้ สายเคเบิลชนิดมีเปลือกตามที่อนุญาต สายเคเบิลต้ องเป็ นสายกลมเท่านั้น ค) ใช้ สายเคเบิลชนิด MI ที่อาจมีเปลือกพลาสติกหรื อไม่ก็ได้ ร่ วมกับอุปกรณ์ เข้ าสายเคเบิลชนิดกันเปลวเพลิง อุป กรณ์ ซีล ชนิด กัน เปลวเพลิง เช่น กล่องที่มีการซีล ตามที่ผ้ ผู ลิตบริ ภณ ั ฑ์กนั ระเบิดกําหนด หรื อเป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรองว่าใช้ ได้ กับสายเคเบิลที่ใช้ การซีลต้ องใช้ วัสดุที่เหมาะสมที่จะ สามารถหุ้มสายได้ โดยรอบ การซีลต้ องทําตรงจุดที่สายเดินเข้ าบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ง) ใช้ อุป กรณ์ เ ข้ า สายชนิด กัน เปลวเพลิง ที่ มี ก ารซี ล ที่ เ หมาะสมรอบ ๆ สาย เคเบิล จ) กรรมวิธีอื่นๆ ที่ไม่ทําให้ ความสามารถในการกันเปลวเพลิงของเครื่ องห่อหุ้ม ลดลง 7.7.10.5 ข้ อกําหนดเพิ่มเติมสําหรั บเทคนิคการป้องกันแบบ “e” (Increased Safety) ระบบการเดินสาย การเดินสายต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 7.7.10 และเพิ่มเติมดังนี ้

7-56

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7.7.10.5.1 การต่อสายเข้ ากับบริ ภณ ั ฑ์ชนิด “e” ต้ องใช้ อปุ กรณ์เข้ าสายชนิดที่เหมาะสมกับ สายเคเบิล การต่อสายต้ องไม่ทําให้ ความสามารถในการป้องกันลดลง และมี การซีลที่ทําให้ กล่องต่อสายมีระดับการป้องกันไม่ตํ่ากว่า IP54 หมายเหตุ 1) การซี ลกล่องต่อสาย ในมี ระดับการป้ องกันไม่ตํ่ากว่า IP54 อาจจํ าเป็ นต้องมี การซี ลระหว่าง อุปกรณ์ เข้าสายและเครื ่องห่อหุม้ เช่นใช้แหวนซี ลหรื อจุดซี ลทีเ่ กลียว 2) เกลี ยวของอุปกรณ์ เข้าสาย ที ่ต่อกับเครื ่ องห่ อหุ้มที ่หนาไม่ น้อยกว่ า 6 มิ ลลิ เมตร ไม่ จํ าเป็ นต้องมี การซี ลเพิ่ มเติ มระหว่างอุปกรณ์ เข้าสายกับเครื ่ องห่อหุ้มถ้าสายเคเบิ ลช่วงที ต่ ่อ เข้าอุปกรณ์ เข้าสายไม่โค้งงอ

7.7.10.5.2 การต่อสาย ขั ้วต่อสายบางชนิดเช่นชนิดที่เป็ นร่ องที่ยอมให้ สายเข้ าได้ มากกว่า หนึง่ เส้ น เมื่อมีสายเคเบิลมากกว่าหนึง่ เส้ นต่อเข้ าขั้วต่อสายเดียวกัน ต้ องมีการจับยึดที่เหมาะสม สายไฟฟ้าที่มีขนาดต่างกันห้ ามต่อเข้ าขั้วต่อสายเดียวกัน ยกเว้ นสายแต่ละเส้ นต่อเข้ าขั้วต่อสาย ชนิดบีบก่อน การต่อสายต้ องมีการป้องกันการลัดวงจรที่ขั้วต่อสายโดยการหุ้มฉนวนสายแต่ละเส้ นให้ สงู ถึง ส่วนที่เป็ นโลหะของกล่องต่อสาย 7.7.10.6 ข้ อกําหนดเพิ่มเติมสําหรั บเทคนิคการป้องกันแบบ “i” (Intrinsic Safety) 7.7.10.6.1 วงจรการเดินสายต้ องป้องกันผลจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรื อสนามไฟฟ้าจาก ภายนอกที่มีต่อบริ ภัณฑ์ การป้องกันอาจทําได้ โดยการใช้ screen หรื อสายตีเกลียว โดยมี ระยะห่างจากแหล่งกําเนิดสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เพียงพอ 7.7.10.6.2 การเดินสายต้ องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ และเพิ่มเติมตามข้ อใด ข้ อหนึง่ ที่กําหนด ดังนี ้ ก) สายเคเบิลของวงจรระบบที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง แยกออกจากระบบอื่น หรื อ ข) การติดตังสายเคเบิ ้ ลของวงจรระบบที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง มีการหลีกเลี่ยง จากความเสียหายทางกล หรื อ ค) สายเคเบิลของวงจรระบบที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ ง เป็ นชนิดมีเปลือกโลหะ หรื อปลอกโลหะ 7.7.10.6.3 ตัวนําของวงจรระบบที่ปลอดภัยอย่างแท้ จริ งกับตัวนําของวงจรอื่น ห้ ามอยู่ในสาย เคเบิลเดียวกัน

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-57

7.7.10.6.4 เมื่อสายเคเบิลระบบปลอดภัยที่แท้ จริ งกับสายตัวนําอื่นเดินรวมในช่องเดินสาย เดียวกัน ต้ องมีการกั้นแยกด้ วยวัสดุฉนวน หรื อโลหะที่มีการต่อลงดิน ยกเว้ นสายเคเบิลระบบ ปลอดภัยที่แท้ จริ งหรื อสายตัวนําอื่นใช้ สายไฟฟ้าชนิดมีเปลือกโลหะหรื อปลอกโลหะ 7.7.10.7 ข้ อกําหนดเพิ่มเติมสําหรับเทคนิคการป้องกันแบบ “p” (Pressurized apparatus) 7.7.10.7.1 การเดินช่ องเดินสาย ช่องเดินสายและส่วนที่มีการต่อ ต้ องสามารถทนความดันได้ ดงั นี ้ ก) สามารถทนความดันสูงสุดได้ 1.5 เท่า ในการทํางานปกติ ซึ่งกําหนดโดย ผู้ผลิตบริ ภณ ั ฑ์นั้น ๆ หรื อ ข) สามมารถทนความดันสูงสุดที่เกิดขึ ้นขณะที่จดุ ปลายทางทั้งหมดถูกปิ ด โดย ที่แหล่งกําเนิดความดัน (เช่น พัดลม) จะถูกกําหนดโดยผู้ผลิตบริ ภณ ั ฑ์นั้น ๆ ค่าความดันทั้ง 2 ข้ อ ไม่น้อยกว่า 200 พาสคัล (2 มิลลิบาร์ ) 7.7.10.7.2 วัส ดุที่ใ ช้ งานกับท่อ ร้ อยสายและส่ว นที่ มี ก ารต่อ ต้ อ งไม่ ได้ รั บ ผลกระทบอย่า ง รุนแรงทั้งจากก๊ าซ specified protective gas และ ก๊ าซ หรื อ ไอระเหยที่ตดิ ไฟได้ จุดต่าง ๆ ที่ก๊าซ specified protective gas เข้ าไปในท่อร้ อยสายได้ จะต้ องอยู่ในบริ เวณไม่ อันตราย ยกเว้ น for cylinder supplied protective gas การเดินท่อร้ อยสาย ต้ องเดินในบริ เวณไม่อันตราย เท่าที่สามารถทําได้ หากการเดินท่อผ่าน บริ เวณอันตราย และ ก๊ าซ specified protective gas มีความดันตํ่ากว่าบรรยากาศ การเดินท่อ ต้ องไม่มีจดุ ที่รั่วได้ 7.7.10.8 ข้ อกําหนดเพิ่มเติมสําหรั บบริภณ ั ฑ์ ท่ ใี ช้ ในโซน 2 ระบบการเดินสาย การเดินสายต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 7.7.10 และเพิ่มเติมดังนี ้ 7.7.10.8.1 การต่อสาย ต้ องใช้ อุปกรณ์เข้ าสายที่เหมาะสมกับสายเคเบิล การซีลกล่องต่อสายที่ต้องการให้ มีระดับการป้องกัน อาจจําเป็ นต้ องมีการซีลระหว่างอุปกรณ์เข้ า สาย และ เครื่ องห่อหุ้ม เช่น ใช้ แหวนซีล หรื อ อุดซีลที่เกลียว หมายเหตุ

เกลี ย วของอุป กรณ์ เ ข้า สาย ที ่ต่อ กับ เครื ่ องห่ อหุ้มที ่หนาไม่ น้อยกว่า 6 มิ ลลิ เมตร ไม่ จํ าเป็ นต้องมี การซี ลเพิ่ มเติ ม ระหว่างอุปกรณ์ เข้าสายกับเครื ่องห่อหุ้ม ถ้าสายเคเบิ ลช่วงที ต่ ่อ เข้าอุปกรณ์ เข้าสายไม่โก่งงอ

7.7.10.8.2 การต่อสาย ขั้วต่อสายบางชนิด เช่น ชนิดที่เป็ นร่ องที่ยอมให้ สายเข้ าได้ มากกว่า หนึ่ ง เส้ น เมื่ อ มี ส ายเคเบิ ล มากกว่ า หนึ่ ง เส้ น ต่ อ เข้ า ขั้ว ต่ อ สายเดี ย วกัน ต้ อ งมี ก ารจับ ยึ ด ที่

7-58

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

เหมาะสม สายไฟฟ้าที่มีขนาดต่างกัน ห้ ามต่อเข้ าขั้วต่อสายเดียวกัน ยกเว้ นสายแต่ละเส้ นต่อเข้ า ขั้วต่อสายชนิดบีบก่อน การต่อสายต้ องมีการป้องกันการลัดวงจร ที่ขั้วต่อสายโดยการหุ้มฉนวนสายแต่ละเส้ นให้ สงู ถึง ส่วนที่เป็ นโลหะของกล่องต่อสาย 7.7.11 วิธีเดินสายเคเบิล การเดินสายเคเบิลต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 7.7.10 และข้ อกําหนดเพิ่มเติมในข้ อ 7.7.10.4 ถึง 7.7.10.8 หรื อตามมาตรฐาน IEC 60079-14 7.7.12 บริภณ ั ฑ์ ใช้ สอย 7.7.12.1 โซน 0 ในบริ เวณอันตราย โซน 0 บริ ภณ ั ฑ์ที่ใช้ สอยที่มีรายชื่อและทําเครื่ องหมาย โดยเฉพาะเท่านั้นจึงอนุญาตให้ ใช้ ในบริ เวณอันตราย โซน 0 ยกเว้ น บริ ภณ ั ฑ์ ของระบบ ปลอดภัยที แ่ ท้จริ งที ม่ ี รายชื ่อสํ าหรับใช้ในบริ เวณอันตรายโซน 0 ที ่เป็ นก๊ าซชนิ ดเดี ยวกัน หรื อ อนุญาตตามข้อ 7.7.6.4 และมี พิกดั อุณหภูมิทีเ่ หมาะสมสามารถใช้ในบริ เวณอันตรายโซน 0 ได้ 7.7.11.2 โซน 1 ในบริ เวณอันตรายโซน 1 บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยที่มีรายชื่อและทําเครื่ องหมาย โดยเฉพาะเท่านั้นจึงอนุญาตให้ ใช้ ในบริ เวณอันตรายโซน 1 ยกเว้ น บริ ภณ ั ฑ์ ได้รับการรับรอง สําหรับใช้ในบริ เวณอันตราย หรื อทีม่ ี รายชื ่อสําหรับใช้ในบริ เวณอันตราย โซน 0 ทีเ่ ป็ นก๊ าซชนิ ด เดี ยวกัน หรื ออนุญาตตามข้อ 7.7.6.4 และมี พิกดั อุณหภูมิที่เหมาะสมสามารถใช้บริ เวณ อันตรายโซน 1 ได้ 7.7.12.3 โซน 2 ในบริ เวณอันตราย โซน 2 บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอยที่มีรายชื่อและทําเครื่ องหมาย โดยเฉพาะเท่านั้นจึงอนุญาตให้ ใช้ ในบริ เวณอันตราย โซน 2 ข้ อยกเว้ นที่

ข้ อยกเว้ นที่

1 บริ ภณ ั ฑ์ ทีม่ ี รายชื ่อสําหรับใช้ในบริ เวณอันตราย โซน 0 หรื อโซน 1 ที เ่ ป็ น ก๊ า ซชนิ ด เดี ย วกัน และมี พิ กัด อุณ หภู มิ เ หมาะสมสามารถใช้ ใ นบริ เวณ อันตราย โซน 2ได้ 2 ในบริ เวณอันตราย โซน 2 อนุญาตให้ติดตัง้ มอเตอร์ แบบเปิ ด หรื อแบบมี เครื ่ อ งห่ อ หุ้ม ชนิ ด ไม่ ท นระเบิ ด หรื อ ไม่ ท นเปลวเพลิ ง เช่ น มอเตอร์ แ บบ เหนีย่ วนําโรเตอร์ เป็ นชนิ ดกรงกระรอกซึ่งไม่มีแปรงถ่าน หรื ออุปกรณ์ อืน่ ทีท่ ํา ให้เกิ ดอาร์ กชนิ ดทีค่ ล้ายกัน

7.7.12.4 ข้ อแนะนําของผู้ผลิต บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ติดตั้งในบริ เวณอันตราย (แยกประเภท) ต้ องทําการติดตั้งตามข้ อแนะนําของ ผู้ผลิต

บทที่ 7 บริเวณอันตราย

7-59

7.7.13 การต่ อลงดินและการต่ อฝาก การต่อลงดินและการต่อฝากบริ เวณอันตราย โซน 1 และโซน 2 ต้ องเป็ นไปตามบทที่ 4 และ เพิ่มเติมดังนี ้ 7.7.13.1 การต่อฝาก วิธีการต่อฝาก ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.16.1 7.7.13.2 ชนิดของตัวนําสําหรับการต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 7.3.16.2 7.7.13.3 การต่อลงดินและการต่อฝาก บริ เวณโซน 0 เพิ่มเติมตามข้ อ 7.6.8 และตามข้ อ 7.6.9

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8-1

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ ข้ อ กํ า หนดในบทนี เ้ กี่ ย วกับ การออกแบบระบบไฟฟ้ าสํา หรั บ สถานที่ เ ฉพาะ ซึ่งเกี่ ย วข้ อ งกับ สาธารณะชนจํานวนมาก จึงต้ องการความปลอดภัยเป็ นพิเศษได้ แก่ โรงมหรสพ ป้ายโฆษณา สถานบริ การ และโรงแรม

8.1 โรงมหรสพ 8.1.1 ทั่วไป 8.1.1.1 โรงมหรสพ หมายถึง อาคารหรื อส่วนใดของอาคารที่ ใช้ เป็ นสถานที่ สําหรั บฉาย ภาพยนตร์ แสดงละคร แสดงดนตรี หรื อการแสดงรื่ นเริ งอื่นใด และมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิ ดให้ สาธารณชนเข้ าชมการแสดงนันเป็ ้ นปกติธุระ โดยจะมีคา่ ตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม 8.1.1.2 การเดินสายสําหรับโรงมหรสพให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ใน บทนี ้ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของการเดินสายในบทที่ 5 8.1.1.3 ข้ อกําหนดนี ้ใช้ เฉพาะระบบแรงดันไม่เกิน 1,000 โวลต์ เท่านั้น 8.1.2 สายไฟฟ้า 8.1.2.1 สายไฟฟ้าระบบแรงตํ่า ในส่วนภายในที่ผ้ ูนั่งชมการแสดง ห้ องควบคุม เวที ช่อง ทางเดิน บันได ทางหนีไฟ ต้ องเป็ นสายตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนตามข้ อ 11.2.1 Cat.C ข้ อ 11.2.2 และข้ อ 11.2.3 ยกเว้ น โรงมหรสพประเภท จ ตามกฎหมายควบคุมอาคาร 8.1.2.2 สายไฟฟ้าของวงจรช่วยชีวิตต้ องเป็ นสายตัวนําทองแดงหุ้มฉนวน ตามที่กําหนดใน ข้ อ 12.8 8.1.2.3 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.25.1 8.1.2.4 ไม่อนุญาตให้ ใช้ สายไฟฟ้าที่มีขนาดเล็กกว่า 1.0 ตร.มม. 8.1.3 วิธีการเดินสาย 8.1.3.1 สายของวงจรย่อยต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. 8.1.3.2 เครื่ องใช้ ไฟฟ้าและบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่เวลาทํางานมีประกายไฟเกิดขึ ้น เช่น เครื่ องหรี่ ไฟ สวิตช์ ฯลฯ ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มที่เป็ นโลหะ ยกเว้ น สวิ ตช์ ขนาดไม่เกิ น 5 แอมแปร์

8-2

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8.1.3.3 การเดินสายเฉพาะส่วนที่อยู่ภายในอาคาร ให้ ใช้ วิธีการเดินสายด้ วยช่องเดินสาย โลหะ หรื อใช้ สายเคเบิลชนิด MI หรื อ สายทนไฟ เท่านั้น ห้ ามใช้ ช่องเดินสายอโลหะและการใช้ ช่องเดินสายต้ อ งใช้ ตัวคูณปรั บค่าขนาดกระแสเนื่ องจากจํ านวนสายที่นํากระแสในช่องเดิน สายไฟฟ้าเดียวกันมากกว่า 1 กลุม่ วงจร ตามตารางที่ 5-8 8.1.3.4 การเดินสายไฟฟ้าต้ องมีการป้องกันไฟลุกลาม ตามบทที่ 5 8.1.4 การออกแบบระบบไฟฟ้า 8.1.4.1 ต้ องติดตั้งบริ ภณ ั ฑ์ประธานตามที่กําหนดในบทที่ 3 8.1.4.2 ต้ องมีการแบ่งวงจรย่อยเพื่อจ่ายไฟฟ้าให้ กบั ส่วนต่างๆ อย่างน้ อยที่สดุ ดังต่อไปนี ้ ก) ส่วนภายในที่ผ้ นู งั่ ชมการแสดง ข) ส่วนห้ องฉาย ค) ส่วนไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากําลังบนเวที ง) ส่วนเครื่ องปรับอากาศและเครื่ องระบายอากาศ จ) ส่วนไฟฟ้าแสงสว่างประจําที่ทวั่ ไปของอาคารและอื่นๆ ฉ) ส่วนไฟฟ้าที่ตดิ ตั้งเป็ นครั้งคราวบนเวที ช) ส่วนไฟฟ้าที่เกี่ยวข้ องกับอุปกรณ์สําหรับการผจญเพลิง (ถ้ ามี) ซ) ส่วนไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและป้ายทางออก 8.1.4.3 บริ ภณ ั ฑ์ประธานและแผงสวิตช์หรื อแผงย่อยของวงจรย่อย ตามข้ อ 8.1.4.1 และข้ อ 8.1.4.2 ต้ องทําด้ วยวัสดุทนไฟและติดตั้งรวมกันในห้ องที่จดั ไว้ โดยเฉพาะ ห้ องต้ องสร้ างด้ วย วัสดุทนไฟที่มีอตั ราการทนไฟและกันไฟลามอย่างน้ อย 2 ชัว่ โมง 8.1.4.4 เครื่ องป้องกันกระแสเกินของบริ ภัณฑ์ ประธานและวงจรย่อย ต้ องติดตั้งในกล่อง โลหะหรื อตู้โลหะ เพื่อป้องกันประกายไฟและการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้าโดยบังเอิญ 8.1.4.5 บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทุกชนิด ที่มีเปลือกนอกเป็ นโลหะต้ องต่อลงดินตามบทที่ 4 8.1.4.6 หากติดตั้งเครื่ อ งกํ า เนิ ดไฟฟ้า เพื่ อการจ่า ยกํ าลังไฟฟ้ าสํ า รอง ต้ อ งติดตั้งเครื่ อ ง ป้องกันกระแสเกิน และต้ องมีการป้องกันการจ่ายไฟชนกันกับระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ และ การติดตั้งให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในมาตรฐานระบบเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าของ วสท. 8.1.4.7 การติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่า งฉุกเฉิ นให้ เป็ นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่า ง ฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ของ วสท. 8.1.5 เครื่ องปลดวงจรและเครื่ องป้องกันกระแสเกิน วงจรไฟฟ้าตามข้ อ 8.1.4.2 ต้ องติดตั้งเครื่ องปลดวงจรและเครื่ องป้องกันกระแสเกิน ขนาดของ เครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 3

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8-3

8.1.6 การติดตัง้ บริภณ ั ฑ์ บนเวทีและห้ องฉาย 8.1.6.1 แผงสวิตช์ และแผงย่ อยที่ตดิ ประจําที่ 8.1.6.1.1 แผงสวิ ต ช์ แ ละแผงย่ อ ยต้ อ งทํ า ด้ ว ยวัส ดุท นไฟและเป็ นแบบด้ า นหน้าไม่ มี ไ ฟ ด้ านหลังของแผงสวิตช์หรื อแผงย่อยต้ องมีที่กั้นหรื อกั้นด้ วยส่วนของอาคารที่ทนไฟ 8.1.6.1.2 ทุกวงจรย่อยที่จ่ายจากแผงสวิตช์หรื อแผงย่อยต้ องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสเกิน 8.1.6.2 บริภณ ั ฑ์ ตดิ ประจําที่ 8.1.6.2.1 หลอดไฟที่ติดที่พืน้ หน้ าเวทีต้องมี การป้องกันความเสียหายทางกายภาพและมี ระบบการระบายความร้ อนอย่างพอเพียง 8.1.6.2.2 หลอดไฟชนิดแขวนหรื อชนิดติดเพดาน ต้ องมีการป้องกันหลอดไฟหลุดจากที่ยึด และต้ องอยูส่ งู จากพื ้นไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร 8.1.6.2.3 มอเตอร์ ที่ใช้ สําหรับปิ ด-เปิ ดม่าน ถ้ าเป็ นชนิดที่มีแปรงถ่านหรื อชนิดที่คล้ ายกัน ซึ่ง เวลาทํางานมีประกายไฟเกิดขึ ้น ต้ องเป็ นแบบใดแบบหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) มอเตอร์ เป็ นแบบปิ ดมิดชิด ข) มอเตอร์ อยูใ่ นฝาครอบที่ทําด้ วยวัสดุไม่ตดิ ไฟและระบายอากาศได้ 8.1.6.3 บริภณ ั ฑ์ ชนิดหยิบยกได้ 8.1.6.3.1 สายไฟฟ้ าที่จ่ายไฟฟ้ าให้ กับแผงสวิตช์หรื อแผงย่อยชนิดหยิบยกได้ ต้องเป็ นสาย ทองแดงมีฉนวนและเปลือกนอกหุ้ม เป็ นสายชนิดอ่อนตัวได้ ดี เป็ นเส้ นเดียวตลอดไม่มีรอยต่อ และต้ องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสเกินไว้ ที่ต้นทางด้ วย 8.1.6.3.2 แผงสวิตช์ หรื อแผงย่อยชนิดหยิบยกได้ เต้ ารั บ และหลอดไฟ ต้ องมีการป้องกัน ความเสียหายทางกายภาพที่เหมาะสม 8.1.6.3.3 บริ ภณ ั ฑ์ที่ขณะใช้ งานอาจมีประกายไฟต้ องติดตั ้งในที่ที่ห่างจากวัสดุติดไฟได้ หรื อ มีการป้องกันที่เหมาะสม 8.1.7 การต่ อลงดิน ต้ องมีการต่อลงดินตามที่กําหนดในบทที่ 4 และเป็ นดังนี ้ 8.1.7.1 การต่อตัวนําเข้ ากับหลักดินให้ ใช้ วิธีการต่อเชื่อมด้ วยความร้ อน 8.1.7.2 การต่อลงดินต้ องจัดทําจุดทดสอบ สําหรับใช้ วดั ค่าความต้ านทานการต่อลงดิน และ จุดทดสอบนี ้ต้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก 8.1.8 หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลง ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.4 หากติดตั้งภายในอาคารต้ องเป็ นชนิดแห้ ง หรื อฉนวนไม่ติด ไฟ ติดตั้งอยูใ่ นเครื่ องห่อหุ้มที่มีระดับการป้องกันไม่ตํ่ากว่า IP 21 ตามข้ อ 2.8 และฉนวนต้ องไม่

8-4

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

เป็ นพิษต่อบุคคลและสิ่งแวดล้ อม ไม่อนุญาตให้ ติดตั้งหม้ อแปลงชนิดฉนวนติดไฟได้ หรื อหม้ อ แปลงชนิดฉนวนติดไฟยากภายในอาคาร ใต้ อาคาร บนดาดฟ้า หรื อบนส่วนยื่นของอาคาร

8.2 ป้ายโฆษณา 8.2.1 ทั่วไป 8.2.1.1 ให้ ใช้ กับระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง ที่ติดตั ้งเพื่อให้ ความสว่างแก่ป้ายโฆษณาในที่ สาธารณะซึง่ โครงสร้ างโลหะของป้ายอยู่สงู จากพื ้นไม่เกิน 2.50 เมตร ทั้งนี ้โครงสร้ างโลหะที่ รองรับป้ายให้ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของป้าย ทั ้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างที่ติดตั ้งอยู่ภายนอกป้ายและ ภายในป้าย และให้ รวมถึงป้ายโฆษณาที่ใช้ มอเตอร์ ไฟฟ้าในการเคลื่อนไหวป้ายด้ วย 8.2.1.2 การเดินสายสําหรับป้ายโฆษณา ให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุ ไว้ ในบทนี ้ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของการเดินสาย 8.2.1.3 ป้ายโฆษณาแบบมีล้อเข็น แบบยกย้ ายได้ ต้ องติดตั้งเครื่ องตัดไฟรั่วที่ต้นทางของ วงจรที่จ่ายไฟให้ ป้ายโฆษณาดังกล่าว 8.2.2 สายไฟฟ้า 8.2.2.1 สายไฟฟ้าที่ใช้ ทวั่ ไปต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนและมีเปลือกนอกกันความชื ้นได้ 8.2.2.2 ส า ย ใ ต้ ดิ น ต้ อ ง เ ป็ น ส า ย ท อ ง แ ด ง หุ้ ม ฉ น ว น พี วี ซี ต า ม ม า ต ร ฐ า น ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่ มอก.11-2553 รหัสชนิด NYY หรื อ VCT สายหุ้มฉนวน XLPE มีเปลือก นอก หรื อสายอื่นที่มีคณ ุ สมบัตไิ ม่ตํ่ากว่า และต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. 8.2.2.3 กรณี ที่ มี ห ลอดไฟฟ้ าติ ด ตั้ง อยู่ภ ายในป้ ายโฆษณา สายไฟฟ้ าที่ ใ ช้ ภ ายในป้ าย โฆษณาต้ องเป็ นชนิดที่ทนความร้ อนที่เกิดขึ ้นภายในป้ายโฆษณานั้นได้ และต้ องมีอุณหภูมิใช้ งานไม่ตํ่ากว่า 90 ºC 8.2.3 วิธีการเดินสาย 8.2.3.1 สายไฟฟ้าต้ องร้ อยในท่อโลหะหนาหรื อหนาปานกลาง ยกเว้ น ส่วนทีอ่ ยู่ภายใน ป้ าย 8.2.3.2 สายใต้ ดินต้ องร้ อยในท่อ และการติดตั ้งต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 5 และข้ อ อื่นที่เกี่ยวข้ อง 8.2.3.3 การต่อสายให้ ปฏิบตั ิตามที่กําหนดในบทที่ 1 และในทุกกรณี ไม่อนุญาตให้ ใช้ สาย พันรอบหมุดเกลียว 8.2.4 การออกแบบระบบไฟฟ้า 8.2.4.1 ทุกวงจรย่อยต้ องติดตั้งเครื่ องปลดวงจรและเครื่ องป้องกันกระแสเกิน

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8-5

8.2.4.2 การคํานวณโหลดของวงจรย่อย ให้ คํานวณตามที่ตดิ ตั้งใช้ งานจริ ง 8.2.4.3 บริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ องติดตั้งอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มมิดชิด ถ้ าติดตั้งภายนอกอาคารต้ อง เป็ นชนิดกันฝนได้ 8.2.5 การต่ อลงดิน 8.2.5.1 ดวงโคม ก้ านดวงโคม และ/หรื อโครงของป้ายโฆษณาที่เป็ นโลหะ รวมทั้งส่วนโลหะ ของบริ ภณ ั ฑ์ที่ไม่ใช้ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้าต้ องต่อลงดินตามที่ระบุในบทที่ 4 8.2.5.2 ดวงโคม ก้ านดวงโคม และ/หรื อโครงของป้ายโฆษณาที่ เป็ นโลหะหากติดตั้งกับ โครงสร้ างโลหะ โครงสร้ างโลหะนั้นต้ องต่อเชื่อมกันทางไฟฟ้าโดยตลอด และต้ องต่อลงดิน 8.2.5.3 ตัวนํ าต่อหลักดินต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนและมี ขนาดตามที่กําหนดในข้ อ 4.19 และต้ องไม่เล็กกว่า 16 ตร.มม.และต้ องร้ อยในท่อโลหะหนาหรื อหนาปานกลาง 8.2.5.4 การต่อตัวนําเข้ ากับหลักดินต้ องใช้ วิธีเชื่อมด้ วยความร้ อนเท่านั้น 8.2.5.5 หลักดินต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 2.4.1 ทําด้ วยทองแดงหรื อโลหะอื่นหุ้มด้ วย ทองแดงเท่านั้น ปลายบนสุดต้ องฝั งลึกจากผิวดินไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร 8.2.5.6 การต่อลงดินต้ องมีจดุ ทดสอบ การต่อลงดินต้ องจัดทําจุดทดสอบ สําหรับใช้ วดั ค่า ความต้ านทานการต่อลงดิน และจุดทดสอบนี ้ต้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก 8.2.6 วงจรย่อยที่จ่ายไฟให้ ป้ายโฆษณาที่อยู่ภายในอาคารในระยะเอื ้อมถึงและภายนอก อาคาร จะต้ องป้องกันไฟฟ้าดูด โดยใช้ เครื่ องตัดไฟรั่ว ขนาด IΔn ไม่เกิน 30 มิลลิแอมแปร์

8.3 สถานบริการ 8.3.1 ทั่วไป 8.3.1.1 สถานบริ การหมายถึง อาคารหรื อส่วนใดของอาคารที่ใช้ ประกอบกิจการเป็ นสถาน บริ การตามกฎหมายว่าด้ วยสถานบริ การ และอาคารที่เป็ นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง เรื่ อง กําหนดประเภทและระบบความปลอดภัยของอาคารที่ใช้ เพื่อประกอบกิจการเป็ นสถานบริ การ พ.ศ. 2555 ซึง่ ออกตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แบ่งออกเป็ น 6 ประเภท ดังนี ้ สถานบริการประเภท ก หมายความถึง สถานบริ การที่เป็ นอาคารเดี่ยวหรื อที่ตั้งอยู่ในอาคารที่ ประกอบกิจการหลายประเภทรวมกัน ซึง่ มีการจัดพื ้นที่บริ การน้ อยกว่า 200 ตารางเมตร สถานบริ การประเภท ข หมายความถึง สถานบริ การที่เป็ นอาคารเดี่ยว ซึ่งมีการจัดพื ้นที่ บริ การตั้งแต่ 200 ตารางเมตร แต่ไม่ถึง 500 ตารางเมตร

8-6

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

สถานบริ การประเภท ค หมายความถึง สถานบริ การที่เป็ นอาคารเดี่ยว ซึ่งมีการจัดพื ้นที่ บริ การตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ ้นไป สถานบริ การประเภท ง หมายความถึง สถานบริ การที่ตั้งอยู่ในอาคารที่ประกอบกิจการหลาย ประเภทรวมกัน ซึง่ มีการจัดพื ้นที่บริ การตั้งแต่ 200 ตารางเมตร แต่ไม่ถึง 500 ตารางเมตร สถานบริการประเภท จ หมายความถึง สถานบริ การที่ตั้งอยู่ในอาคารที่ประกอบกิจการหลาย ประเภทรวมกัน ซึง่ มีการจัดพื ้นที่บริ การตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ ้นไป สถานบริ การประเภท ฉ หมายความถึง สถานบริ การที่เป็ นอาคารชั้นเดียวและไม่มีผนัง ภายนอกหรื อมีผนังภายนอกซึ่งมีความยาวรวมกันน้ อยกว่าครึ่ งหนึ่งของความยาวเส้ นรอบรู ป ภายนอกของพื ้นที่อาคารที่อยูภ่ ายใต้ หลังคาคลุม ซึง่ มีการจัดพื ้นที่บริ การตั้งแต่ 200 ตารางเมตร ขึ ้นไป 8.3.1.2 นิยาม พืน้ ที่สถานบริการ หมายความว่า พื ้นที่ของอาคารที่อยู่ภายในขอบเขตของผนังภายนอกสถาน บริ การ โดยให้ รวมถึงพื ้นที่ของช่องทางเดิน ช่องบันได ตู้ หรื อความหนาของฝา เสาหรื อ ส่วนประกอบอื่นของอาคารที่คล้ ายคลึงกัน เฉลียงหรื อระเบียงที่ใช้ เป็ นส่วนหนึ่งของสถานบริ การ และพื ้นที่ของอาคารหรื อส่วนของพื ้นที่ที่ไม่มีผนังภายนอกที่อยู่ใต้ หลังคาคลุมหรื ออยู่ใต้ พื ้นชั้น ถัดไปแต่ไม่รวมถึงพื ้นที่ของช่องท่อ ช่องลิฟต์ และที่จอดรถ พืน้ ที่บริ การ หมายความว่า พื ้นที่ที่จดั ไว้ สําหรับให้ บริ การตามวัตถุประสงค์ของกิจการสถาน บริ การนั้น ๆ แต่ไม่รวมถึงพื ้นที่ประกอบการให้ บริ การ เช่น พื ้นที่จอดรถ ห้ องนํ ้า ห้ องครัวห้ องเก็บ ของ ห้ องเครื่ องระบบต่าง ๆ ช่องทางเดิน ช่องท่อ ช่องบันได ช่องลิฟต์ พื ้นที่จดั เตรี ยมเครื่ องดื่ม 8.3.1.3 การเดินสายสําหรับสถานบริ การให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ในบทนี ้ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของการเดินสาย 8.3.1.4 ข้ อกําหนดหนี ้ใช้ เฉพาะระบบแรงดันไม่เกิน 1,000 โวลต์ เท่านั้น 8.3.2 สายไฟฟ้า 8.3.2.1 สายไฟฟ้าระบบแรงตํ่า ในพื ้นที่บริ การต้ องเป็ นสายตัวนําทองแดงหุ้มฉนวน ตามข้ อ 11.2.1 Cat.C ข้ อ 11.2.2 และข้ อ 11.2.3 ยกเว้ น สถานบริ การประเภท ก และ ฉ ตามกฎหมายควบคุมอาคาร 8.3.2.2 สายไฟฟ้าของวงจรช่วยชีวิตต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 12.8 8.3.3 วิธีการเดินสาย 8.3.3.1 การเดินสายส่วนที่อยูน่ อกอาคาร ให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 5

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8-7

8.3.3.2 การเดินสายเฉพาะส่วนที่อยู่ภายในอาคาร ให้ ใช้ วิธีการเดินสายด้ วยช่องเดินสาย โลหะ หรื อใช้ เคเบิลชนิด MI หรื อ สายทนไฟเท่านัน้ ห้ ามใช้ ช่องเดินสายอโลหะ และการใช้ ช่อง เดินสายต้ องใช้ ตวั คูณปรับค่าขนาดกระแสเนื่องจากจํานวนสายที่นํากระแสในช่องเดินสายไฟฟ้า เดียวกันมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ตามตารางที่ 5-8 ยกเว้ น การเดิ นสายในห้องหม้อแปลงและ ห้องไฟฟ้ ารวมอนุญาตให้เดิ นสายบนรางเคเบิ ลได้ 8.3.3.3 การเดินสายไฟฟ้าต้ องมีการป้องกันไฟลุกลาม ตามบทที่ 5 8.3.4 การออกแบบระบบไฟฟ้า 8.3.4.1 การคํานวณโหลดให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 3 8.3.4.2 ต้ องมีการแบ่งวงจรย่อยเพื่อจ่ายไฟฟ้าให้ กบั ส่วนต่าง ๆ อย่างน้ อยที่สดุ ดังต่อไปนี ้ ก) ส่วนไฟฟ้าแสงสว่างภายในพื ้นที่บริ การ ข) ส่วนช่องทางเดิน บันได ทางหนีไฟ และห้ องควบคุม ค) ส่วนไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากําลังบนเวที ง) ส่วนระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน จ) ส่วนเครื่ องปรับอากาศและเครื่ องระบายอากาศ ฉ) ส่วนไฟฟ้าที่ตดิ ตั้งเป็ นครั้งคราวบนเวที ช) ส่วนของเต้ ารับ ซ) ส่วนไฟฟ้าที่เกี่ยวข้ องกับวงจรช่วยชีวิตอุปกรณ์สําหรับการผจญเพลิง (ถ้ ามี) 8.3.4.3 วงจรย่อยและสายป้อนต้ องมีเครื่ องป้องกันกระแสเกิน พิกัดเครื่ องป้องกันกระแส เกินไม่ตํ่ากว่า 1.25 เท่า ของโหลดที่คํานวณได้ และเป็ นไปตามที่กําหนดใบบทที่ 3 8.3.4.4 เต้ ารับต้ องเป็ นชนิดมีขั้วสายดินและต้ องต่อลงดินตามที่กําหนดในบทที่ 4 8.3.4.5 วงจรย่อยเต้ ารับที่ติดตั้งในพื ้นที่บริ การและห้ องครัวต้ องต่อลงดินและต่อผ่านเครื่ อง ตัดไฟรั่ว 8.3.4.6 บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าในวงจรย่อยแสงสว่างในพื ้นที่บริ การต้ องต่อลงดิน ยกเว้ น ใช้แรงดัน ไม่เกิ น 50 โวลต์ และต่อผ่านหม้อแปลงชนิ ดแยกขดลวด ดวงโคมที่อยู่ห่างจากพื ้นหรื อโลหะที่ต่อลงดินไม่เกิน 2.40 เมตรในแนวดิ่ง หรื อ1.50 เมตร ใน แนวระดับ และบุคคลอาจสัมผัสได้ โดยบังเอิญ ต้ องต่อผ่านเครื่ องตัดไฟรั่ว 8.3.4.7 หากติดตัง้ เครื่ อ งกํ า เนิ ดไฟฟ้า เพื่ อการจ่า ยกํ าลังไฟฟ้ าสํ า รอง ต้ อ งติดตั้งเครื่ อ ง ป้องกันกระแสเกิน และต้ องมีการป้องกันการจ่ายไฟชนกันกับระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ และ การติดตั้งให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในมาตรฐานระบบเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าของ วสท.

8-8

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8.3.4.8 การติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่า งฉุกเฉิ นให้ เป็ นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่า ง ฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ของ วสท. 8.3.5 การติดตัง้ บริภณ ั ฑ์ บนเวที 8.3.5.1 แผงสวิตซ์ และแผงย่ อยที่ตดิ ประจําที่ ก) แผงสวิตช์และแผงย่อยต้ องทําด้ วยวัสดุทนไฟและเป็ นแบบด้ านหน้ าไม่มีไฟ ด้ านหลังของแผงสวิตช์หรื อแผงย่อยต้ องมีที่กั้น หรื อกั้นด้ วยส่วนของอาคารที่ทน ไฟ ข) ทุกวงจรย่อยที่จ่ายจากแผงสวิตช์หรื อแผงย่อยต้ องติดตั้ง เครื่ องป้องกันกระแส เกิน 8.3.5.2 บริภณ ั ฑ์ ตดิ ประจําที่ ก) หลอดไฟที่ติดที่พื ้นหน้ าเวทีต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพและมี ระบบการระบายความร้ อนอย่างพอเพียง ข) หลอดไฟชนิดแขวนหรื อชนิดติดเพดาน ต้ องมีการป้องกันหลอดไฟหลุดจากที่ยดึ ตกลงพื ้น 8.3.5.3 บริภณ ั ฑ์ ชนิดหยิบยกได้ ก) สายไฟฟ้าที่จ่ายไฟฟ้าให้ กบั แผงสวิตช์หรื อแผงย่อยชนิดหยิบยกได้ ต้องเป็ นสาย ทองแดงมีฉนวนและเปลือกนอกหุ้ม เป็ นสายชนิดอ่อนตัวได้ ดี เป็ นเส้ นเดียว ตลอดไม่มีรอยต่อ และต้ องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสเกินไว้ ที่ต้นทางด้ วย ข) บริ ภัณฑ์ไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้ รวมทั้ง เต้ ารั บ และหลอดไฟ ต้ องมีการป้องกัน ความเสียหายทางกายภาพที่เหมาะสม และต้ องต่อผ่านเครื่ องตัดไฟรั่ว 8.3.6 บริภณ ั ฑ์ ตดิ ประจําที่ 8.3.6.1 มอเตอร์ ที่ใช้ สําหรับปิ ด-เปิ ดม่าน (ถ้ ามี) ถ้ าเป็ นชนิดที่มีแปรงถ่านหรื อชนิดที่คล้ ายกัน ซึง่ เวลาทํางานมีประกายไฟเกิดขึ ้น ต้ องเป็ นแบบใดแบบหนึง่ ดังต่อไปนี ้ ก) มอเตอร์ เป็ นแบบปิ ดมิดชิด ข) มอเตอร์ อยูใ่ นฝาครอบที่ทําด้ วยวัสดุไม่ตดิ ไปและระบายอากาศได้ 8.3.6.2 เครื่ องใช้ ไฟฟ้าและบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่เวลาทํางานมีประกายไฟเกิดขึ ้น เช่น เครื่ องหรี่ ไฟ สวิตช์ ฯลฯ ต้ องมีเครื่ องห่อหุ้มที่เป็ นโลหะ ยกเว้ น สวิ ตช์ ขนาดไม่เกิ น 5 แอมแปร์ 8.3.6.3 สระหรื ออ่างกายภาพบําบัด ธาราบําบัด อ่างนํ ้าแร่ (spa) อ่างนํ ้าร้ อน (hot tub) อ่าง นวดตัว ต้ องต่อผ่านเครื่ องตัดไฟรั่ว

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8-9

8.3.7 หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลง 8.3.7.1 หม้ อแปลงต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.4 หากติดตั้งภายในอาคารต้ องเป็ นชนิด แห้ งหรื อฉนวนไม่ติดไฟ ติดตั้งอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มที่มีระดับการป้องกัน ไม่ตํ่ากว่า IP 21 ตามข้ อ 2.8 และฉนวนต้ องไม่เป็ นพิษต่อบุคคลและสิ่งแวดล้ อม ไม่อนุญาตให้ ติดตั้งหม้ อแปลงชนิด ฉนวนติดไฟได้ หรื อหม้ อแปลงชนิดฉนวนติดไฟยากภายในอาคาร ใต้ อาคาร บนดาดฟ้า หรื อบน ส่วนยื่นของอาคาร 8.3.7.2 ห้ องหม้ อแปลง ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.4 8.3.8 บริภณ ั ฑ์ ประธาน 8.3.8.1 บริ ภณ ั ฑ์ประธาน ต้ องติดตั้งในห้ องหรื อสถานที่ซงึ่ จัดไว้ โดยเฉพาะ มีพื ้นที่ว่างเพื่อ ปฏิบตั ิงานพอเพียง ถ้ าเป็ นห้ องต้ องสร้ างด้ วยวัสดุทนไฟที่มีอตั ราการทนไฟและกันไฟลามอย่าง น้ อย 2 ชัว่ โมง มีระดับการป้องกันไม่ตํ่ากว่า IP 21 8.3.8.2 แผงสวิตช์แรงสูง ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.7 มีระดับการป้องกันของเครื่ อง ห่อหุ้มไม่ตํ่ากว่า IP 31 ตามข้ อ 2.8 และเครื่ องป้องกันกระแสเกินแรงสูง ถ้ าใช้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ต้ องเป็ นชนิดฉนวนไม่ตดิ ไฟ หากใช้ ชดุ ฟิวส์กําลัง ต้ องใช้ ประกอบกับสวิตช์สําหรับตัดโหลด พิกดั กระแสของเครื่ องป้องกันกระแสเกิน ต้ องสอดคล้ องกับตารางที่ 6-5 8.3.9 การต่ อลงดิน ต้ องมีการต่อลงดินตามที่กําหนดในบทที่ 4 และเป็ นดังนี ้ 8.3.9.1 การต่อตัวนําเข้ ากับหลักดินให้ ใช้ วิธีการต่อเชื่อมด้ วยความร้ อน 8.3.9.2 การต่อลงดินต้ องจัดทําจุดทดสอบ สําหรับใช้ วดั ค่าความต้ านทานของหลักดินกับ ดิน และจุดทดสอบนี ้ต้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก

8.4 โรงแรม 8.4.1 ทั่วไป 8.4.1.1 ครอบคลุมสถานประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้ วยโรงแรม 8.4.1.2 การเดินสายสําหรับสถานบริ การให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ในบทนี ้ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของการเดินสาย 8.4.1.3 ข้ อกําหนดนี ้ใช้ เฉพาะระบบแรงดันไม่เกิน 1,000 โวลต์ เท่านั้น 8.4.1.4 โรงแรมที่เป็ นอาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษ ต้ องปฏิบตั ติ ามข้ อ 9.2 ด้ วย 8.4.2

สายไฟฟ้า

8-10

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8.4.2.1 สายไฟฟ้ าระบบแรงตํ่ า ต้ อ งเป็ นสายทองแดงหุ้ม ฉนวน พี วี ซี ตามมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่ มอก 11-2553 หรื อสายอื่นที่มีคณ ุ สมบัตไิ ม่ตํ่ากว่า 8.4.2.2 สายไฟฟ้าของวงจรช่วยชีวิตต้ องเป็ นไปตามกําหนดในข้ อ 12.8 8.4.3 วิธีการเดินสาย 8.4.3.1 การเดินสายส่วนที่อยูน่ อกอาคาร ให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 5 8.4.3.2 การเดินสายเฉพาะส่วนที่อยู่ภายในอาคาร ให้ ใช้ วิธีการเดินสายด้ วยช่องเดินสาย โลหะ หรื อใช้ MI หรื อ สายทนไฟ หากใช้ ท่ออโลหะต้ องฝั งในผนังปูนหนาไม่น้อยกว่า 50 มม. ห้ ามเดินลอยหรื อซ่อนในฝ้า 8.4.3.3 การเดินสายไฟฟ้าต้ องมีการป้องกันไฟลุกลาม ตามบทที่ 5 8.4.4 การออกแบบระบบไฟฟ้า 8.4.4.1 การคํานวณโหลดให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 3 8.4.4.2 วงจรย่อยสําหรั บระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิ นและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิ น ต้ องแยกต่างหากจากบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าอื่น 8.4.4.3 วงจรย่อยและสายป้อนต้ องมีเครื่ องป้องกันกระแสเกิน พิกัดเครื่ องป้องกันกระแส เกินไม่ตํ่ากว่าของโหลดที่คํานวณได้ และเป็ นไปตามที่กําหนดในบทที่ 3 8.4.4.4 เต้ ารับต้ องเป็ นชนิดมีขั้วสายดินและเต้ ารับส่วนที่อยู่ในห้ องพักต้ องต่อผ่านเครื่ องตัด ไฟรั่ว 8.4.4.5 หากติ ดตัง้ เครื่ องกํ าเนิ ดไฟฟ้ า เพื่ อการจ่ ายกํ าลังไฟฟ้ าสํ ารอง ต้ องติ ดตั้งเครื่ อง ป้องกันกระแสเกิน และต้ องมีการป้องกันการจ่ายไฟชนกันกับระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ และ การติดตั้งให้ เป็ นไปตามที่กําหนดในมาตรฐานระบบเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าของ วสท. 8.4.4.6 กรณีมีสระนํ ้า อ่างนํ ้าพุ ต้ องปฏิบตั ติ ามข้ อ 10.2 ด้ วย 8.4.4.7 สระหรื ออ่างกายภาพบําบัด ธาราบําบัด อ่างนํ ้าแร่ อ่างนํ ้าร้ อน อ่างนวดตัว เครื่ อง ทํานํ ้าร้ อน เครื่ องทํานํ ้าอุ่น ต้ องต่อผ่านเครื่ องตัดไฟรั่ว 8.4.4.8 วงจรย่อยสําหรั บแสงสว่างและเต้ ารั บภายนอกอาคารต้ องต่อผ่านเครื่ องตัดไฟรั่ ว ยกเว้ น ดวงโคมที อ่ ยู่ห่างจากพืน้ หรื อโลหะทีต่ ่อลงดิ นเกิ น 2.40 เมตร ในแนวดิ่ งหรื อเกิ น 1.50 เมตร ในแนวระดับ และพ้นจากการสัมผัสโดยบังเอิ ญ 8.4.4.9 การติดตัง้ ไฟฟ้าแสงสว่า งฉุกเฉิ นให้ เป็ นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่า ง ฉุกเฉินและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ของ วสท.

บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ

8-11

8.4.5 หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลง 8.4.5.1 หม้ อแปลงต้ องเป็ นไปตามข้ อ 6.4 หากติดตั้งภายในอาคารต้ องเป็ นชนิดแห้ งหรื อ ฉนวนไม่ติดไฟ ติดตั้งอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มที่มีระดับการป้องกัน ไม่ตํ่ากว่า IP 21 ตามข้ อ 2.8 และ ฉนวนต้ องไม่เป็ นพิษต่อบุคคลและสิ่งแวดล้ อม ไม่อนุญาตให้ ติดตั้งหม้ อแปลงชนิดฉนวนติดไฟ ได้ หรื อหม้ อแปลงชนิดฉนวนติดไฟยากภายในอาคาร ใต้ อาคาร บนดาดฟ้า หรื อบนส่วนยื่นของ อาคาร 8.4.5.2 ห้ องหม้ อแปลง ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.4 8.4.6 บริภณ ั ฑ์ ประธาน 8.4.6.1 บริ ภณ ั ฑ์ประธาน ต้ องติดตั้งในห้ องหรื อสถานที่ซงึ่ จัดไว้ โดยเฉพาะ มีพื ้นที่ว่างเพื่อ ปฏิบตั ิงานพอเพียง ถ้ าเป็ นห้ องต้ องสร้ างด้ วยวัสดุทนไฟที่มีอตั ราการทนไฟและกันไฟลามอย่าง น้ อย 2 ชัว่ โมง มีระดับการป้องกันไม่ตํ่ากว่า IP 21 8.4.6.2 แผงสวิตช์แรงสูง ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.7 มีระดับการป้องกันของเครื่ อง ห่อหุ้มไม่ตํ่ากว่า IP 31 ตามข้ อ 2.8 และเครื่ องป้องกันกระแสเกินแรงสูง ถ้ าใช้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ต้ องเป็ นชนิดฉนวนไม่ตดิ ไฟ หากใช้ ชดุ ฟิ วส์กําลัง ต้ องใช้ ประกอบกับสวิตช์สําหรับตัดโหลด พิกดั กระแสของเครื่ องป้องกันกระแสเกิน ต้ องสอดคล้ องกับตารางที่ 6-5 8.4.7 การต่ อลงดิน 8.4.7.1 การต่อตัวนําเข้ ากับหลักดินให้ ใช้ วิธีการต่อเชื่อมด้ วยความร้ อน 8.4.7.2 การต่อลงดินต้ องจัดทําจุดทดสอบ สําหรับใช้ วดั ค่าความต้ านทานการต่อลงดิน และ จุดทดสอบนี ้ต้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9-1

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ ข้ อกําหนดในบทนี ้เกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้าในอาคารชุด อาคารสูง หรื ออาคารขนาด ใหญ่พิเศษ สําหรับอาคารชุดการคํานวณโหลดจะพิจารณาจากชนิดของห้ องชุดและพื ้นที่ของ ห้ องชุด

9.1 อาคารชุด 9.1.1 ทั่วไป 9.1.1.1 ให้ ใช้ กบั อาคารชุดทุกประเภท ภายใต้ พ.ร.บ.อาคารชุด พ.ศ.2522 หรื อที่จะแก้ ไข เพิ่มเติมต่อไป ซึง่ กฎหมายรับรองกรรมสิทธิ์ในแต่ละห้ องชุด 9.1.1.2 ให้ ใ ช้ ก บั อาคารประเภทอื่นๆ ที่ผ้ ูข อใช้ ไฟฟ้ าประสงค์จ ะให้ มีก ารจ่า ยไฟฟ้ าและ ติดตั้งเครื่ องวัดฯ แบบอาคารชุด 9.1.1.3 การเดินสายสําหรับอาคารชุดให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ใน บทนี ้ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของการเดินสาย 9.1.1.4 อาคารชุดที่เป็ นอาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษ ต้ องปฏิบตั ติ ามข้ อ 9.2 ด้ วย 9.1.1.5 การคํานวณโหลดที่กล่าวในบทนี ้เป็ นค่าตํ่าสุด หากการติดตั้งจริ งมีโหลดมากกว่าที่ คํานวณนี ้ก็ต้องใช้ คา่ ตามที่ตดิ ตั้งจริ ง 9.1.2 การคํานวณโหลด ให้ แบ่งการคํานวณโหลดออกเป็ น 2 ส่วน คือ โหลดส่วนกลาง และโหลดห้ องชุด ซึ่งโหลดที่ คํานวณได้ ต้องไม่ตํ่ากว่าที่กําหนด ดังต่อไปนี ้ 9.1.2.1 โหลดส่ วนกลาง หมายถึงไฟฟ้าที่ใช้ สําหรับระบบไฟฟ้าส่วนกลางทั้งหมด เช่นแสงสว่างห้ องโถง ทางเดิน ลิฟต์ เครื่ องสูบนํ ้า ระบบไฟฉุกเฉิน เป็ นต้ น โดยขนาดความต้ องการใช้ ไฟฟ้า ให้ คํานวณจากโหลดที่ ติดตัง้ อนุญาตให้ ใช้ คา่ ดีมานด์แฟกเตอร์ ที่ระบุในบทที่ 3 หรื อมาตรฐานอื่นที่การไฟฟ้าฯ ยอมรับ ในการคํานวณหาขนาดตัวนําประธาน สายป้อน และหม้ อแปลงไฟฟ้าได้ 9.1.2.2 โหลดห้ องชุดประเภทอยู่อาศัย ขนาดความต้ องการใช้ ไฟฟ้าของห้ องชุด ให้ คํานวณจากขนาดพื ้นที่ในห้ องชุด ไม่รวมพื ้นที่เฉลียง และห้ ามใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ ซึง่ อาจแบ่งออกเป็ น

9-2

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9.1.2.2.1 ห้ องชุดที่ไม่ มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง โหลดของห้ องชุดให้ ใช้ สตู รดังนี ้ ก) ห้ องชุดที่มีพนื ้ ที่ไม่ เกิน 55 ตารางเมตร [90 x พื ้นที่ห้อง(ตร.ม.)] +1,500 VA ข) ห้ องชุดที่มีพนื ้ ที่มากกว่ า 55 ตารางเมตร แต่ ไม่ เกิน 180 ตารางเมตร [90 x พื ้นที่ห้อง(ตร.ม.)] + 3,000 VA ค) ห้ องชุดที่มีพนื ้ ที่มากกว่ า 180 ตารางเมตร [90 x พื ้นที่ห้อง(ตร.ม.)] + 6,000 VA 9.1.2.2.2 ห้ องชุดที่มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง โหลดของห้ องชุดให้ ใช้ สตู รดังนี ้ ก) ห้ องชุดที่มีพนื ้ ที่ไม่ เกิน 55 ตารางเมตร [20 x พื ้นที่ห้อง(ตร.ม.)] + 1,500 VA ข) ห้ องชุดที่มีพนื ้ ที่มากกว่ า 55 ตารางเมตร แต่ ไม่ เกิน 180 ตารางเมตร [20 x พื ้นที่ห้อง(ตร.ม.)] + 3,000 VA ค) ห้ องชุดที่มีพนื ้ ที่มากกว่ า 180 ตารางเมตร [20 x พื ้นที่ห้อง(ตร.ม.)] + 6,000 VA 9.1.2.3 โหลดห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อร้ านค้ าทั่วไป ขนาดความต้ องการใช้ ไฟฟ้าในห้ องชุด ให้ คํานวณจากขนาดพื ้นที่ในห้ องชุด (ไม่รวมพื ้นที่เฉลียง) และห้ ามใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ ซึง่ อาจแบ่งออกเป็ น 9.1.2.3.1 ห้ องชุดที่ไม่ มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง ให้ ใช้ คา่ 155 โวลต์แอมแปร์ ตอ่ พื ้นที่หนึง่ ตารางเมตร 9.1.2.3.2 ห้ องชุดที่มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง ให้ ใช้ คา่ 85 โวลต์แอมแปร์ ตอ่ พื ้นที่หนึง่ ตารางเมตร 9.1.2.3.3 ห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อร้ านค้ าหรื อเพื่อการอื่นใดที่ใช้ ไฟฟ้ามากเป็ น พิเศษ ห้ องอาหาร ที่ใช้ เตาไฟฟ้า หรื อเครื่ องทําความร้ อนมาก และตู้แช่เย็นขนาดใหญ่ และโหลดอื่น ๆ ที่ใช้ ไฟมากเป็ นพิเศษต้ องพิจารณาตามสภาพที่จะใช้ จริ งและต้ องแสดงรายการคํานวณโหลด ของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่จะใช้ ตดิ ตังจริ ้ ง

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9-3

9.1.2.4 โหลดห้ องชุดประเภทอุตสาหกรรม ขนาดความต้ องการใช้ ไฟฟ้าของห้ องชุด ให้ คํานวณจากขนาดพืน้ ที่ ในห้ องชุด (ไม่รวมพื น้ ที่ เฉลียง) และห้ ามใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ โดยโหลดของห้ องชุดให้ ใช้ ค่าไม่น้อยกว่า 220 โวลต์ แอมแปร์ ต่อพื ้นที่หนึ่งตารางเมตร (ทั้งกรณีห้องชุดมีและไม่มีระบบทําความเย็นจากส่วนกลาง) หรื อคํานวณโหลดตามที่ติดตั ้งจริ งโดยผู้ขอไฟฟ้าต้ องแสดงรายการคํานวณโหลดของอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ตดิ ตังจริ ้ งให้ การไฟฟ้าฯ พิจารณาเห็นชอบด้ วย หมายเหตุ ให้ถือว่าโหลดตามข้อ 9.1.2.2 ถึง 9.1.2.4 เป็ นโหลดต่อเนือ่ ง

9.1.3 เครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าของห้ องชุด 9.1.3.1 ขนาดเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า ให้ ใช้ ขนาดเครื่ องวัดฯ ตามค่าความต้ องการ ใช้ ไฟฟ้า ที่คํานวณได้ ตามข้ อ 9.1.2 มากําหนดขนาดเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าสําหรับห้ องชุด โดย ขนาดต้ องไม่เล็กกว่าที่กําหนดในตารางที่ 9-1, 9-2, 9-3 หรื อ 9-4 แล้ วแต่กรณี และต้ องแสดง รายการคํานวณโหลดของห้ องชุด 9.1.3.2 ขนาดเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงสูง ให้ นําผลรวมของโหลด หรื อค่าความต้ องการ ใช้ ไฟฟ้า ที่คํานวณได้ ตามข้ อ 9.1.2 มากําหนดขนาดเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าสําหรับห้ องชุด โดยผู้ ขอไฟฟ้าต้ องแสดงรายการคํานวณโหลดให้ การไฟฟ้าฯ พิจารณาเห็นชอบ 9.1.3.3 การติดตัง้ เครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า เครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าแรงตํ่าสําหรับห้ องชุด ต้ องติดตั้งเป็ นกลุม่ เครื่ องวัดในแผงที่จดั เตรี ยมไว้ เพื่อ การติดตั้งเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าสําหรั บห้ องชุดโดยเฉพาะ ซึ่งอาจติดตั้งรวมกันบริ เวณชั้นล่าง หรื อแยกเป็ นกลุ่มสําหรับห้ องชุดในแต่ละชั้นก็ได้ โดยต้ องสามารถให้ เจ้ าหน้ าที่ของการไฟฟ้าฯ เข้ าตรวจสอบ ปฏิบตั งิ าน และอ่านหน่วยไฟฟ้าได้ โดยสะดวก 9.1.3.4 การติดตัง้ เครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงสูง เครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าแรงสูงอาจติดตั้งบนเสาไฟฟ้า หรื อภายในห้ อง สําหรับการติดตั ้งเครื่ องวัด หน่วยไฟฟ้าแรงสูง โดยต้ องสามารถให้ เจ้ าหน้ าที่ของการไฟฟ้าฯ เข้ าตรวจสอบ ปฏิบตั ิงานและ อ่านหน่วยไฟฟ้าได้ โดยสะดวก 9.1.4 การป้องกันกระแสเกินของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้า 9.1.4.1 เครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า ต้ องติดตั้งเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ทางด้ านไฟเข้ าเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าทุกเครื่ อง พิกดั กระแสของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ต้องไม่ตํ่ากว่า 1.25 เท่าของขนาดกระแสที่คํานวณจากขนาดพื ้นที่ห้องตามข้ อ 9.1.2 หากขนาดที่คํานวณได้ ไม่ใช่ขนาดมาตรฐานของผู้ผลิตให้ ใช้ ขนาดใกล้ เคียงที่สงู ขึ ้นถัดไป แต่ต้องมีขนาดไม่สงู กว่าที่กําหนดไว้ ในตารางที่ 3-4 หรื อ 3-5

9-4

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

ห้ ามใช้ วิธีการติดตั้งแบ็กอัฟฟิ วส์ (back up fuse) เพื่อเพิ่มพิกดั กระแสลัดวงจร และห้ ามใช้ วิธี แคสเคดเซอร์ กิตเบรกเกอร์ (cascade circuit breaker) ในส่วนของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ก่อนเข้ า เครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้า อนุญาตให้ ใช้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิดจํากัดกระแส (current limitting circuit breaker) เพื่อลด ค่ากระแสลัดวงจรได้ 9.1.4.2 เครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงสูง เครื่ องป้องกันกระแสเกินหน้ าเครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าแรงสูงสําหรับห้ องชุด (ภายในอาคาร) แผง สวิตช์แรงสูงต้ องเป็ นชนิด SF6-Insulated switchgear ตามคําแนะนําการจัดเตรี ยมอุปกรณ์ ไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ และตามที่กําหนดในข้ อ 5.17 ตารางที่ 9-1 ขนาดของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า สําหรั บห้ องชุดประเภทอยู่อาศัย (สําหรั บการไฟฟ้านครหลวง) ลําดับที่ 1

2

ประเภท ไม่มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

พืน้ ที่ห้อง ตารางเมตร 55 150 180

โหลดสูงสุดของ เครื่ องวัดฯ (A) 30 75 100

180 483 666 1,400 2,866

30 75 100 200 400

15 (45) A 3P 30 (100) A 3P 50 (150) A 3P 200 A 3P 400 A 3P

35 180 525 800

10 30 75 100

5 (15) A 1P 15 (45) A 1P 30 (100) A 1P 50 (150) A 1P

690 2,475 3,000 6,300 12,900

30 75 100 200 400

15 (45) A 3P 30 (100) A 3P 50 (150) A 3P 200 A 3P 400 A 3P

หมายเหตุ 1P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 1 เฟส 2 สาย 3P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 3 เฟส 4 สาย

ขนาดเครื่ องวัดฯ 15 (45) A 1P 30 (100) A 1P 50 (150) A 1P

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ ตารางที่ 9-2 ขนาดของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า สําหรั บห้ องชุดประเภทอยู่อาศัย (สําหรั บการไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค) ลําดับที่ 1

2

ประเภท ไม่มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

พืน้ ที่ห้อง ตารางเมตร 55 150

โหลดสูงสุดของ เครื่ องวัดฯ (A) 36 80

180 483

36 80

15 (45) A 3P 30 (100) A 3P

35 180 525

12 36 80

5 (15) A 1P 15 (45) A 1P 30 (100) A 1P

690 2,475

36 80

15 (45) A 3P 30 (100) A 3P

ขนาดเครื่ องวัดฯ 15 (45) A 1P 30 (100) A 1P

หมายเหตุ 1P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 1 เฟส 2 สาย 3P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 3 เฟส 4 สาย ตารางที่ 9-3 ขนาดของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า สําหรั บห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อร้ านค้ าทั่วไป (สําหรั บการไฟฟ้านครหลวง) ลําดับที่ 1

ประเภท ไม่มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

พืน้ ที่ห้อง โหลดสูงสุดของ ขนาดเครื่องวัดฯ ตารางเมตร เครื่ องวัดฯ (A) 40 105 140

30 75 100

15 (45) A 1P 30 (100) A 1P 50 (150) A 1P

125 320 425 850 1,700

30 75 100 200 400

15 (45) A 3P 30 (100) A 3P 50 (150) A 3P 200 A 3P 400 A 3P

9-5

9-6

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ ตารางที่ 9-3 (ต่ อ) ขนาดของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า สําหรั บห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อร้ านค้ าทั่วไป (สําหรั บการไฟฟ้านครหลวง) ลําดับที่ 2

ประเภท มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

พืน้ ที่ห้อง ตารางเมตร 80 190 260

โหลดสูงสุดของ เครื่ องวัดฯ (A) 30 75 100

230 580 770 1,550 3,100

30 75 100 200 400

ขนาดเครื่ องวัดฯ 15 (45) A 1P 30 (100) A 1P 50 (150) A 1P 15 (45) A 3P 30 (100) A 3P 50 (150) A 3P 200 A 3P 400 A 3P

หมายเหตุ 1) 1P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 1 เฟส 2 สาย 3P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 3 เฟส 4 สาย 2) ห้องชุดทีม่ ีพืน้ ทีม่ ากกว่าทีก่ ําหนดไว้ในตารางที ่ 9-3 นีจ้ ะกําหนดขนาดของ เครื ่องวัดฯ เป็ นรายๆ ไป ตารางที่ 9-4 ขนาดของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า สําหรั บห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อร้ านค้ าทั่วไป (สําหรั บการไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค) ลําดับที่ 1

ประเภท ไม่มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

พืน้ ที่ห้อง โหลดสูงสุดของ ขนาดเครื่องวัดฯ ตารางเมตร เครื่ องวัดฯ (A) 40 36 15 (45) A 1P 105 80 30 (100) A 1P 125 36 15 (45) A 3P 320 80 30 (100) A 3P

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9-7

ตารางที่ 9-4 (ต่ อ) ขนาดของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํ่า สําหรั บห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อร้ านค้ าทั่วไป (สําหรั บการไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค) ลําดับที่ 2

ประเภท มีระบบทําความเย็น จากส่วนกลาง

พืน้ ที่ห้อง โหลดสูงสุดของ ขนาดเครื่องวัดฯ ตารางเมตร เครื่ องวัดฯ (A) 80 36 15 (45) A 1P 190 80 30 (100) A 1P 230 36 15 (45) A 3P 580 80 30 (100) A 3P

หมายเหตุ 1) 1P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 1 เฟส 2 สาย 3P หมายถึง เครื ่องวัดฯ ชนิ ด 3 เฟส 4 สาย 2) ห้องชุดทีม่ ีพืน้ ทีม่ ากกว่าทีก่ ําหนดไว้ในตารางที ่ 9-4 นีจ้ ะกําหนดขนาดของ เครื ่องวัดฯ เป็ นรายๆ ไป

9.1.5 ตัวนําประธานเข้ าห้ องชุด 9.1.5.1 ขนาด 9.1.5.1.1 ตัวนําเฟส ตัวนํ าประธานเข้ าห้ องชุดต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าพิกัดเครื่ องป้องกันกระแสเกินตามข้ อ 9.1.6 และต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 6 ตร.มม. 9.1.5.1.2 ตัวนํานิวทรั ล ขนาดตัวนํานิวทรัลต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 3.2.4 และห้ ามแต่ละห้ องชุดใช้ ตวั นํานิวทรัล ร่วมกัน 9.1.5.2 วิธีการเดินสาย ตัวนําประธานเข้ าห้ องชุด ต้ องเป็ นดังนี ้ 9.1.5.2.1 สายทองแดง ต้ องเดินในช่องเดินสายโลหะ หรื อยอมให้ เดินในท่ออโลหะตามที่ กําหนดในบทที่ 5 ได้ แต่ต้องฝั งในคอนกรี ต ในกรณีที่อาคารชุดเข้ าเกณฑ์อาคารสูงหรื ออาคาร ขนาดใหญ่พิเศษ วิธีการเดินสายต้ องเป็ นไปตามข้ อ 9.2.2 ด้ วย หากเดินในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อโลหะบาง หรื อท่ออโลหะ แต่ละเครื่ องวัดฯ ต้ องเดินท่อแยกจากกัน กรณีเดินในรางเดินสาย อนุญาตให้ เดินสายรวมกันในรางเดินสายได้ หมายเหตุ

ไม่อนุญาตให้เดิ นสายเกาะผนัง เดิ นสายเปิ ดบนวัสดุฉนวน และรางเคเบิ ล

9-8

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9.1.5.2.2 บัสเวย์หรื อบัสดักให้ ใช้ ได้ ทั้งชนิดตัวนําทองแดงและอะลูมิเนียม ต้ องเป็ นชนิดปิ ด มิดชิดที่สามารถถอดเปลี่ยนส่วนที่ชํารุดได้ โดยอิสระ 9.1.5.2.3 บัสทรังกิง (bus trunking) ต้ องเป็ นชนิดปิ ดมิดชิด และให้ ใช้ บสั บาร์ ทําด้ วย ทองแดงที่มีความบริ สทุ ธิ์ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 98 เท่านั้น 9.1.6 บริภณ ั ฑ์ ประธาน ต้ องมีการติดตั ้งบริ ภณ ั ฑ์ประธานที่แต่ละห้ องชุด พิกัดกระแสของเครื่ องป้ องกันกระแสเกินที่ บริ ภณ ั ฑ์ประธานต้ องไม่เกินพิกัดกระแสของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามข้ อ 9.1.4 9.1.6.1 เครื่ องปลดวงจรประธานของห้ องชุด สําหรับ 1 เฟส ต้ องเป็ นชนิด ปลด สับ สายเส้ น ไฟ และสายนิวทรัล พร้ อมกัน 9.1.7 สายป้อน (จากแผงสวิตช์ รวมไปถึงแผงสวิตช์ ของเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าของ ห้ องชุด) 9.1.7.1 โหลดสําหรับสายป้อนห้ องชุด ให้ คํานวณจากผลรวมของโหลดในห้ องชุด ตามข้ อ 9.1.2 และใช้ คา่ โคอินซิเดนต์แฟกเตอร์ (co-incidence factor) ตามตารางที่ 9-5 และ 9-6 เพื่อ คํานวณลดขนาดสายป้อนได้ 9.1.7.2 สายป้อนสําหรับไฟส่วนกลางต้ องแยกต่างหากจากสายป้อนของห้ องชุด 9.1.7.3 สายป้อนต้ องมีขนาดกระแสไม่ตํ่ากว่าพิกัดเครื่ องป้องกันกระแสเกินตามข้ อ 9.1.9.3 และขนาดตัวนํานิวทรัลต้ องเป็ นไปตามข้ อ 3.2.4 9.1.7.4 สายป้อนต้ องเดินในช่องเดินสายโลหะ หรื อใช้ บสั เวย์ หรื อบัสทรังกิง 9.1.7.5 ในกรณีส ายป้ อนเดิน ในช่อ งสํา หรับ การเดิน สาย ห้ า มมีท่อ ของระบบอื่นที่ไม่ใช่ ระบบไฟฟ้า เช่น ท่อก๊ าซ ท่อประปา ท่อนํ ้าทิ ้ง เดินร่วมกัน 9.1.8 หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลง 9.1.8.1 หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลงต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.4 หากติดตั้งภายใน อาคารต้ องเป็ นชนิดแห้ งหรื อฉนวนไม่ตดิ ไฟ ติดตั้งอยูใ่ นเครื่ องห่อหุ้มที่มีระดับการป้องกัน ต้ องไม่ ตํ่ากว่า IP 21 และฉนวนต้ องไม่เป็ นพิษต่อบุคคลและสิง่ แวดล้ อม ห้ ามติดตังหม้ ้ อแปลงชนิดฉนวนติดไฟได้ ภายในอาคาร ใต้ อาคาร บนดาดฟ้า หรื อบนส่วนยื่น ของอาคาร 9.1.8.2 การคํานวณโหลดสําหรับหม้ อแปลงให้ คํานวณตามข้ อ 9.1.2 และเฉพาะโหลดของ ห้ องชุด อนุญาตให้ ใช้ คา่ โคอินซิเดนต์แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 9-5 และ 9-6 ได้

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9-9

ตารางที่ 9-5 ค่ าโคอินซิเดนต์ แฟกเตอร์ สําหรั บห้ องชุดประเภทอยู่อาศัย ลําดับห้ องชุด 1-10 11-20 21-30 31-40 41 ขึ ้นไป

โคอินซิเดนต์ แฟกเตอร์ 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5

หมายเหตุ ลําดับห้องชุดให้เริ่ มจากห้องชุดทีม่ ีโหลดสูงสุดก่อน ตารางที่ 9-6 ค่ าโคอินซิเดนต์ แฟกเตอร์ สําหรั บห้ องชุดประเภทสํานักงานหรื อร้ านค้ าทั่วไปและประเภทอุตสาหกรรม ลําดับห้ องชุด 1-10 11 ขึ ้นไป

โคอินซิเดนต์ แฟกเตอร์ 1.0 0.85

หมายเหตุ ลําดับห้องชุดให้เริ่ มจากห้องชุดทีม่ ีโหลดสูงสุดก่อน

9.1.8.3 ขนาดของหม้ อแปลงเมื่อไม่ใช้ พดั ลมเป่ า (forced air cooled) ต้ องไม่เล็กกว่าโหลด ที่คํานวณได้ จากข้ อ 9.1.8.2 หมายเหตุ

การไฟฟ้ าฯ แนะนําให้ใช้ขนาดสูงสุดไม่เกิ น 2,000 เควีเอ

9.1.8.4 หม้ อแปลงสําหรับจ่ายไฟส่วนของห้ องชุด ต้ องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี ้ 9.1.8.4.1 สําหรั บการไฟฟ้านครหลวง ก) พิกัดแรงดัน ของหม้ อ แปลง ต้ องเป็ นขนาด 12,000-416Y/240 โวลต์ 24,000-416Y/240 โวลต์ หรื อ (12,000/24,000)-416Y/240 โวลต์ ทั ้งนี ้ ขึ ้นอยูก่ บั พื ้นที่การจ่ายไฟของการไฟฟ้านครหลวง ข) แท็ปแรงสูง (high voltage tapping) ใช้ เป็ น 4x(-)2.5% ของพิกดั เต็มที่ด้าน ปฐมภูมิ (hull capacity primary tap) ค) กําลังไฟฟ้าสูญเสียทังหมด ้ ของหม้ อแปลงต้ องไม่เกิน 1.5 % ของพิกดั เต็มที่ ของหม้ อแปลง ที่คา่ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้าเท่ากับ 1.0

9-10 9.1.8.4.2

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

สําหรั บการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค ก) พิกดั แรงดันของหม้ อแปลง ต้ องเป็ นขนาด 22,000-400Y/230 โวลต์ สําหรับ ระบบ 22 เควี และ 33,000-400Y/230 โวลต์ สําหรับระบบ 33 เควี ข) BIL 125 เควี สําหรับระบบ 22 เควี และสําหรับระบบ 33 เควี ค่า BIL ของ บุชชิงเท่ากับ 200 เควี และ BIL ของขดลวดเท่ากับ 170 เควี ค) แท็ปแรงสูงใช้ เป็ น (+/-)2x2.5% ของพิกดั เต็มที่ด้านปฐมภูมิ

9.1.9 แผงสวิตช์ แรงตํ่า (จากหม้ อแปลงถึงเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้าของห้ องชุด) 9.1.9.1 แผงสวิตช์แรงตํ่าต้ องเป็ นไปตามข้ อ 5.17 ระดับการป้องกันของตู้แผงสวิตช์แรงตํ่าต้ อง ไม่ตํ่ากว่า IP 31 และโครงสร้ างของแผงสวิตช์แรงตํ่าต้ องสามารถรับแรงที่เกิดจากกระแสลัดวงจร ได้ 9.1.9.2 เครื่ องป้องกันกระแสเกิน ต้ องเป็ นเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่สามารถตัดกระแสลัดวงจร สูงสุดที่อาจเกิดขึ ้น ณ จุดนั้นได้ โดยคุณสมบัตยิ งั คงเดิม และต้ องไม่ตํ่ากว่า 10 กิโลแอมแปร์ 9.1.9.3 เครื่ องป้ องกันกระแสเกินของสายป้ อนต้ องมีพิกดั กระแสไม่ตํ่ากว่า 1.25 เท่าของ ผลรวมของโหลดที่คํานวณได้ ตามข้ อ 9.1.7.1 9.1.9.4 เครื่ องป้องกันกระแสเกินของสายป้อนไฟฟ้าส่วนกลาง อนุญาตให้ มีได้ ไม่เกิน 1 ตัว สําหรั บหม้ อแปลงแต่ละลูก และต้ องสามารถล็อกกุญแจได้ ในตําแหน่งปลด ยกเว้ น วงจรที ่ เกี ่ยวข้องกับการป้ องกันอัคคีภยั และวงจรช่วยชี วิต 9.1.9.5 เครื่ อ งป้ องกันกระแสเกินด้ านแรงตํ่าของหม้ อแปลง ต้ องมีพิกัดกระแสไม่ตํ่ากว่า ผลรวมของโหลดที่คํานวณได้ ตามข้ อ 9.1.2 และเป็ นไปตามข้ อ 6.4.3.1 อนุญาตให้ ใช้ คา่ โคอินซิ เดนต์แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 9-5 และ 9-6 ได้ คําอธิบาย ขนาดปรับตัง้ ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แนะนํ าให้ใช้ค่าไม่เกิ นร้ อยละ 125 ของ กระแสด้านแรงตํ่าของหม้อแปลง 9.1.10 ตัวนําประธานแรงตํ่าจากหม้ อแปลงไปยังแผงสวิตช์ รวม ตัวนํ าประธานแรงตํ่าจากหม้ อแปลงไปยังแผงสวิตช์ รวมต้ องมี ขนาดกระแสไม่น้อยกว่าพิกัด เครื่ องป้องกันกระแสเกินตามข้ อ 9.1.9.5 สําหรับขนาดตัวนํานิวทรัลต้ องเป็ นไปตามข้ อ 3.2.4 ตัวนําประธานที่เดินภายในอาคารต้ องเดินในช่องเดินสายโลหะ ยกเว้ น การเดิ นสายในห้อง หม้อแปลงและห้องไฟฟ้ ารวมอนุญาตให้เดิ นสายบนรางเคเบิ ลได้ 9.1.11 แผงสวิตช์ แรงสูง แผงสวิตช์แรงสูงต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.17 และเพิ่มเติมดังนี ้

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9-11

9.1.11.1 เครื่ อ งป้ องกันกระแสเกินแรงสูงถ้ าใช้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ต้องเป็ นชนิดฉนวนไม่ติด ไฟหากใช้ ชดุ ฟิ วส์กําลัง (power fuse) ซึง่ ต้ องใช้ ประกอบกับสวิตช์สําหรับตัดโหลดพิกดั กระแส ของเครื่ องป้องกันกระแสเกินต้ องสอดคล้ องกับตารางที่ 6-5 9.1.11.2 ระดับการป้องกันของเครื่ องห่อหุ้ม ต้ องไม่ตํ่ากว่า IP 31 9.1.12 การต่ อลงดิน ต้ องมีการต่อลงดินตามที่กําหนดในบทที่ 4 และเพิ่มเติมดังนี ้ 9.1.12.1 ห้ องชุดทุกห้ อง ต้ องมีระบบสายดินเตรี ยมพร้ อมไว้ สําหรับต่อกับอุปกรณ์ และ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าได้ และเต้ ารับต้ องเป็ นชนิดมีสายดินและมีการต่อลงดิน 9.1.12.2 การต่อฝากสายดินเข้ ากับตัวนํานิวทรั ล ให้ ต่อที่แผงบริ ภัณฑ์ ประธานรวมแรงตํ่า ของอาคารชุดเท่านั้น และห้ ามต่อฝากสายดินของบริ ภณ ั ฑ์เข้ ากับตัวนํานิวทรัลที่แผงสวิตช์ของ เครื่ องวัดหน่วยไฟฟ้าและที่บริ ภณ ั ฑ์ประธานของห้ องชุด 9.1.12.3 การต่อตัวนําเข้ ากับหลักดินให้ ใช้ วิธีการต่อเชื่อมด้ วยความร้ อน 9.1.12.4 การตอกฝั ง หลัก ดิน ลงในพื ้นดิน ตํ า แหน่ง ของหลัก ดิน จะต้ อ งอยู่ห่า งจากผนัง กําแพงหรื อฐานรากของอาคารในรัศมีไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร และปลายบนของหลักดินจะต้ อง อยูต่ ํ่าจากผิวดินไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร 9.1.12.5 การต่อลงดินต้ องจัดทําจุดทดสอบ สําหรับใช้ วดั ค่าความต้ านทานการต่อลงดิน และ จุดทดสอบนี ้ต้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก 9.1.13 การป้องกันไฟดูด ต้ องมีการป้องกันไฟดูดโดยใช้ เครื่ องตัดไฟรั่วให้ ใช้ ข้อกําหนดในข้ อ 3.1.8 และข้ อ 3.1.9

9.2 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ อาคารที่เป็ นอาคารชุด หรื อสถานที่เฉพาะต้ องปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของอาคารดังกล่าวด้ วย 9.2.1 ทั่วไป 9.2.1.1 ข้ อกําหนดนี ้ให้ ใช้ เป็ นข้ อกําหนดเพิ่มเติมจากที่ได้ กล่าวไว้ แล้ วในตอนต้ น 9.2.1.2 ข้ อกําหนดนี ้ไม่บงั คับใช้ กบั โรงงานอุตสาหกรรม 9.2.2 วิธีการเดินสาย ให้ ใช้ ข้อกําหนดการเดินสายในบทที่ 5 และสําหรับสายที่เดินภายในอาคารห้ ามใช้ วิธีเดินสายบน ผิว เดินเปิ ดหรื อเดินลอยบนวัสดุฉนวน เดินในช่องเดินสายอโลหะ และในรางเคเบิล ยกเว้ น การเดิ นสายในห้องหม้อแปลงและห้องไฟฟ้ ารวมอนุญาตให้เดิ นสายบนรางเคเบิ ลได้

9-12

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ

9.2.3 หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลง หม้ อแปลงและห้ องหม้ อแปลงต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.4 หากติดตั ้งภายในอาคารต้ อง เป็ นชนิดแห้ งหรื อฉนวนไม่ติดไฟติดตั้งอยู่ในเครื่ องห่อหุ้มที่มีระดับการป้อกงกันไม่ตํ่ากว่า IP 21 ตามข้ อ 2.8 และฉนวนต้ องไม่เป็ นพิษต่อบุคคลและสิง่ แวดล้ อม ห้ ามติดตั ้งหม้ อแปลงชนิดฉนวนติดไฟได้ หรื อ หม้ อแปลงชนิดฉนวนติดไฟยาก ภายในอาคาร ใต้ อาคาร บนดาดฟ้า หรื อบนส่วนยื่นของอาคาร ข้ อยกเว้ น

ยอมให้ติดตัง้ หม้อแปลงชนิ ดฉนวนติ ดไฟได้ เฉพาะในอาคารประเภทระบบสถานี ไฟฟ้ าย่อย แรงสูง หรื อการติ ดตัง้ หม้อแปลงไฟฟ้ าในโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ ี บคุ คลทีม่ ี คณ ุ สมบัติคอยดูแล และบํารุงรักษาตลอดเวลา

9.2.4 แผงสวิตช์ แรงสูง แผงสวิตช์แรงสูงต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 5.17 และเพิ่มเติมดังนี ้ 9.2.4.1 เครื่ องป้องกันกระแสเกินแรงสูง ถ้ าใช้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ต้ องเป็ นชนิดฉนวนไม่ติดไฟ หากใช้ ชุดฟิ วส์กําลัง ต้ องใช้ ประกอบกับสวิตช์ สําหรับตัดโหลด พิกัดกระแสของเครื่ องป้องกัน กระแสเกิน ต้ องสอดคล้ องกับตารางที่ 6-5 9.2.4.2 ระดับการป้องกันของเครื่ องห่อหุ้มต้ องไม่ตํ่ากว่า IP 31 ตามข้ อ 2.8 9.2.5 การต่ อลงดิน ต้ องมีการต่อลงดินตามที่กําหนดในบทที่ 4 และเพิ่มเติมดังนี ้ 9.2.5.1 การต่อตัวนําเข้ ากับหลักดินให้ ใช้ วิธีการต่อเชื่อมด้ วยความร้ อน 9.2.5.2 การตอกฝั ง หลัก ดิน ลงในพื ้นดิน ตํ า แหน่ง ของหลัก ดิน จะต้ อ งอยู่ห่า งจากผนัง กําแพงหรื อฐานรากของอาคารในรัศมีไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร และปลายบนของหลักดินจะต้ อง อยูต่ ํ่าจากผิวดินไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร 9.2.5.3 การต่อลงดินต้ องจัดทําจุดทดสอบ สําหรับใช้ วดั ค่าความต้ านทานการต่อลงดิน และ จุดทดสอบนี ้ต้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก 9.2.6 การป้องกันไฟดูด ต้ องมีการป้องกันไฟดูดโดยใช้ เครื่ องตัดไฟรั่วตามที่กําหนดในข้ อ 3.1.8 และข้ อ 3.1.9

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-1

บทที่ 10 บริภณ ั ฑ์ เฉพาะงาน ข้ อกําหนดในบทนี ้เกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้าสําหรับบริ ภณ ั ฑ์เฉพาะงาน แบ่งเป็ น 3 ส่วน ส่วนแรกเป็ นการออกแบบเครื่ องป้องกันกระแสเกินและเครื่ องปลดวงจรของเครื่ องเชื่อมไฟฟ้า ส่วนที่สองเป็ นการออกแบบระบบไฟฟ้าและเลือกใช้ บริ ภณ ั ฑ์สําหรับสระนํ ้า อ่างนํ ้าพุ และการ ติดตั้งอื่นที่คล้ ายคลึงกัน ส่วนที่สามเป็ นการออกแบบระบบไฟฟ้าสําหรับลิฟต์ ตู้ส่งของ บันได เลื่อนและทางเดินเลื่อน

10.1 เครื่องเชื่อมไฟฟ้า 10.1.1 ขอบเขต ครอบคลุมถึงเครื่ องเชื่อมอาร์ ก เครื่ องเชื่อมความต้ านทาน และเครื่ องเชื่อมอย่างอื่นที่คล้ ายคลึง กัน ที่ใช้ ไฟจากระบบไฟฟ้า 10.1.2 เครื่ องเชื่อมอาร์ กกระแสสลับ และเครื่ องเชื่อมอาร์ กกระแสตรง 10.1.2.1 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้า ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าที่จ่ายไฟให้ เครื่ องเชื่อมต้ องเป็ นดังนี ้ 10.1.2.1.1 สําหรั บเครื่ องเชื่อมเครื่ องเดียว ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าต้ องไม่น้อยกว่าที่ คํานวณได้ จากผลคูณของพิกัดกระแสด้ านไฟเข้ าที่ระบุบนแผ่นป้ายประจําเครื่ องกับตัวคูณซึ่ง ขึ ้นกับรอบทํางานหรื อพิกดั เวลาของเครื่ องเชื่อม ดังนี ้ รอบทํางาน (ร้ อยละ) 100 90 80 70 60 50 40 30 ตัวคูณ 1.00 0.95 0.89 0.84 0.78 0.71 0.63 0.55 หมายเหตุ

ไม่ เกิน 20 0.45

สําหรับเครื ่องเชือ่ มทีม่ ีพิกดั เวลา 1 ชัว่ โมง ตัวคูณเท่ากับ 0.75

10.1.2.1.2 สําหรั บเครื่ องเชื่อมหลายเครื่ อง ขนาดกระแสของสายไฟฟ้า ยอมให้ มีคา่ ตํ่ากว่า ผลบวกของค่าที่คํานวณได้ จากข้ อ 10.1.2.1 ของเครื่ องเชื่อมแต่ละเครื่ องเนื่องจากเครื่ องเชื่อมใช้ งานไม่พร้ อมกัน โหลดของเครื่ องเชื่อมแต่ละเครื่ องที่นํามาใช้ คํานวณ ต้ องคิดทั้งค่ากระแสและ ช่วงเวลาที่เครื่ องเชื่อมทํางาน หมายเหตุ ในสภาพการทํางานสูงสุด ยอมให้ใช้ค่ากระแสที ค่ ํานวณตามข้อ 10.1.2.1 สําหรับเครื ่องใหญ่ ทีส่ ดุ 2 เครื ่องแรก บวกกับร้อยละ 85 ของเครื ่องทีใ่ หญ่อนั ดับ 3 บวกกับร้อยละ 70 ของเครื ่องที ่ ใหญ่อนั ดับ 4 บวกกับร้อยละ 60 ของเครื ่องอื น่ ทีเ่ หลื อทัง้ หมด โดยถื อว่าอุณหภูมิของสายไฟฟ้ า

10-2

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน ยังอยู่ในเกณฑ์ทีป่ ลอดภัย หากสภาพการทํางานไม่ยอมให้เครื ่องมีรอบทํางานสูง ก็ยอมให้ลดค่า ร้อยละตามข้างต้นลงได้อีก

10.1.2.2 การป้องกันกระแสเกิน ต้ องมีการป้องกันกระแสเกินสําหรับเครื่ องเชื่อมตามข้ อ 10.1.2.2.1 และ 10.1.2.2.2 หากเครื่ อง ป้องกันกระแสเกินตามที่กําหนดไว้ ข้างต้ นปลดวงจรโดยไม่จําเป็ น ยอมให้ ใช้ พิกดั มาตร-ฐานหรื อ ขนาดปรับตั้งที่สงู ถัดขึ ้นไปได้ 10.1.2.2.1 สําหรั บเครื่ องเชื่ อม เครื่ องเชื่ อมแต่ละเครื่ องต้ องมี การป้องกันกระแสเกิ นที่มี พิกดั หรื อขนาดปรับตั้งไม่เกินร้ อยละ 200 ของพิกดั กระแสด้ านไฟเข้ าของเครื่ องเชื่อม ยกเว้ น ไม่ ต้องมี เครื ่ อ งป้ องกันกระแสเกิ นสํ าหรับเครื ่ องเชื ่อมได้ ถ้าสายไฟฟ้าที ่จ่ายไฟให้ เครื ่ องเชื ่อมมี เครื ่ องป้ องกันกระแสเกิ นที ่มีพิกดั หรื อขนาดปรับตัง้ ไม่เกิ นร้ อยละ 200 ของพิ กดั ของพิ กดั กระแสด้านไฟเข้าของเครื ่องเชื อ่ ม 10.1.2.2.2 สําหรั บสายไฟฟ้า สายไฟฟ้าสําหรับเครื่ องเชื่อมเครื่ องเดียวหรื อหลายเครื่ อง ต้ อง มีเครื่ องป้องกันกระแสเกินที่มีพิกดั หรื อขนาดปรับตั้งไม่เกินร้ อยละ 200 ของขนาดกระแสของ สายไฟฟ้า 10.1.2.3 เครื่ องปลดวงจร ต้ องติดตั้งเครื่ องปลดวงจรทางด้ านไฟเข้ าของเครื่ องเชื่อม ถ้ าเครื่ องเชื่อมดังกล่าวไม่มีเครื่ องปลด วงจรประกอบมาด้ วย เครื่ องปลดวงจรต้ องเป็ นสวิตช์หรื อเชอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่มีพิกดั กระแสไม่ตํ่า กว่าเครื่ องป้องกันกระแสเกินตามข้ อ 10.1.2.2 10.1.3 เครื่ องเชื่อมอาร์ กมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ 10.1.3.1 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้า ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าที่จ่ายไฟให้ เครื่ องเชื่อม ต้ องเป็ นดังนี ้ 10.1.3.1.1 สําหรั บเครื่ องเชื่อมเครื่ องเดียว ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าต้ องไม่น้อยกว่าผล คูณของพิกัดกระแสด้ านไฟเข้ าที่ระบุบนแผ่นป้ายประจําเครื่ อง กับตัวคูณซึ่งขึ ้นกับรอบทํางาน หรื อพิกดั เวลาของเครื่ องเชื่อม ดังนี ้ รอบทํางาน (ร้ อยละ) 100 90 80 70 60 50 40 30 ไม่ เกิน 20 ตัวคูณ 1.00 0.96 0.91 0.86 0.81 0.75 0.69 0.62 0.55 หมายเหตุ สําหรับเครื ่องเชือ่ มทีม่ ีพิกดั เวลา 1 ชัว่ โมง ตัวคูณเท่ากับ 0.80

10.1.3.1.2 สําหรั บเครื่ องเชื่อมหลายเครื่ อง ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ากําหนดเช่นเดียวกับ ข้ อ 10.1.2.1.2

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-3

10.1.3.2 การป้องกันกระแสเกิน พิกดั หรื อขนาดปรับตั้งของเครื่ องป้องกันกระแสเกินกําหนดเช่นเดียวกับข้ อ 10.1.2.2 10.1.3.3 เครื่ องปลดวงจร ขนาดเครื่ องปลดวงจรกําหนดเช่นเดียวกับข้ อ 10.1.2.3 10.1.4 เครื่ องเชื่อมความต้ านทาน 10.1.4.1 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้า ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าที่จ่ายไฟให้ เครื่ องเชื่อม ต้ องเป็ นดังนี ้ 10.1.4.1.1 สําหรั บเครื่ องเชื่อมเครื่ องเดียว ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าต้ องเป็ นดังนี ้ ก) สํ าหรั บเครื่ องเชื่ อมที่ ทํ างานในช่ วงเวลาและค่า กระแสทางด้ า นไฟเข้ า ไม่ แน่นอนหรื อมีรอบทํางานไม่แน่นอน ถ้ าเป็ นเครื่ องเชื่อมตะเข็บหรื อเครื่ อง เชื่อมที่ป้อนงานโดยอัตโนมัติ ขนาดกระแสของของสายไฟฟ้าต้ องไม่ตํ่ากว่า ร้ อยละ 70 ของพิกัดกระแสด้ านไฟเข้ าแต่ถ้าเครื่ องเชื่อมทํางานแบบไม่ อัตโนมัติ ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าต้ องไม่ตํ่ากว่าร้ อยละ 50 ของพิกัด กระแสด้ านไฟเข้ า ข) สํา หรั บ เครื่ อ งเชื่ อ มที่ทํา งานเฉพาะ ทราบกระแสด้ านไฟเข้ าและรอบ ทํางานแน่นอน ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าต้ องไม่ตํ่ากว่าผลคูณของกระแส ด้ านไฟเข้ ากับตัวคูณ ซึง่ ขึ ้นกับรอบทํางานของเครื่ องเชื่อม ดังนี ้ รอบทํางาน (ร้ อยละ) 50 40 30 25 20 15 10 7.5 0.71 0.63 0.55 0.50 0.45 0.39 0.32 0.27 ตัวคูณ

ไม่ เกิน 5 0.22

10.1.4.1.2 สําหรั บเครื่ องเชื่ อมหลายเครื่ อง ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าต้ อ งไม่ ตํ่ า กว่า ผลบวกของค่าที่คํานวณได้ ตามข้ อ 10.1.4.1.1 สําหรับเครื่ องที่ใหญ่ที่สดุ บวกกับร้ อยละ 60 ของ เครื่ องอื่นที่เหลือทั้งหมด 10.1.4.2 การป้องกันกระแสเกิน ต้ องมีการป้องกันกระแสเกินสําหรับเครื่ องเชื่อมตามข้ อ 10.1.4.2.1 และ 10.1.4.2.2 หากเครื่ อง ป้องกันกระแสเกินตามที่กําหนดไว้ ข้างต้ นปลดวงจรโดยไม่จําเป็ น ยอมให้ ใช้ พิกดั มาตรฐานหรื อ ขนาดปรับตั้งที่สงู ถัดขึ ้นไปได้ 10.1.4.2.1 สําหรั บเครื่ องเชื่ อม เครื่ องเชื่ อมแต่ละเครื่ องต้ องมี การป้องกันกระแสเกิ นที่มี พิกดั หรื อขนาดปรับตั้งไม่เกินร้ อยละ 300 ของพิกดั กระแสด้ านไฟเข้ าของเครื่ องเชื่อม ยกเว้ น ไม่ ต้องมี เครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นสําหรับเครื ่องเชื ่อมได้ ถ้าสายไฟฟ้ าที จ่ ่ายไฟให้แก่เครื ่องเชื ่อม มี

10-4

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

เครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นที ม่ ี พิกดั หรื อขนาดปรับตัง้ ไม่เกิ นร้อยละ 300 ของพิ กดั กระแสด้านไฟ เข้าของเครื ่องเชื อ่ ม 10.1.4.2.2 สําหรั บสายไฟฟ้า สายไฟฟ้าสําหรับเครื่ องเชื่อมเครื่ องเดียวหรื อหลายเครื่ อง ต้ อง มีเครื่ องป้องกันกระแสเกินที่มีพิกดั หรื อขนาดปรับตั้งไม่เกินร้ อยละ 300 ของขนาดกระแสของ สายไฟฟ้า 10.1.4.3 เครื่ องปลดวงจร ต้ องติดตั้งเครื่ องปลดวงจรทางด้ านไฟเข้ าของเครื่ องเชื่อม เครื่ องปลดวงจรต้ องเป็ นสวิตช์หรื อ เชอร์ กิ ต เบรกเกอร์ ที่ มี ข นาดใหญ่ ไ ม่ ตํ่ า กว่า ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตามที่ กํ า หนดในข้ อ 10.1.4.1 ในกรณีที่มีเครื่ องเชื่อมเครื่ องเดียว ยอมให้ ใช้ สวิตช์ที่ติดตั้งทางด้ านไฟเข้ าของเครื่ อง เชื่อมเป็ นเครื่ องปลดวงจรได้

10.2 สระนํา้ อ่ างนํา้ พุ และการติดตัง้ อื่นที่คล้ ายกัน ตอน ก. ทั่วไป 10.2.1 ขอบเขต ครอบคลุมถึงการเดินสายและการติดตั้งบริ ภัณฑ์ ภายในหรื อชิดกับสระนํา้ และอ่างนํ า้ พุชนิด ก่อสร้ างถาวร รวมทั้งบริ ภณ ั ฑ์ประกอบ ซึง่ ทําด้ วยโลหะ เช่นเครื่ องสูบนํ ้า และเครื่ องกรองนํ ้า 10.2.2

ข้ อกําหนดนี ้ใช้ เป็ นข้ อกําหนดเพิ่มเติมจากที่กล่าวในตอนต้ น

10.2.3

คําจํากัดความ

โคมไฟฝั งกันนํา้ แบบแห้ ง (Dry-Niche Lighting Fixture) หมายถึง โคมไฟฟ้าที่ใช้ สําหรับติดฝั งที่ ผนังสระหรื ออ่างนํ ้าพุ โดยติดตั้งไว้ ในช่องแล้ วผนึกกันนํ ้าเข้ า เปลือกหุ้มโคมในสระ (Forming Shell) หมายถึง โครงสร้ างโลหะออกแบบสําหรับรองรับชุด โคมไฟฝั งกันนํ ้าแบบเปี ยก และสําหรับติดตั้งในโครงสร้ างของสระและอ่างนํ ้าพุ อ่ างนํา้ พุประดับและสระสะท้ อนแสงชนิดติดตัง้ ถาวร (Permanently Installed-Decorative Fountains and Reflection Pools) หมายถึง สระและอ่างนํ ้าพุที่สร้ างขึ ้นเพื่อความสวยงาม มิได้ ใช้ สําหรับว่ายนํ ้า การก่อสร้ างอาจก่อสร้ างในดินหรื อบนพื ้นดินหรื อภายในอาคารในลักษณะ ที่ไม่สามารถถอดออกเก็บได้ และมีวงจรไฟฟ้าจ่ายไฟ

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-5

สระว่ ายนํา้ ชนิดติดตัง้ ถาวร (Permanently Installed Swimming Pools) หมายถึง สระที่ ก่อสร้ างในดิน บนพื ้นดิน หรื อในอาคารในลักษณะที่ไม่สามารถถอดออกเก็บได้ ทั้งที่มีและไม่มี วงจรไฟฟ้า โคมไฟฝั งกันนํา้ แบบเปี ยก (Wet-Niche Lighting Fixture) หมายถึง โคมไฟฟ้าสําหรับติดตั้ง ในเปลือกหุ้มโลหะ ติดตั้งในโครงสร้ างของสระหรื ออ่างนํ ้าพุ โดยโคมไฟล้ อมรอบด้ วยนํ ้า 10.2.4 หม้ อแปลงไฟฟ้า และเครื่ องป้องกันกระแสรั่ วลงดิน 10.2.4.1 หม้ อแปลงไฟฟ้า หม้ อแปลงที่ใช้ สําหรับโคมไฟฟ้าใต้ นํ ้ารวมถึงเครื่ องห่อหุ้มหม้ อแปลง ต้ องเป็ นชนิดที่ระบุให้ ใช้ เพื่อจุดประสงค์นี ้ หม้ อแปลงต้ องเป็ นชนิดหม้ อแปลงนิรภัย (ชนิดแยกขดลวด) 10.2.4.2 เครื่ องป้องกันกระแสรั่ วลงดิน ต้ องเป็ นชนิดหน่วยประกอบสําเร็ จเป็ นแบบตัดตอนอัตโนมัติ แบบเต้ ารับ หรื อแบบอื่นที่ได้ รับการ รับรอง 10.2.4.3 การเดินสาย สายไฟฟ้าที่ต่อออกทางด้ านโหลดของเครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดิน หรื อจาก หม้ อแปลง ซึ่งใช้ สําหรับโคมไฟฟ้าใต้ นํ ้าตามข้ อ 10.2.11 ห้ ามเดินรวมอยู่ภายในท่อ กล่อง หรื อในเครื่ องห่อหุ้ม เดียวกับสายอื่นๆ ข้ อยกเว้ นที่ 1 เครื ่ องป้ องกันกระแสรั่วลงดิ น ยอมให้ติดตัง้ ในแผงย่อยที ่มีวงจรอื ่นซึ่ งมิ ได้มี การป้ องกันกระแสลัดวงจรและรัว่ ลงดิ นได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 สายจ่ายไฟฟ้ าให้เครื ่องป้ องกันกระแสรั่วลงดิ นชนิ ดป้ อนผ่านหรื อชนิ ดเต้ารับ ยอมให้อยู่ในเครื ่องห่อหุม้ เดียวกันได้ ข้ อยกเว้ นที่ 3 สายไฟฟ้ าทางด้านโหลดของเครื ่ องป้ องกันกระแสรั่วลงดิ น ยอมให้เดิ นในช่อง เดิ นสายไฟฟ้ า กล่อง หรื อเครื ่ องห่อหุ้มที ่มีเฉพาะสายไฟฟ้ า ซึ่ งมี การป้ องกัน ด้วยเครื ่องป้ องกันกระแสรัว่ ลงดิ น ข้ อยกเว้ นที่ 4 สายดิ น

10.2.5 เต้ ารั บ โคมไฟฟ้า และจุดต่ อไฟฟ้าแสงสว่ าง 10.2.5.1 เต้ ารั บ 10.2.5.1.1 เต้ ารับต้ องติดตังห่ ้ างจากขอบสระด้ านในไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร ยกเว้ น เต้ารับ ทีจ่ ่ายไฟให้เครื ่องสูบนํ้าทีต่ ิ ดตัง้ ถาวรซึ่ งใช้กบั สระนํ้าหรื อนํ้าพุตามข้อ 10.2.6 ยอมให้มีระยะห่าง ระหว่าง 1.50 ถึง 3.00 เมตรได้ แต่ตอ้ งเป็ นเต้ารับชนิ ดเต้ารับเดีย่ วล็อกได้และเป็ นชนิ ดมี สายดิ น และต้องมี การป้ องกันด้วยเครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นและรัว่ ลงดิ น

10-6

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.2.5.1.2 ถ้ าเป็ นสระว่ายนํ ้าชนิดติดตังถาวรในสถานที ้ ่อยู่อาศัย ต้ องติดตั้งเต้ ารับอย่างน้ อย 1 จุด ที่ระยะห่างจากขอบสระด้ านในไม่น้อยกว่า 3.0 เมตร และไม่เกิน 6.0 เมตร 10.2.5.1.3 เต้ ารับต่างๆ ที่ติดตั้งห่างจากขอบสระด้ านในภายในระยะ 6.0 เมตร ต้ องติดตั้ง เครื่ องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน 10.2.5.2 โคมไฟฟ้า จุดต่ อไฟฟ้าแสงสว่ าง และพัดลมเพดาน 10.2.5.2.1 โคมไฟฟ้า จุดต่อไฟฟ้าแสงสว่าง และพัดลมเพดาน ห้ ามติดตั้งเหนือสระนํ ้า หรื อ อยู่เหนือพื ้นที่ซงึ่ ห่างจากขอบสระด้ านในตามแนวระดับไม่เกิน 1.50 เมตร เว้ นแต่จะไม่มีสว่ นใด ของโคมไฟฟ้าหรื อพัดลมเพดานอยูส่ งู จากระดับนํ ้าในสระไม่น้อยกว่า 3.65 เมตร ข้ อยกเว้ นที่ 1 โคมไฟฟ้ าและจุด ต่ อ ไฟฟ้ าแสงสว่างที ่ติดตัง้ อยู่เดิ มมี ระยะห่างตามแนว ระดับวัดจากขอบสระด้านในน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องอยู่สูงจากระดับนํ้า สูงสุดไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร และต้องติ ดตัง้ กับโครงสร้างเดิ มอย่างมัน่ คง ข้ อยกเว้ นที่ 2 บริ เวณสระว่ายนํ้ าภายในอาคารไม่ต้องปฏิ บตั ิ ตามข้อ 10.2.5.2.1 ถ้า เป็ นไปตามข้อต่างๆ เหล่านีท้ กุ ข้อคือ 1) โคมไฟฟ้ าเป็ นชนิ ดปิ ดมิ ดชิ ด 2) วงจรย่อยทีจ่ ่ายไฟให้โคมไฟฟ้ าหรื อพัดลมเพดานนี ้ ติ ดตัง้ เครื ่องป้ องกัน กระแสเกิ นและรัว่ ลงดิ น 3) ส่วนล่ างของโคมไฟฟ้ าหรื อพัดลมเพดานอยู่สูงจากระดับนํ้ าสูงสุดไม่ น้อยกว่า 2.30 เมตร

10.2.5.2.2 โคมไฟฟ้ าและจุดต่อไฟฟ้ าแสงสว่างในระยะระหว่าง 1.50 เมตร ถึง 3.00 เมตร จากขอบสระด้ านในโดยวัดตามแนวระดับ ถ้ าติดตั้งสูงจากระดับนํ ้าสูงสุดไม่ถึง 1.50 เมตร ต้ อง ป้องกันด้ วยเครื่ องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดินและต้ องยึดติดกับโครงสร้ างอย่างมัน่ คง ุ -สมบัติตามข้ อ 10.2.6 เมื่อ 10.2.5.2.3 โคมไฟฟ้าชนิดต่อด้ วยสายพร้ อมเต้ าเสียบ ต้ องมีคณ ติดตังในระยะ ้ 4.80 เมตร จากผิวนํ ้าวัดตามแนวรัศมี 10.2.5.3 อุปกรณ์ สับปลดวงจร ติดตังห่ ้ างจากขอบสระด้ านในวัดตามแนวระดับไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร นอกจากจะกั้นด้ วยรั้ว ผนัง หรื อโครงสร้ างที่ถาวร 10.2.6 บริภณ ั ฑ์ ชนิดต่ อด้ วยสายพร้ อมเต้ าเสียบ นอกจากโคมไฟฟ้าใต้ นํ ้าสําหรับสระชนิดติดตั้งถาวรบริ ภณ ั ฑ์ชนิดยึดติดแน่นหรื อติดตั ้งประจําที่ ซึง่ มีพิกดั ไม่เกิน 20 แอมแปร์ ยอมให้ ตอ่ ด้ วยสายอ่อนได้ สายอ่อนต้ องยาวไม่เกิน 0.90 เมตร และ มีสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ขนาดตัวนําทองแดงไม่เล็กกว่า 1.5 ตร.มม. และใช้ เต้ ารับแบบมีสายดิน

10-7

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.2.7 ระยะห่ างจากสายอากาศ ห้ ามเดินสายเปิ ดเหนือสระและส่วนประกอบของสระดังนี ้ 10.2.7.1 สระและบริ เวณที่หา่ งจากขอบสระด้ านในออกไปไม่เกิน 3.00 เมตร ตามแนวระดับ 10.2.7.2 ที่กระโดดนํ ้า 10.2.7.3 อัฒจันทร์ สงั เกตการณ์ หอ หรื อพื ้นยก ข้ อยกเว้ นที่ 1 สิ่ งปลูกสร้ างตามข้อ 10.2.7.1 ถึง 10.2.7.3 อนุญาตให้อยู่ใต้แนวสายจ่ายไฟ หรื อตัวนํา ประธานลงเครื ่องวัดหน่วยไฟฟ้ า ของการไฟฟ้ าฯ ได้ หากมีระยะห่างตามตารางที ่ 10-1 ข้ อยกเว้ นที่ 2 สายสือ่ สาร และสายสะพานขององค์การท้องถิ่ น อนุญาตให้เดิ นเหนือสระว่ายนํ้า อัฒจันทร์ สังเกตการณ์ หอ และพืน้ ยก แต่ทงั้ นีต้ อ้ งเหนือไม่นอ้ ยกว่า 3.0 เมตร ตารางที่ 10-1 ระยะห่ างระหว่ างสายไฟฟ้าอากาศกับส่ วนต่ างๆ ของสระว่ ายนํา้

ระยะห่ าง

ตัวนําประธานจ่ ายไฟหรื อตัวนํ า ประธานลงเครื่ องวัดฯ ชนิ ดเดิน ไ ป กั บ ส า ย ส ะ พ า น ห รื อ ส า ย สะพานในตัวซึ่งต่ อลงดิน แรงดัน ต่ อดินไม่ เกิน 750 โวลต์

ตัวนําประธานจ่ ายไฟหรื อ ตัวนําประธานลง เครื่ องวัดฯ ชนิดอื่น แรงดันต่ อดิน 0-15 เควี 15-50 เควี

ก) ระยะห่ า งวัดทุก ทิ ศทางถึ ง ระดับนํ ้า ขอบของผิวนํ ้า ฐาน 6.90 เมตร 7.50 เมตร 8.00 เมตร ของกระดานกระโดดนํ ้า ข) ระยะห่ างวัดทุก ทิ ศ ทางถึง กระดานกระโดดนํา้ หรื อ 4.40 เมตร 5.20 เมตร 5.50 เมตร หอกระโดดนํ ้า ค) ระยะห่ างวัดตามแนวนอน ระยะห่างนี ้นับถึงขอบด้ านนอกของสิ่งปลูกสร้ างที่ระบุใน 10.2.7.1 และ10.2.7.2 จากขอบสระด้ านใน ข้ างต้ น แต่ทงนี ั ้ ้ต้ องไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร

10.2.8 เครื่ องทํานํา้ ร้ อนสําหรั บสระ เครื่ องทํานํ ้าร้ อนสําหรับสระต้ องแบ่งตัวทําความร้ อนออกเป็ นส่วนๆ แต่ละส่วนมีขนาดไม่เกิน 48 แอมแปร์ และใส่เครื่ องป้องกันการลัดวงจร ขนาดไม่เกิน 60 แอมแปร์ เครื่ องป้องกันกระแสเกิน หรื อขนาดกระแสของสายไฟฟ้าต้ องไม่ตํ่ากว่าร้ อยละ 125 ของโหลด ตามที่ระบุบนแผ่นป้ายประจําเครื่ อง 10.2.9 ตําแหน่ งการเดินสายใต้ ดนิ ห้ ามเดินสายใต้ ดิน ใต้ สระหรื อใต้ ส่วนที่ยื่นไปในสระในระยะ1.50 เมตร วัดตามแนวนอนจาก ขอบสระด้ านใน

10-8 ข้ อยกเว้ นที่ ข้ อยกเว้ นที่

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน 1 การเดิ นสายสําหรับบริ ภณ ั ฑ์ทีอ่ นุญาตในข้อ 10.1 ยอมให้อยู่ในบริ เวณนีไ้ ด้ 2 เมือ่ มีสถานทีจ่ ํ ากัดไม่สามารถหลี กเลี ย่ งให้พน้ ระยะ 1.50 เมตร จากขอบสระด้านในได้ สาย ดังกล่าวจะต้องเดิ นในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลางหรื อระบบช่องเดิ นสายไฟฟ้ า อโลหะ ท่อโลหะที ่ใช้ต้องเป็ นชนิ ดทนการผุกร่ อน และเป็ นชนิ ดเหมาะสมแก่การติ ดตัง้ ใน สถานทีเ่ ช่นนัน้ ความลึกในการติ ดตัง้ ใต้ดินสอดคล้องตามตารางที ่ 5-1 และไม่อนุญาตให้ ลดความลึกตามข้อกําหนดในหมายเหตุ

10.2.10 ห้ องบริภณ ั ฑ์ ไม่อนุญาตให้ ตดิ ตั้งบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าไว้ ในห้ องซึง่ มิได้ จดั การระบายนํ ้าให้ เพียงพอ เพื่อป้องกันนํ ้าที่ เกิดสะสมขึ ้นระหว่างการปฏิบตั กิ ารตามปกติ หรื อระหว่างการบํารุงรักษาเครื่ องกรองนํ ้า ตอน ข. สระชนิดติดตั้งถาวร 10.2.11 โคมไฟฟ้าใต้ นํา้ 10.2.11.1 ทั่วไป 10.2.11.1.1 แบบของโคมไฟใต้ นํ า้ ที ่รับ ไฟฟ้ าจากวงจรย่อ ย หรื อ จากหม้ อ แปลงตาม ข้ อ 10.2.4.1 ต้ องเป็ นแบบเมื่อติดตั้งอย่างเหมาะสม โดยไม่ได้ ติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสเกินและรั่ว ลงดินแล้ ว ต้ องไม่ทําให้ เกิดอันตรายจากไฟฟ้าดูดในสภาพใช้ งานตามปกติ และในกรณีที่ติดตั้ง เครื่ องป้องกันกระแสเกินและรั่วลงดิน สําหรับโคมไฟฟ้าที่ใช้ แรงดันเกินกว่า 15 โวลต์ ต้ องไม่ทํา ให้ เกิดอันตรายจากไฟฟ้าดูดขณะเปลี่ยนหลอด ทั้งนีโ้ ดยการใช้ โคมไฟฟ้า และเครื่ องป้องกัน กระแสเกินและรั่วลงดินที่ได้ รับการรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้ 10.2.11.1.2 โคมไฟฟ้าที่ตดิ ตั้ง ห้ ามใช้ ระบบแรงดันระหว่างสายเกิน 230 โวลต์ 10.2.11.1.3 โคมไฟที่ติดตั้งในผนัง (ขอบ) สระ ต้ องติดตั้งให้ เลนส์ส่วนบนของดวงโคมอยู่ใต้ ระดับนํ ้าปกติเป็ นระยะอย่างน้ อย 0.45 เมตร โคมไฟที่หนั ด้ านหน้ าขึ ้น จะต้ องมีครอบป้องกันการ สัมผัสจากบุคคล ยกเว้ น อนุญาตให้ใช้โคมไฟฟ้ าทีแ่ สดงเอกลักษณ์ ทีว่ ่าใช้ทีร่ ะดับระดับความ ลึกไม่นอ้ ยกว่า 100 มม. ใต้ระดับนํ้าปกติ 10.2.11.1.4 โคมไฟที่ทํางานได้ อย่างปลอดภัยเมื่ออยู่ใต้ ระดับนํ ้า ต้ องมีการป้องกันอันตราย อย่างเพียงพอจากความร้ อนเกินเมื่ออยูพ่ ้ นระดับนํ ้า 10.2.11.2 โคมไฟฟ้าฝั งกันนํา้ แบบเปี ยก 10.2.11.2.1 ต้ องติดตั ้งเปลือกหุ้มโคมโลหะ สําหรับโคมไฟฟ้ าฝั งผนังกันนํ ้าแบบเปี ยกและต้ อง มีข้อต่อเกลียวสําหรั บต่อกับท่อ ใช้ ท่อโลหะหนาหรื อท่อโลหะหนาปานกลางที่เป็ นทองเหลือง หรื อโลหะทนการผุกร่ อนหรื อท่ออโลหะหนาต่อจากเปลือกหุ้มโดยไปเข้ ากล่องชุมสายหรื อเครื่ อง

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-9

ห่อ หุ้ม ที่ ติดตั้งตามที่ กําหนดในข้ อ 10.2.12 กรณี ที่ใ ช้ ท่ออโลหะหนาต้ องเดินสายขนาด พื ้นที่หน้ าตัดไม่เล็กกว่า 6 ตร.มม. ในท่อ เพื่อต่อเปลือกหุ้มโคม กล่องชุมสาย หรื อเครื่ องห่อหุ้ม ของหม้ อแปลง หรื อเครื่ องห่อหุ้มของเครื่ องป้องกันไฟรั่ว การต่อสายกับเปลือกหุ้มโคม ต้ องปิ ด หรื อหุ้มด้ วยสารผนึกเพื่อป้องกันการผุกร่ อนจากนํ ้าในสระ ส่วนประกอบของโคมและเปลือกหุ้มที่ สัมผัสกับนํ ้า ต้ องทําด้ วยทองเหลือง หรื ออโลหะทนการผุกร่อนอย่างอื่น 10.2.11.2.2 ส่วนปลายของสายอ่อน และการต่อสายอ่อนในโคมไฟฟ้าต้ องปิ ดหรื อหุ้มด้ วยสาร อุดเพื่อป้องกันนํา้ เข้ าไปในโคม นอกจากนีจ้ ุดต่อลงดินภายในโคมไฟ ต้ องมีการป้องกันการผุ กร่อนจากนํ ้าในสระ ในกรณีที่นํ ้าเข้ าในโคม 10.2.11.2.3 โคมไฟต้ องประสานและยึดแน่นกับเปลือกหุ้มโคม โดยเครื่ องยึดเพื่อให้ เกิดความ ต่อเนื่องทางไฟฟ้าอย่างสมบูรณ์ และการถอดโคมต้ องใช้ เครื่ องมือพิเศษช่วย 10.2.11.3 โคมไฟฝั งกันนํา้ แบบแห้ ง โคมไฟฝั งกันนํ ้าแบบแห้ งต้ องจัดให้ มีการระบายนํ ้า และต้ องมีที่ตอ่ สายดินสําหรับแต่ละท่อที่ต่อ เข้ าโคม ต้ องใช้ ท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง หรื อท่อโลหะหนาที่ได้ รับการรับรองต่อจากโคมไฟ ไปยังแผงย่อย ไม่ต้องใช้ กล่องชุมสาย แต่ถ้าใช้ ก็ไม่ต้องติดตั้งในระดับและตําแหน่งที่กําหนดใน ข้ อ 10.2.12.1.4 ถ้ าโคมไฟมีการแสดงเอกลักษณ์เป็ นพิเศษเพื่อวัตถุประสงค์นั ้น 10.2.12 กล่ องชุมสาย และเครื่ องห่ อหุ้มของหม้ อแปลงหรื อเครื่ องป้องกันกระแสรั่ วลง ดิน 10.2.12.1 กล่ องชุมสาย กล่องชุมสายที่ตอ่ กับท่อซึง่ ต่อไปถึงเปลือกโคมต้ องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี ้ 10.2.12.1.1 ต้ องจัดให้ มีที่ตอ่ ท่อเกลียว หรื อข้ อต่อสําหรับท่ออโลหะ และ 10.2.12.1.2 เป็ นทองแดง ทองเหลือง พลาสติกที่เหมาะสม หรื อสารทนการผุกร่อนอื่น และ 10.2.12.1.3 ต้ องทําให้ มีการต่อเนื่องทางไฟฟ้าระหว่างท่อโลหะที่ต่อเข้ าโคมกับขั้วต่อสายดิน ด้ วยทองแดง ทองเหลือง หรื อสารทนการผุกร่อนอื่น ซึง่ ติดเป็ นส่วนประกอบของกล่อง และ 10.2.12.1.4 ติดตั้งในระยะไม่น้อยกว่า 0.20 เมตร วัดจากก้ นกล่องด้ านในเหนือระดับ พื ้นดิน ชานขอบสระ หรื อที่ระดับนํ ้าในสระสูงสุด แล้ วแต่อย่างไหนจะได้ ระดับสูงสุดและต้ องอยู่ ห่างจากผนังสระด้ านในไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร ถ้ ามิได้ แยกจากสระโดยกั ้นทึบด้ วยกําแพง รัว้ หรื อ การกั้นแบบอื่น

10-10

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

ยกเว้ น สําหรับระบบแสงสว่างแรงดันไม่เกิ น 15 โวลต์ อนุญาตให้ใช้กล่องฝั งผิ วหน้าเสมอ ระดับชานขอบได้โดยต้องจัดให้มีการใส่สารอุดในกล่องเพื ่อกันความชื ้นเข้าภายใน กล่อง และกล่องต้องอยู่ห่างจากผนังสระด้านในไม่นอ้ ยกว่า 1.20 เมตร 10.2.12.2 เครื่ องห่ อหุ้มหรื อเครื่ องห่ อหุ้มอื่นๆ เครื่ องห่อหุ้มหรื อเครื่ องห่อหุ้มสําหรับหม้ อแปลง เครื่ องป้องกันไฟรั่ว หรื ออุปกรณ์ที่คล้ ายกัน ซึ่ง ต่อกับท่อที่ตอ่ ตรงกับเปลือกหุ้มโคม ต้ องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี ้ 10.2.12.2.1 ต้ องจัดให้ มีที่ตอ่ ท่อเกลียว หรื อข้ อต่อสําหรับท่ออโลหะ และ 10.2.12.2.2 จัดให้ มีการผนึก เช่น การผนึกที่หวั ต่อท่อ เพื่อป้องกันการหมุนเวียนของอากาศ ระหว่างท่อและเครื่ องห่อหุ้ม และ 10.2.12.2.3 ต้ องทําให้ มีการต่อเนื่องทางไฟฟ้า ระหว่างท่อโลหะที่ตอ่ เข้ าเครื่ องห่อหุ้มกับขั้วต่อ สายดิน ด้ วยทองแดง ทองเหลือง หรื อสารทนการผุกร่ อนอื่น ซึ่งติดเป็ นส่วนประกอบของเครื่ อง ห่อหุ้ม และ 10.2.12.2.4 ติดตังในระยะไม่ ้ น้อยกว่า 0.20 เมตร วัดจากก้ นกล่องด้ านในเหนือระดับดินชาน ขอบสระ หรื อระดับนํ ้าในสระสูงสุด แล้ วแต่อย่างไหนจะได้ ระดับสูงสุด และต้ องอยู่ห่างจากผนัง ้ บด้ วยกําแพง รั้ว หรื อการกั้น สระด้ านในไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร ถ้ ามิได้ แยกจากสระโดยกันทึ แบบอื่น 10.2.12.3 การป้องกัน กล่อ งชุม สายและเครื่ อ งห่อ หุ้ม ซึ่ง ติด ตั้ง เหนื อ ระดับ ทางเดิน ขอบสระ ห้ า มติด ตั้ง ในบริ เ วณ ทางเดิน นอกจากจะมี การป้ องกันเพิ่ มเติม เช่น ติดตั้งไว้ ใต้ กระดานกระโดดนํ า้ หรื อติดกับ โครงสร้ างที่ยดึ แน่น หรื อที่คล้ ายกัน 10.2.12.4 ขัว้ ต่ อสายดิน กล่องชุมสาย เครื่ องห่อหุ้มของหม้ อแปลง และเครื่ องป้องกันไฟรั่วที่ต่อโดยตรงกับท่อซึ่งต่อเข้ า เปลือกหุ้มโคม ต้ องจัดให้ มีขวต่ ั ้ อสายดินเป็ นจํานวนมากกว่าจํานวนท่อที่ตอ่ เข้ าอย่างน้ อย 1 ขั้ว 10.2.12.5 การลดแรงดึง การต่อปลายของสายอ่อนภายในกล่องต่อสายของโคมไฟฟ้าใต้ นํ ้า เครื่ องห่อหุ้มของหม้ อแปลง และเครื่ องป้องกันไฟรั่ว หรื อเครื่ องห่อหุ้มอื่น ต้ องจัดให้ มีการลดแรงดึง 10.2.13 การประสาน 10.2.13.1 ส่ วนที่ต้องประสาน ส่วนต่างๆ ต่อไปนี ้ต้ องประสานให้ ตดิ ต่อกัน

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-11

ก) ส่วนที่เป็ นโลหะของโครงสร้างของสระ รวมทั้งโลหะที่ใช้ เสริ มแรงของตัวสระ ของสันกําแพง และของชานขอบสระ ข) เปลือกหุ้มโคม ค) หัวต่อโลหะที่อยูภ่ ายในหรื อสัมผัสโครงสร้ างของสระ ง) ส่วนโลหะของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ใช้ ในระบบหมุนเวียนนํา้ ในสระ รวมทั ้งมอเตอร์ เครื่ องสูบนํ ้าด้ วย จ) ส่วนโลหะของบริ ภณ ั ฑ์ที่ใช้ งานร่วมกับหลังคาสระ รวมทั้งมอเตอร์ ไฟฟ้าด้ วย ฉ) เปลือกโลหะของเคเบิลและท่อสาย ท่อโลหะ และส่วนโลหะที่ยึดติดกับที่ ซึ่งอยู่ ห่างจากขอบสระด้ านในตามแนวระดับไม่เกิน 1.50 เมตร หรื ออยู่ในระดับสูง ไม่เกิน 3.60 เมตร จากระดับนํ ้าสูงสุดหรื อโครงสร้ างอื่นที่ไม่ได้ แยกออกจากตัว สระด้ วยโครงสร้ างถาวร ข้ อยกเว้ นที่ 1 ใช้ลวดผูกเหล็กก่อสร้างในการประ-สานเหล็กเสริ มแรงได้ และไม่ตอ้ งเชือ่ ม ประสาน หรื อใช้ ตัวจับยึดเป็ นพิเศษ ข้ อยกเว้ นที่ 2 โครงสร้างเหล็กเสริ มแรง หรื อผนังของโครงสร้างโลหะของสระทีเ่ ชือ่ มติ ดกัน หรื อต่อด้วยสลัก เกลี ยว อนุญาตให้ใช้เป็ นตะแกรงประสาน (common' bonding grid) สําหรับส่วนทีไ่ ม่ใช้ ไฟฟ้ า กรณี ทีก่ ารต่อสามารถทําได้ตามข้อกําหนดในเรื ่องการต่อลงดิ น ข้ อยกเว้ นที่ 3 ส่วนแยกทีม่ ี ขนาดไม่เกิ น 100 มม. และแทรกเข้าไปในโครงสร้างของสระลึกไม่เกิ น 25 มม. ไม่ตอ้ งประสาน

10.2.13.2 ตะแกรงประสานร่ วม ส่วนต่อไปนี ต้ ้ องต่อกับตะแกรงประสานร่ วมด้ วยสายเดี่ยวเป็ นทองแดงเปลือยหรื อหุ้มฉนวน ขนาดไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม. การต่อต้ องทําโดยการบีบ หรื อใช้ ตวั จับยึดชนิด ทองแดง ทองเหลือง หรื อทองแดงผสม ตะแกรงประสานร่วมอาจเป็ นสิง่ ต่อไปนี ้ 10.2.13.2.1 เหล็กเสริ มแรงของสระคอนกรี ต เมื่อเหล็กเสริ มแรงเหล่านั้นประสานติดต่อกัน ด้ วยลวดผูกเหล็กหรื อย่างอื่นที่เทียบเท่า 10.2.13.2.2 ผนังของสระโลหะซึง่ ประกอบเข้ าด้ วยการเชื่อมประสานหรื อสลักเกลียว 10.2.13.2.3 ตัวนําเดี่ยว (solid conductor) ทําด้ วยทองแดงเปลือยหรื อหุ้มฉนวน ขนาดไม่เล็ก กว่า 10 ตร.มม. 10.2.13.3 เครื่ องทําความร้ อนนํา้ ในสระ สําหรับเครื่ องทําความร้อนนํ ้าในสระที่มีพิกัดเกินกว่า 50 แอมแปร์ ซึ่งได้ มีข้อแนะนําเฉพาะ เกี่ยวกับการประสานและการต่อลงดิน ส่วนที่กําหนดให้ ประสานต้ องมีการประสานให้ ติดต่อกัน และส่วนที่กําหนดให้ ตอ่ ลงดิน ต้ องต่อลงดิน

10-12

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.2.14 บริภณ ั ฑ์ เครื่ องเสียงใต้ นํา้ บริ ภณ ั ฑ์เครื่ องเสียงใต้ นํ ้าทั้งหมด ต้ องมีการแสดงเอกลักษณ์เพื่อใช้ ตามวัตถุประสงค์นั้น 10.2.14.1 ลําโพง ลําโพงแต่ละตัวต้ องติดตั้งภายในเปลือกโลหะหุ้มลําโพงด้ านหน้ า ซึ่งปิ ดด้ วยตะแกรงโลหะมีการ ประสานและยึดแน่นกับเปลือกหุ้มลําโพง โดยอุปกรณ์ล็อกให้ มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าสมบูรณ์ และต้ องใช้ เครื่ องมือเปิ ดในการติดตังหรื ้ อบริ การตัวลําโพง เปลือกหุ้มลําโพงต้ องติดตั้งฝั งในผนัง หรื อพื ้นของสระ 10.2.14.2 วิธีเดินสาย การเดินสายใช้ ท่อโลหะหนา หรื อท่อโลหะหนาปานกลางที่ทําด้ วยทองเหลืองหรื อโลหะทนการผุ กร่ อนอย่างอื่น หรื อท่ออโลหะหนาต่อจากเปลือกหุ้มลําโพงไปยังกล่องชุมสายที่เหมาะสม หรื อ เครื่ องห่อหุ้มอย่างอื่นตามข้ อ 10.2.12 ในกรณีที่ใช้ ท่ออโลหะหนา ต้ องเดินสายทองแดงเดี่ยว ขนาดไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม. ภายในท่อต่อปลายเข้ ากับเปลือกหุ้มลําโพง และกล่องชุมสาย ปลายทางด้ านเปลือกหุ้มลําโพง ต้ องปิ ดหรื อหุ้มด้ วยสารผนึกเพื่อป้องกันการผุกร่ อนจากนํ ้าใน สระ 10.2.14.3 เปลือกหุ้มลําโพงและตะแกรงโลหะ เปลือกหุ้มลําโพงและตะแกรงโลหะต้ องทําด้ วยทองเหลืองหรื อโลหะทนการผุกร่ อนอย่างอื่นที่ได้ รับ การรับรอง เพื่อจุดประสงค์นั้นแล้ ว 10.2.15 การต่ อลงดิน บริ ภณ ั ฑ์ตอ่ ไปนี ้ต้ องต่อลงดิน ก) โคมไฟฝั งผนังกันนํ ้าแบบเปี ยก ข) โคมไฟฝั งผนังกันนํ ้าแบบแห้ ง ค) บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ตดิ ตั้งในระยะ 1.50 เมตร จากผนังสระด้ านใน ง) บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่เกี่ยวข้ องกับระบบการหมุนเวียนนํ ้าในสระ จ) กล่องชุมสาย ฉ) เครื่ องห่อหุ้มของหม้ อแปลง ช) เครื่ องป้องกันไฟรั่ว ซ) แผงวงจรย่อยที่ไม่ใช่สว่ นของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน และจ่ายไฟให้ แก่บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า ที่เกี่ยวข้ องกับสระ

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-13

10.2.16 วิธีการต่ อลงดิน 10.2.16.1 ทั่วไป การดําเนินการต่อไปนีใ้ ช้ สําหรับการต่อลงดินของโคมไฟใต้ นํ ้า กล่องชุมสายเครื่ องห่อหุ้มของ หม้ อแปลงที่เป็ นโลหะ แผงวงจรย่อย รวมทังเครื ้ ่ องห่อหุ้มและบริ ภณ ั ฑ์อื่น 10.2.16.2 โคมไฟใช้ ในสระและบริภณ ั ฑ์ อ่ ืน 10.2.16.2.1 โคมไฟฟ้าผนังกันนํ ้าแบบเปี ยก จะต้ องต่อกับตัวนําต่อลงดินของบริ ภัณฑ์ ขนาด ตามตารางที่ 4-2 หรื อ 4-3 แต่ต้องไม่เล็กกว่า 4.0 ตร.มม. และต้ องเป็ นสายหุ้มฉนวนเดินรวมไป กับสายไฟภายในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง หรื อท่ออโลหะหนา ข้ อยกเว้ นที่ 1 ให้ใช้ท่อโลหะบางได้ ถ้าติ ดตัง้ ภายในอาคาร ข้ อยกเว้ นที่ 2 ตัวนํ าต่อลงดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ระหว่างกล่องสาย (wiring chamber) ของ ขดลวดทุติยภู มิของหม้อแปลงและกล่ องชุมสาย ต้องกํ าหนดขนาดตาม ขนาดของเครื ่องป้ องกันกระแสเกิ นของวงจรนี ้

10.2.16.2.2 กล่องชุมสาย เครื่ องห่อหุ้มของหม้ อแปลง หรื อเครื่ องห่อหุ้มอื่นในวงจร ที่จ่ายไฟ แก่โคมไฟฟ้าฝั งผนังกันนํ ้าแบบเปี ยก และท่อสายของโคมไฟฟ้าฝั งผนังกันนํ ้าแบบแห้ ง ต้ องต่อลง ดินโดยต่อเข้ ากับขั้วสายดินของแผงย่อย ขั้วต่อนี ้ต้ องต่อโดยตรงกับแผงย่อย ตัวนําต่อลงดินของ บริ ภณ ั ฑ์ ต้ องติดตังโดยไม่ ้ มีการตัดต่อ ข้ อยกเว้ นที่ 1 ในกรณี ที่โคมไฟฟ้ าใต้นํ้ามากกว่า 1 ชุด รับไฟฟ้ าไฟฟ้ าจากวงจรย่ อย เดี ยวกันตัวนํ าต่อลงดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ที่ติดตัง้ ระหว่างกล่ องชุมสาย เครื ่ อง ห่ อหุ้มของหม้อแปลง หรื อเครื ่ องห่ อหุ้มอื ่น ในวงจรจ่ ายจ่ ายไฟให้แก่ โคม ไฟฟ้ าฝั งผนังกันนํ้ าแบบเปี ยกหรื อระหว่างช่ องที ่ใช้เดิ นสายของโคมไฟฝั ง ผนังกันนํ้าแบบแห้งอนุญาตให้ต่อปลายสายเข้าทีข่ วั้ ต่อสายดิ นได้ ข้ อยกเว้ นที่ 2 กรณี ที่โคมไฟฟ้ าใต้นํ้าต่อใช้ไฟฟ้ าจากหม้อแปลงเครื ่องป้ องกันกระแสรั่วลง ดิ น หรื อสวิ ตช์ นาฬิกา ซึ่ งอยู่ระหว่างแผงวงจรย่อยกับกล่องชุมสาย ซึ่ งต่อ ท่อที เ่ ดิ นเข้าโคมไฟฟ้ าใต้นํ้าโดยตรง ตัวนํ าต่อลงดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ อนุญาต ให้ต่อปลายสายเข้ากับขัว้ ต่อสายลงดิ นเครื ่ องห่อหุ้มของหม้อแปลง เครื ่อง ป้ องกันไฟรัว่ และของสวิ ตช์นาฬิกาได้

10.2.16.2.3 โคมไฟฟ้ าฝั ง ผนั ง กั น นํ า้ แบบเปี ยก ที่ รั บ ไฟฟ้ าด้ วยสายอ่ อ น ส่ ว นโลหะที่ ไ ม่ นํากระแส ต้ องต่อลงดิน โดยใช้ ตวั นําต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ เป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนซึง่ เป็ นสาย หนึ่งในสายอ่อนหรื อสายเคเบิลอ่อนนั้น ตัวนําต่อลงดินต้ องต่อเข้ ากับขั้วต่อสายลงดินในกล่อง ชุม สายที่ จ่ า ยไฟ หรื อ เครื่ อ งห่อ หุ้ม ของหม้ อ แปลง หรื อ เครื่ อ งห่อ หุ้ม อื่ น ตัว นํ า ต่อ ลงดิน ของ บริ ภณ ั ฑ์ต้องไม่เล็กกว่าตัวนําที่จ่ายไฟ และไม่เล็กกว่า 1.5 ตร.มม.

10-14

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.2.16.3 มอเตอร์ มอเตอร์ เกี่ยวกับสระนํ ้าต้ องต่อกับตัวนําลงดินของบริ ภณ ั ฑ์มีขนาดตามตารางที่ 4-1 หรื อ 4-2 แต่ต้องไม่เล็กกว่า 4.0 ตร.มม. และต้ องเป็ นตัวนําหุ้มฉนวนและเดินรวมอยู่กบั สายไฟในท่อโลหะ หนา หนาปานกลางหรื อท่ออโลหะหนา ข้ อยกเว้ นที่ 1 ให้ใช้ท่อโลหะบางป้ องกันตัวนําได้ถ้าติ ดตัง้ ภายในอาคาร ข้ อยกเว้ นที่ 2 ในกรณี ที่จําเป็ นต้องใช้ท่ออ่อนเดิ นสายถึ งหรื อใกล้กบั มอเตอร์ อนุญาตให้ใช้ ท่อโลหะหรื ออโลหะอ่อนกันของเหลว พร้อมอุปกรณ์ ประกอบทีร่ บั รองแล้ว ได้

10.2.16.4 แผงวงจรย่ อย แผงวงจรย่อยที่ไม่ใช่เป็ นส่วนหนึง่ ของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน ต้ องมีตวั นําต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ ติดตั ้งอยู่ ระหว่างขั้วต่อสายลงดินของแผงวงจรย่อยนี ก้ ับขั้วต่อสายลงดินของบริ ภัณฑ์ ประธาน ตัวนํ านี ้ กําหนดขนาดตามตารางที่ 4-1 หรื อ 4-2 แต่ต้องไม่เล็กกว่า 4.0 ตร.มม. อาจใช้ เป็ นสายหุ้มเดินร่ วม ไปกับสายป้อนในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง หรื อท่ออโลหะหนา ตัวนําต่อลงดินของ บริ ภณ ั ฑ์ต้องต่อเข้ ากับขั้วต่อสายลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ของแผงวงจรย่อย ข้ อยกเว้ นที่ 1 ตัวนําต่อลงดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ ระหว่างแผงวงจรย่อยทีม่ ี อยู่แล้วแต่อยู่ห่างจาก บริ ภณ ั ฑ์ ประธาน ไม่ต้องอยู่ในท่อเดี ยวกันกับที ก่ ํ าหนดในข้อ 10.2.16.3 ถ้า การต่ อ ถึ ง กัน ทํ า ด้ว ยเคเบิ ล ประกอบสํ า เร็ จ ซึ่ ง มี ต ัว นํ า ต่ อ ลงดิ น หุ้ม ฉนวน รวมอยู่ดว้ ยในตัว ข้ อยกเว้ นที่ 2 อนุญาตให้ใช้ท่อโลหะบางป้ องกันตัวนําได้ เมือ่ ติ ดตัง้ ภายในอาคาร

10.2.16.5 บริภณ ั ฑ์ ท่ ตี ่ อด้ วยสายอ่ อน กรณีที่บริ ภัณฑ์ที่ยึดติดกับที่หรื อติดตังติ ้ ดตังประจํ ้ าที่ต่อวงจรด้ วยสายอ่อนเพื่อสะดวกในการ ถอดออก หรื อปลดวงจรเพื่อการซ่อมและบํารุ งรั กษา หรื อถอดเก็บตามกํ าหนดในข้ อ 10.2.6 ตัวนําต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์ต้องต่อเข้ ากับส่วนโลหะของชุดประกอบสําเร็ จซึง่ ยึดติดอยู่กบั ที่ ส่วน ที่ถอดออกได้ ต้องติดตั้งอยูบ่ นหรื อประสานเข้ ากับส่วนที่ยดึ ติดกับที่ 10.2.16.6 บริภณ ั ฑ์ อย่ างอื่น บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าอย่างอื่นที่นอกเหนือจากโคมไฟใต้ นํ ้าต้ องต่อลงดินตามบทที่ 4 10.2.17 หลังคาคลุมสระที่ทาํ งานด้ วยไฟฟ้า 10.2.17.1 มอเตอร์ และเครื่ องควบคุมมอเตอร์ มอเตอร์ และเครื่ องควบคุมมอเตอร์ และการเดินสายต้ องอยู่ในระยะห่างจากผนังสระด้ านในไม่ น้ อยกว่า 1.50 เมตรหรื อถูกกั้นแยกออกจากสระด้ วยกําแพงฝาครอบ หรื อโครงสร้ างถาวรอื่นๆ มอเตอร์ ไฟฟ้าที่ตดิ ตั้งตํ่ากว่าระดับพื ้นต้ องเป็ นชนิดปิ ดมิดชิด

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-15

10.2.17.2 วิธีการเดินสาย มอเตอร์ และเครื่ องควบคุมมอเตอร์ ต้องต่อผ่านเครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดิน 10.2.8 การทําความร้ อนให้ กับบริเวณชานขอบสระ ข้ อกําหนดในข้ อนี ้ใช้ สําหรับพื ้นที่บริ เวณชานขอบสระรวมทั้งสระที่มีหลังคาคลุม เมื่อมีการใช้ เครื่ องทําความร้ อนเพื่อทําความอบอุน่ ในระยะ 6.0 เมตร จากผนังสระด้ านใน 10.2.18.1 หน่ วยเครื่ องทําความร้ อน หน่วยเครื่ องทําความร้อนต้ องยึดอย่างมั่นคงติดกับโครงสร้ างและต้ องเป็ นแบบปิ ดมิดชิดหรื อ แบบมี การกัน้ ห้ ามติดตั้งหน่วยเครื่ องทําความร้ อนไว้ เหนื อสระ หรื อเหนือพืน้ ที่ในระยะ 1.50 เมตร ตามแนวนอนจากผนังสระด้ านใน 10.2.18.2 เครื่ องทําความร้ อนแบบลวดแผ่ รังสีตดิ ตัง้ ถาวร เครื่ องทําความร้ อนไฟฟ้าแบบแผ่รังสีจะต้ องมีการกั้นและยึดแน่นด้ วยอุปกรณ์ติดตั้งที่เหมาะสม ห้ ามติดตั้งเครื่ องทําความร้ อนเหนือสระหรื อเหนือพื ้นที่ในระยะ 1.50 เมตร ตามแนวนอนจาก ผนังสระด้ านใน และต้ องติดตั้งสูงจากชานขอบสระไม่น้อยกว่า 3.60 เมตร หากมิได้ รับการ รับรองให้ ปฏิบตั เิ ป็ นอย่างอื่น ตอน ค. อ่ างนํ้าพุ 10.2.19 ทั่วไป ข้ อกําหนดนี ้ใช้ บงั คับสําหรับนํ ้าพุที่กําหนดในข้ อ 10.2.1 ถ้ านํ ้าพุใช้ นํ ้าร่ วมกันกับสระ จะต้ อง ปฏิบตั ิตามข้ อที่เกี่ยวกับสระ ยกเว้ น อ่างนํ้ าพุสําเร็ จรู ปชนิ ดหยิ บยกได้ และมี ขนาดวัดทุก ทิ ศทางไม่เกิ น 1.50 เมตร ไม่อยู่ในข้อบังคับของตอน ค. 10.2.20 โคมไฟฟ้า เครื่ องสูบนํา้ ชนิดแช่ ในนํา้ ได้ และบริภณ ั ฑ์ อ่ ืนชนิดแช่ ในนํา้ ได้ 10.2.20.1 เครื่ องป้องกันกระแสรั่ วลงดิน ต้ องติดตั ้งเครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดินในวงจรย่อยที่จ่ายไฟให้ กับบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าของอ่างนํ ้าพุ ยกเว้ น วงจรนํ้าพุขนาดแรงดันไม่เกิ น 15 โวลต์ รับไฟฟ้ าจากหม้อแปลงตามข้อ 10.2.4.1 ไม่ ต้องใส่เครื ่องป้ องกันกระแสรัว่ ลงดิ น 10.2.20.2 แรงดันใช้ งาน โคมไฟฟ้าต้ องใช้ ระบบแรงดันระหว่างสายไม่เกิน 230 โวลต์ ส่วนเครื่ องสูบนํ ้าชนิดแช่ในนํ ้าได้ และบริ ภณ ั ฑ์อื่นชนิดแช่ในนํ ้าได้ ต้ องใช้ ระบบแรงดันระหว่างสายไม่เกิน 400 โวลต์

10-16

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.2.20.3 เลนส์ ของโคมไฟฟ้า โคมไฟฟ้าต้ องติดตั้งให้ ส่วนบนของเลนส์อยู่ใต้ ระดับนํ ้าปกติในอ่างนํา้ พุ หากไม่ใช่เป็ นชนิดที่ ได้ รับการรั บรองให้ ติดตัง้ ได้ โดยด้ านหน้ าหงายขึน้ ต้ องมี เลนส์ ที่มี การกั้นอย่างเพี ยงพอเพื่ อ ป้องกันการสัมผัสจากบุคคล 10.2.20.4 การป้องกันความร้ อนเกิน บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่ทํางานอย่างปลอดภัยขึ ้นอยู่กับการอยู่ใต้ นํ ้า ต้ องป้องกันความร้ อนเกินโดยใช้ เชอร์ กิตเบรกเกอร์ ตดั วงจรเมื่อระดับนํ ้าตํ่า หรื อโดยใช้ มาตรการอื่นเมื่อระดับนํ ้าลดตํ่ากว่าระดับ ปกติ 10.2.20.5 การเดินสาย บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต้ องทํารูสําหรับต่อท่อเกลียวเข้ าได้ หรื อมีสายอ่อนที่เหมาะสม สายอ่อนที่เปิ ดโล่ง ในอ่างนํ ้าพุต้องยาวไม่เกิน 3.0 เมตร สายอ่อนส่วนที่พ้นขอบอ่างนํ ้าพุ ต้ องห่อหุ้มด้ วยด้ วยเครื่ อง ห่อหุ้มซึ่งได้ รับการรั บรองแล้ วส่วนโลหะของบริ ภัณฑ์ ที่สมั ผัสกัน ต้ องทําด้ วยทองเหลือง หรื อ โลหะที่ทนการผุกร่อนชนิดอื่น 10.2.20.6 การซ่ อมบํารุ ง บริ ภณ ั ฑ์ทั้งหมดต้ องนําขึ ้นจากนํ ้าได้ เพื่อเปลี่ยนหลอดหรื อบํารุ งรักษา ตามปกติโคมไฟต้ องไม่ ติดตั้งฝั งในโครงสร้ างของอ่างนํ ้าพุอย่างถาวร ทั้งนี ้เพื่อการเปลี่ยนหลอด ตรวจและบํารุ งรักษา ต้ องระบายนํ ้าออกจากอ่าง 10.2.20.7 ความมั่นคง บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าต้ องติดตั้งกับที่อย่างมัน่ คง 10.2.21 กล่ องชุมสายและเครื่ องห่ อหุ้มอื่น 10.2.21.1 ทั่วไป กล่องชุมสายและเครื่ องห่อหุ้มอื่น ๆ ที่ใช้ สําหรับนอกเหนือจากการติดตั้งใต้ นํ ้า ต้ องเป็ นไปตาม ข้ อ 10.2.12.1.1 ถึง 10.2.12.1.3 และข้ อ 10.2.12.2 ถึง 10.2.12.4 10.2.21.2 กล่ องชุมสายใต้ นํา้ และเครื่ องห่ อหุ้มใต้ นํา้ อื่น กล่องชุมสายใต้ นํ ้า และเครื่ องห่อหุ้มใต้ นํ ้าอื่น ๆ ต้ องเป็ นชนิดกันนํ ้า และ ก) ต้ องประกอบด้ วยช่องสําหรับต่อท่อเกลียวเข้ า หรื อปลอกรัด หรื อ แหวนผนึก (seal) สําหรับต่อสายคอร์ ดเข้ า ข) เป็ นทองแดง ทองเหลือง หรื อวัตถุทนการผุกร่อนอื่น ค) ใส่สารผนึกป้องกันความชื ้นเข้ า

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-17

ง) ติดอย่างมัน่ คงกับที่รองรับ หรื อผิวหน้ าของอ่างนํ ้าพุโดยตรงและต่อประสาน กรณีที่กล่องชุมสายติดต่อกับท่อโดยไม่มีการรองรับอย่างอื่น ท่อต้ องทําด้ วย ทองแดง ทองเหลือง หรื อโลหะทนการผุกร่ อนอื่นที่ได้ รับการรับรองแล้ ว ถ้ าท่อ ที่ต่อเข้ ากล่องเป็ นท่ออโลหะ กล่องต้ องยึดกับที่รองรับโดยใช้ ตวั จับยึดทําด้ วย ทองแดงทองเหลือง หรื อโลหะทนการผุกร่อนอื่นที่ได้ รับการรับรองแล้ ว 10.2.22 การประสาน ระบบท่อโลหะทั้งหมดที่เกี่ยวข้ องกับอ่างนํ ้าพุ ต้ องประสานกับตัวนําต่อลงดินของ บริ ภณ ั ฑ์วงจร ย่อยที่จ่ายไฟให้ กบั อ่างนํ ้าพุนั้น 10.2.23 การต่ อลงดิน บริ ภณ ั ฑ์ตอ่ ไปนี ้ต้ องต่อลงดิน 10.2.23.1 บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทั้งหมดที่อยูใ่ นระยะ 1.50 เมตร จากผนังอ่างนํ ้าพุด้านใน 10.2.23.2 บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่เกี่ยวกับระบบหมุนเวียนนํ ้าของนํ ้าพุ 10.2.23.3 แผงวงจรย่อยที่มิได้ เป็ นส่วนหนึง่ ของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน และจ่ายไฟฟ้าให้ แก่บริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าที่เกี่ยวกับนํ ้าพุนั้น 10.2.24 วิธีการต่ อลงดิน 10.2.24.1 การใช้ บังคับ ต้ องปฏิบตั ติ ามข้ อ 10.2.16 ยกเว้ น 10.2.16.4 10.2.24.2 รั บไฟฟ้าด้ วยสายอ่ อน บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าที่รับไฟฟ้าด้ วยสายอ่อน ส่วนโลหะไม่นํากระแสเปิ ดโล่งทั้งหมดต้ องต่อลงดิน โดย ใช้ ตวั นําต่อลงดินของบริ ภณ ั ฑ์เป็ นชนิดทองแดงหุ้มฉนวน ซึ่งอยู่ร่วมในสายอ่อนนั้น ตัวนําต่อลง ดินนี ้ต้ องต่อเข้ ากับขั้วต่อลงดินในกลุ่มชุมสายที่จ่ายไฟให้ หรื อเครื่ องห่อหุ้มของหม้ อแปลงหรื อ เครื่ องห่อหุ้มอื่น 10.2.25 บริภณ ั ฑ์ ต่อด้ วยสายพร้ อมเต้ าเสียบ 10.2.25.1 เครื่ องป้องกันกระแสรั่ วลงดิน บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าทั้งหมดรวมทั้งสายอ่อนรับไฟฟ้า ต้ องป้องกันด้ วยเครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดิน 10.2.25.2 แบบของสายอ่ อน สายอ่อนที่อยูใ่ นนํ ้าหรื อสัมผัสกับนํ ้าต้ องเป็ นชนิดทนนํ ้า (water-resistance) 10.2.25.3 การผนึก ปลายของเปลือกนอกและตัวนําของสายอ่อนที่ต่อเข้ ากับขั้วต่อสายในบริ ภณ ั ฑ์ต้องปิ ดหรื อหุ้ม ั ฑ์โดยผ่านทางสายอ่อนหรื อทางตัวนํา ยิ่งกว่านั ้น การต่อ ด้ วยสารอุดเพื่อกันนํ ้าเข้ าไปในบริ ภณ

10-18

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

ลงดินภายในบริ ภณ ั ฑ์จะต้ องปฏิบตั ิเช่นเดียวกัน เพื่อป้องกันหัวต่อเกิดการผุกร่ อนอันเกิดจากนํ ้า ที่อาจเข้ าไปในบริ ภณ ั ฑ์ 10.2.25.4 การต่ อปลายสาย การต่อด้ วยสายอ่อนต้ องทําเป็ นการถาวร ยกเว้ นการใช้ เต้ าเสียบและเต้ ารับแบบมีขั้วสายดิน ั ฑ์ที่ติดตั้งยึดติดกับที่หรื อติดตั้งประจําที่โดยไม่อยู่ในส่วนที่มีนํ ้าอยู่ของ ยอมให้ ใช้ สําหรับบริ ภณ ทางนํ ้าพุ ทั้งนี ้เพื่อการถอดหรื อปลดออกเพื่อการซ่อมบํารุงรักษา หรื อรื อ้ ออกเก็บ

10.3 ลิฟต์ ตู้ส่งของ บันไดเลื่อนและทางเดินเลื่อน ตอน ก. ทั่วไป 10.3.1 ขอบเขต ครอบคลุมการติดตั้งบริ ภัณฑ์ และการเดินสายสําหรั บลิฟต์ ตู้ส่งของ บันไดเลื่อนและทางเดิน เลื่อน 10.3.2 ขีดจํากัดแรงดัน แรงดันระบุที่ใช้ กบั วงจรควบคุมการทํางานและสัญญาณ บริ ภณ ั ฑ์ควบคุม มอเตอร์ ขบั เครื่ องจักร เบรกของเครื่ องจักรและชุดมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ ของบันไดเลื่อน และทางเดินเลื่อน ต้ องไม่เกิน ดังต่อไปนี ้ 10.3.2.1 แรงดัน 300 โวลต์ สําหรับวงจรควบคุมการทํางานและสัญญาณ และบริ ภัณฑ์ที่เกี่ยวข้ องรวมถึงมอเตอร์ ควบคุม การปิ ดเปิ ดประตู ยกเว้ น ยอมให้ใช้แรงดันสูงกว่านีไ้ ด้ สําหรับไฟฟ้ ากระแสสลับทีม่ ี ความถี ่ 2560 เฮิ รตซ์ หรื อ ไฟฟ้ ากระแสตรง ถ้ากระแสในระบบไม่ว่าในในกรณี ใด มี ค่าไม่เกิ น 8 มิ ลลิ แอมแปร์ สําหรับไฟฟ้ ากระแสสลับ หรื อ 30 มิ ลลิ แอมแปร์ สําหรับไฟฟ้ ากระแสตรง 10.3.2.2 แรงดัน 750 โวลต์ สําหรับมอเตอร์ ขบั เครื่ องจักร เบรกของเครื่ องจักร และชุดมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ ยกเว้ น ยอม ให้ใช้แรงดันสูงกว่านี ไ้ ด้สําหรับมอเตอร์ ขบั ของชุดมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ 10.3.3 เครื่ องห่ อหุ้มส่ วนที่มีไฟฟ้า ส่วนที่มีไฟฟ้าทั้งหมดของบริ ภณ ั ฑ์ ในช่องขึ ้นลงชานหน้ าประตูเข้ าออกหรื อในหรื อบนตู้ลิฟต์และ ตู้สง่ ของ หรื อในบ่อทางวิ่ง หรื อที่ชานหน้ าบันไดเลื่อนหรื อทางเดินเลื่อน ต้ องล้ อมเพื่อป้องกันการ สัมผัสโดยบังเอิญ

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-19

ตอน ข. ตัวนํา 10.3.4 ฉนวนตัวนํา ฉนวนตัวนําที่ใช้ กบั ลิฟต์ ตู้สง่ ของ บันไดเลื่อนและทางเดินเลื่อน ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดดังนี ้ 10.3.4.1 การเดินสายในแผงควบคุม ตัวนําจากแผงถึงตัวต้ านทางวงจรเมนต้ องเป็ นชนิดต้ านเปลวเพลิง และเหมาะสําหรับอุณหภูมิ ไม่ต่าํ กว่า 90 °C การเดินสายนอกจากนี ้ทั้งหมดในแผงควบคุม ต้ องเป็ นชนิดต้ านเปลวเพลิง และ ทนความชื ้น 10.3.4.2 การเดินสายอินเตอร์ ล็อกที่ประตูช่องขึน้ ลง ตัวนําจากช่องขึ ้นลงถึงอินเตอร์ ล็อกที่ประตูช่องขึ ้นลงต้ องเป็ นชนิด ต้ านเปลวเพลิง และเหมาะ สําหรับอุณหภูมิไม่ตํ่ากว่า 200 °C 10.3.4.3 เคเบิลเคลื่อนที่ เคเบิลเคลื่อนที่ซึ่งใช้ ในการต่อที่ต้องการความอ่อนตัวระหว่างตู้ลิฟต์หรื อตู้ส่งของกับช่องเดิน สายไฟฟ้า ต้ องเป็ นสายไฟฟ้าชนิดที่ใช้ กบั ลิฟต์ หรื อชนิดที่ได้ รับการรับรองให้ ใช้ เพื่อการนี ้ได้ 10.3.4.4 การเดินสายอื่น ตัวนําทั ้งหมดในช่องเดินสายไฟฟ้า ในหรื อบนตู้สินค้ าและตู้ส่งของในบ่อทางวิ่งของบันไดเลื่อน และทางเดินเลื่อน และในห้ องเครื่ องของลิฟต์ ตู้ส่งของ บันไดเลื่อน และทางเดินเลื่อน ต้ องเป็ น ชนิดที่มีฉนวนต้ านเปลวเพลิงและทนความชื ้น 10.3.5 ขนาดตัวนําเล็กสุด ขนาดตัวนําเล็กสุดที่ใช้ ในการเดินสายสําหรับลิฟต์ ตู้ส่งของ บันไดเลื่อน นอกจากตัวนําที่รวม เป็ นส่วนเดียวกับบริ ภณ ั ฑ์ควบคุม ต้ องเป็ นดังนี ้ 10.3.5.1 เคเบิลเคลื่อนที่ 10.3.5.1.1 วงจรแสงสว่างต้ องมีขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. ยกเว้ น ยอมให้ ใช้ สายขนาด ไม่เล็กกว่า 1.0 ตร.มม.ขนานกันได้ถ้ามี ขนาดกระแสเที ยบเท่าอย่างน้อยเท่ากับตัวนํ าพื ้นที ่ ภาคตัดขวาง 2.5 ตร.มม. 10.3.5.1.2 วงจรควบคุมการทํางานและสัญญาณให้ ใช้ สายที่มีขนาดไม่เล็กกว่า 1.0 ตร.มม. 10.3.5.2 การเดินสายอื่น วงจรควบคุมการทํางานและสัญญาณทั้งหมดให้ ใช้ สายที่มีขนาดไม่เล็กกว่า 1.0 ตร.มม.

10-20

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.3.6 สายสําหรั บวงจรมอเตอร์ สายที่จ่ายไฟให้ แก่มอเตอร์ ของลิฟต์ ตู้ส่งของ บันไดเลื่อนและทางเดินเลื่อนต้ องมีขนาดกระแส ตามที่กําหนดในข้ อ 10.3.6.1 ถึง 10.3.6.2 โดยขึ ้นกับพิกัดกระแสบนป้ายประจําเครื่ องของ มอเตอร์ สําหรับการควบคุมสนามแม่เหล็กของเจเนอเรเตอร์ ขนาดกระแสขึ ้นอยู่กบั พิกดั กระแส บนป้ายประจําเครื่ องของมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ ซงึ่ จ่ายกําลังไฟฟ้ากับมอเตอร์ ของลิฟต์ 10.3.6.1 สายที่จ่ายไฟให้ กับมอเตอร์ ตัวเดียว สายต้ องมีขนาดกระแสเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.5 และตารางที่ 6-1 10.3.6.2 สายที่จ่ายไฟให้ กับมอเตอร์ ตงั ้ แต่ 2 ตัวขึน้ ไป สายต้ องมีขนาดกระแสไม่น้อยกว่าร้ อยละ 125 ของพิกดั กระแสป้ายประจําเครื่ องของมอเตอร์ พิกดั ใหญ่สดุ ในกลุ่ม บวกกับผลรวมของพิกัดกระแสแผ่นป้ายประจําเครื่ องของมอเตอร์ ที่เหลือในกลุ่ม นั้น 10.3.7 ระบบขับเคลื่อนชนิดปรั บความเร็วได้ สายที่จ่ายไฟให้ ลฟิ ต์ ตู้สง่ ของ บันไดเลื่อน และทางเดินเลื่อน ต้ องมีขนาดกระแสดังนี ้ 10.3.7.1 หม้ อแปลงกําลังที่ประกอบมาพร้ อมกับบริภณ ั ฑ์ เปลี่ยนกําลังงาน ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าให้ เป็ นไปตามพิกัดกระแสของบริ ภัณฑ์ เปลี่ยนกํ าลังงานที่ระบุบน แผ่นป้ายประจําเครื่ อง 10.3.7.2 หม้ อแปลงกําลังไม่ ได้ ประกอบมาพร้ อมกับบริ ภัณฑ์ เปลี่ยนกําลังงาน ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าให้ เป็ นไปตามพิกัดกระแสของหม้ อแปลงกํ าลังที่ระบุบนแผ่นป้าย ประจําเครื่ องและโหลดอื่นๆ ที่ตอ่ ในวงจรทั้งหมด หรื อตามพิกดั กระแสบนแผ่นป้ายประจําเครื่ อง ของบริ ภณ ั ฑ์เปลี่ยนกําลัง เทียบเป็ นทางด้ านไฟเข้ าและโหลดอื่นๆ ที่ต่อในวงจรทั้งหมด ขึ ้นอยู่ กับว่าค่าใดจะมากกว่า 10.30.8 ดีมานด์ แฟกเตอร์ ของสายป้อน ยอมให้ ใช้ ดีมานด์แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 10-2 ได้ สําหรับมอเตอร์ ตามข้ อ 10.3.6 และ 10.3.7

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-21

ตารางที่ 10-2 ดีมานด์ แฟกเตอร์ ของสายป้อนวงจรลิฟต์ จํานวนลิฟต์ ในสายป้อนเดียวกัน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หรื อมากกว่า

ดีมานด์ แฟกเตอร์ (ร้ อยละ) 100 95 90 85 82 79 77 75 73 72

หมายเหตุ ดีมานด์แฟกเตอร์ คิดทีร่ อบทํางานร้อยละ 50

ตอน ค. การเดินสาย 10.3.9 วิธีการเดินสาย ตัวนําในช่องขึ ้นลง ในบ่อทางวิ่งของบันไดเลื่อนและทางเดินเลื่อนในหรื อบนตู้ลิฟต์และในห้ อง เครื่ องและห้ องควบคุม ไม่รวมเคเบิลเคลื่อนที่ที่ต่ออยู่ระหว่างตู้ลิฟต์กบั การเดินสายในช่องขึ ้นลง ต้ องเดินในท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อโลหะบาง ช่องเดินสายไฟฟ้า หรื อต้ องเป็ น เคเบิลชนิด MC หรื อ MI ข้ อยกเว้ นที่ 1 ท่อโลหะอ่อน หรื อท่อโลหะอ่อนกันของเหลว ยอมให้ใช้ช่องขึ้ นลงและในบ่อทางวิ่ งของบันได เลื ่อน และทางเดิ นเลื ่อนระหว่างช่ องขึ้ นกับสวิ ตช์ ขีดจํ ากัด อิ นเตอร์ ล็อก ปุ่ มควบคุมการ ทํางาน และอุปกรณ์ ทีค่ ล้ายกัน เคเบิ ลแรงตํ่า (ไม่เกิ น 24 โวลต์ สําหรับไฟฟ้ ากระแสสลับ หรื อ 42 โวลต์ สําหรับไฟฟ้ ากระแสตรง) ยอมให้ใช้ระหว่างช่องขึ้นลงกับไฟสัญญาณ ข้ อยกเว้ นที่ 2 การเดิ นท่อโลหะอ่อน หรื อท่อโลหะอ่อนกันของเหลวในระยะสัน้ ยอมให้ใช้ได้บนตูล้ ิ ฟต์ในทีซ่ ึ่ ง ไม่มีนํ้ามัน และยึดให้อยู่ในตําแหน่งอย่างมัน่ คง ข้ อยกเว้ นที่ 3 อนุญาตให้ใช้สายอ่อนต่อระหว่าง การเดิ นสายถาวรบนตู้ลิฟต์ กับอุปกรณ์ ประตูตู้ลิฟต์ ได้ และให้เป็ นสายอ่อนสํ าหรับอุปกรณ์ ทํางานบนหลังตู้ หรื อไฟแสงสว่างบนหลังตู้ อุปกรณ์ หรื อ โคมไฟฟ้ าเหล่านีต้ อ้ งต่อลงดิ นโดยตัวนําลงดิ นทีเ่ ดิ นร่ วมไปกับตัวนําวงจร ข้ อยกเว้ นที่ 4 ยอมให้ใช้ท่อโลหะอ่อน และท่อโลหะอ่อนกันของเหลว ความยาวไม่เกิ น 1.80 เมตร ต่อ ระหว่างแผงควบคุมกับมอเตอร์ หรื อเบรก หรื อชุดมอเตอร์ เจเนอเรเตอร์ หรื อเครื ่องปลดวงจร

10-22

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

หรื อมอเตอร์ ปั๊ม และวาล์ ว สายทัง้ หมดยอมให้มดั รวมเป็ นกลุ่มกันได้โดยไม่ต้องเดิ นในช่อง เดิ นสายไฟฟ้ า กลุ่มสายเหล่านี ้ต้องมี การรองรับทุกระยะไม่เกิ น 0.90 เมตร และพ้นจาก ความเสียหายทางกายภาพ ข้ อยกเว้ นที่ 5 ยอมให้ใช้ท่อโลหะอ่อน และท่อโลหะอ่อนกันของเหลวทีม่ ีขนาดทางการค้า 9.50 มม. (3/8 นิ้ ว) ยาวไม่เกิ น 1.80 เมตร ได้ ข้ อยกเว้ นที่ 6 ยอมให้ใช้ท่อโลหะอ่อน และท่อโลหะอ่อนกันของเหลวเป็ นข้อต่อชนิ ดอ่อนตัวไ ด้ บ น บั น ไ ด เลื ่อน ทางเดิ นเลื ่อน หรื อแผงควบคุมลิ ฟต์ และเครื ่ องปลดวงจร ถ้าแผงควบคุมทัง้ หมดและ เครื ่องปลดวงจรจัดวางให้ถอดออกจากเครื ่องจักรได้ตามทีอ่ นุญาตไว้ในข้อ 10.3.30 ข้อยกเว้น ที ่ 1 และ 2 ข้ อยกเว้ นที่ 7 ท่อโลหะอ่อน ท่อโลหะอ่อนกันของเหลว สายอ่อนและเคเบิ ล หรื อสายอืน่ ทีม่ ดั เ ป็ น ก ลุ่ ม เ ข้ า ด้วยกัน มี ความยาวไม่เกิ น 1.80 เมตร บนชุดประกอบของตุม้ ถ่วงนํ้าหนัก ยอมให้ใช้ได้โดย ไม่ตอ้ งเดิ นในช่องเดิ นสายไฟฟ้ า แต่ตอ้ งพ้นจากความเสียหายทางกายภาพ ในทีซ่ ึ่ งมอเตอร์ เจเนอเรเตอร์ และมอเตอร์ เครื ่องจักร อยู่ติดกันหรื ออยู่ภายใต้บริ ภณ ั ฑ์ ควบคุมเดียวกัน และ มี สายนํายาวพิ เศษไม่เกิ น 1.80 เมตร ยอมให้สายนํานี ต้ ่อโดยตรงกับสลักขัว้ ต่อสายของ เครื ่องควบคุม โดยไม่คํานึงถึงข้อกําหนดในเรื ่องขนาดกระแสยอมให้ใช้รางเดิ นสายประกอบ ในห้อ งเครื ่ อ ง และห้ อ งควบคุม ระหว่ า งเครื ่ อ งควบคุม ตัว เริ่ มเดิ น เครื ่ อ ง กับ บริ ภัณ ฑ์ ที่ คล้ายกัน

10.3.10 แหล่ งจ่ ายไฟแสงสว่ าง เครื่ องปรั บอากาศ และอุปกรณ์ ต่างๆ ในตู้ลิฟต์ ในการติดตั้งตู้ลิฟต์ หลายตู้ ต้ องมี วงจรย่อ ยสําหรั บจ่ายไฟแสงสว่าง เครื่ องปรั บอากาศและ อุปกรณ์ตา่ งๆให้ ต้ ลู ฟิ ต์ ตู้ละ 1 วงจร ตอน ง. การติดตั้งตัวนํา 10.3.11 เครื่ องประกอบปลายช่ องเดินสายไฟฟ้า ตัวนําต้ องเป็ นไปตามข้ อ 9.18 ในที่ซึ่งท่อสายโผล่จากพื ้นและปลายท่ออยู่นอกเครื่ องห่อหุ้ม ปลายท่อต้ องอยูเ่ หนือพื ้นอย่างน้ อย 150 มม. 10.3.12 รางเดินสาย ผลรวมของพื ้นที่ภาคตัดขวางของตัวนํารวมฉนวนและเปลือกแต่ละเส้ น ในรางเดินสายไฟฟ้า ต้ องไม่เกินร้ อยละ 50 ของพื ้นที่ภาคตัดขวางภายในของทางเดินสายไฟฟ้า และไม่ต้องปฏิบตั ิ ตามข้ อ 5.12.2 และ ข้ อ 5.12.3

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-23

รางเดินสายไฟฟ้าในแนวดิ่ง ต้ องยึดอย่างมัน่ คงที่ระยะไม่เกิน 4.57 เมตร และต้ องไม่มีรอยต่อ เกิน 1 แห่ง ระหว่างที่รองรับ ส่วนของทางเดินสายไฟฟ้าที่ต่อเข้ าด้ วยกัน ต้ องยึดอย่างมัน่ คง เพื่อให้ รอยต่อแข็งแรง 10.3.13 จํานวนตัวนําในช่ องเดินสายไฟฟ้า ผลรวมของพื ้นที่ภาคตัดขวางของตัวนํารวมฉนวนและเปลือก ของวงจรทํางาน และวงจรควบคุม ในช่องเดินสายไฟฟ้า ต้ องไม่เกินร้ อยละ 40 ของพื ้นที่ภาคตัดขวางภายในของช่องเดินสายไฟฟ้า ยกเว้ น ในรางเดิ นสายไฟฟ้าทีย่ อมให้ใช้ตามข้อ 10.3.12 10.3.14 ที่รองรั บ ที่รองรับเคเบิล หรื อช่องเดินสายไฟฟ้าในช่องขึ ้นลง หรื อในบ่อทางวิ่งของบันไดเลื่อนหรื อทางเดิน เลื่อน ต้ องยึดอย่างมัน่ คงกับรางบังคับ หรื อโครงสร้ างของช่องขึ ้นลง หรื อบ่อทางวิ่ง 10.3.15 รางเดินสายประกอบ รางเดินสายประกอบไม่ต้องเป็ นไปตามข้ อจํากัดเรื่ องความยาว หรื อในเรื่ องจํานวนตัวนํา 10.3.16 ระบบต่ างกันในช่ องเดินสายไฟฟ้าเดียวหรื อในเคเบิลเคลื่อนที่เส้ น เดียวกัน ตัวนําสําหรับวงจรทํางานควบคุมไฟฟ้ากําลัง สัญญาณและแสงสว่างที่มีแรงดันไม่เกิน 1,000 โวลต์ ยอมให้ เดินในระบบช่องเดินสายไฟฟ้า หรื อเคเบิลเคลื่อนที่เดียวกัน ถ้ าตัวนําทั้งหมดหุ้ม ด้ วยฉนวนที่ทนค่าแรงดันสูงสุดในระบบ และถ้ ากันส่ ้ วนที่มีไฟฟ้าทั้งหมดของบริ ภณ ั ฑ์ออกจาก ดินด้ วยฉนวนที่ ทนค่าแรงดันสูงสุดนี ไ้ ด้ เคเบิลเคลื่อนที่หรื อช่องเดินสายไฟฟ้านี ย้ อมให้ รวม สายโทรศัพท์ได้ 1 คูส่ ายสําหรับโทรศัพท์ที่ใช้ ในตู้ลิฟต์ ถ้ าสายโทรศัพท์นี ้หุ้มด้ วยฉนวนที่ทนค่า แรงดันสูงสุดในระบบ 10.3.17 การเดินสายในช่ องขึน้ ลงและในห้ องเครื่ อง สายป้อนหลักสําหรั บ จ่ายกํ าลังไฟฟ้าให้ กับลิฟต์และตู้ส่งของ ต้ องติดตั้งภายนอกช่องขึน้ ลง เฉพาะการเดินสายไฟฟ้า ท่อร้ อยสายไฟฟ้าและเคเบิลที่ใช้ ในการต่อโดยตรงเข้ ากับลิฟต์และตู้สง่ ของ รวมทั ้งการเดินสายสําหรับสัญญาณ การสื่อสาร กับตู้ลฟิ ต์ สําหรับแสงสว่างและการระบาย อากาศ และการเดินสายสําหรับระบบตรวจจับเพลิงไหม้ ของช่องขึ ้นลง ยอมให้ เดินในช่องขึ ้นลง และห้ องเครื่ อง ข้ อยกเว้ นที่ 1 ในโครงสร้างทีม่ ีอยู่เดิ ม สายป้ อนสําหรับลิ ฟต์ หรื อจุดประสงค์อืน่ ยอมให้อยู่ ภายในช่ อ งขึ้ น ลงโดยการอนุญาตเป็ นพิเศษ ถ้าไม่มีการต่อตัวนําในช่องขึ้นลง ข้ อยกเว้ นที่ 2 อนุญาตให้ติดตัง้ สายป้ อนอยู่ภายในช่องขึ้ นลงของลิ ฟต์ ที่มีเครื ่องจักรกลขับเคลื ่อนอยู่ใน ช่องขึ้นลง บนตูล้ ิ ฟต์ หรื อบนตุม้ ถ่วงนํ้าหนัก

10-24

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.3.18 บริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าในห้ องจอดตู้ลิฟต์ และสถานที่คล้ ายกัน บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและการเดินสายที่ใช้ สําหรับลิฟต์ ตู้ส่งของ บันไดเลื่อน และทางเดินเลื่อนในห้ อง จอดตู้ลิฟต์ต้องเป็ นไปตามข้ อกําหนดในเรื่ องบริ เวณอันตราย การเดินสายและบริ ภณ ั ฑ์ที่อยู่ข้าง ใต้ พื ้นตู้ลฟิ ต์ให้ ถือเสมือนว่าอยูใ่ นบริ เวณอันตราย 10.3.19 ลิฟต์ ทางเดิน ลิฟต์ทางเดินที่มีประตูทางเดินอยู่นอกอาคารต้ องเดินสายไฟฟ้าในท่อโลหะ-หนา ท่อโลหะหนา ปานกลาง ท่อโลหะอ่อนกันนํ ้า หรื อท่อโลหะบาง และจุดต่อไฟฟ้าทั้งหมด สวิตช์ กล่องแยกสาย และเครื่ องประกอบ ต้ องเป็ นชนิดทนสภาวะอากาศ ตอน จ. เคเบิลเคลื่อนที่ 10.3.20 การแขวนเคเบิลเคลื่อนที่ ต้ องแขวนเคเบิลเคลื่อนที่ต้ ลู ิฟต์และปลายสุดของช่องขึ ้นลงในลักษณะที่ลดความเครี ยดตัวนํา ทองแดงแต่ละเส้ นให้ น้อยที่สดุ เคเบิลเคลื่อนที่ต้องมีที่รองรับโดยวิธีใดวิธีหนึง่ ดังต่อไปนี ้ 10.3.20.1 โดยสิง่ รองรับที่เป็ นเหล็กกล้ า 10.3.20.2 โดยทําเคเบิลเป็ นวงรอบที่รองรับ เพื่อให้ ระยะที่ไม่มีที่รองรับน้ อยกว่า 30.50 เมตร 10.3.20.3 โดยการแขวนจากที่ ร องรั บ ด้ ว ยการทํ า ให้ เ คเบิ ล แน่ น อย่า งอัต โนมัติ เมื่ อ แรงดึง เพิ่มขึ ้นสําหรับระยะที่ไม่มีที่รองรับถึง 61 เมตร 10.3.21 บริเวณอันตราย ในบริ เวณอันตราย เคเบิลเคลื่อนที่ต้องเป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรอง และต้ องยึดแน่นกับตู้ทนการ ระเบิด ตามที่กําหนดในบทที่ 7 10.3.22 ตําแหน่ งของเคเบิลและการป้องกัน ที่รองรับเคเบิลต้ องอยู่ในตําแหน่งที่ลดความเสียหายให้ น้อยสุดเท่าที่ทําได้ เนื่องจากการสัมผัส ของเคเบิลกับโครงสร้ างของช่องขึ ้นลง ถ้ าจําเป็ นต้ องมีที่กั้นที่เหมาะสมเพื่อป้องกันเคเบิลมิให้ เสียหาย 10.3.23 การติดตัง้ เคเบิลเคลื่อนที่ ยอมให้ ติดตั้งเคเบิลเคลื่อนที่ยาวไม่เกิน 1.80 เมตร วัดจากจุดรองรับจุดแรกบนตู้ลิฟต์หรื อช่อง ขึ ้นลง หรื อตุ้มถ่วงนํ ้าหนักได้ โดยไม่ต้องเดินในช่องเดินสาย สายทั้งหมดต้ องมัดรวมเข้ าด้ วยกัน หรื ออยู่ในเปลือกหุ้มเดียวกัน อนุญาตให้ เคเบิลเคลื่อนที่เดินไปแผงควบคุมของลิฟต์ และตู้ลิฟต์

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-25

และจุด ต่อ ที่ ห้ อ งเครื่ อ ง เดิน อย่า งถาวรโดยมี จุด รองรั บ ที่ เ หมาะสมและมี ก ารป้ องกัน ความ เสียหายทางกายภาพ ตอน ฉ. เครื่ องปลดวงจรและการควบคุม 10.3.24 เครื่ องปลดวงจร ลิฟ ต์ ตู้ส่ง ของ บัน ไดเลื่ อ นและทางเดิน เลื่ อ น แต่ล ะชุด ต้ อ งมี เ ครื่ อ งปลดวงจรเพื่ อ ตัด ตัว นํ า ประธานจ่ายกําลังไฟฟ้าทุกเส้ นที่ไม่ตอ่ ลงดิน ในที่ซึ่งเครื่ องจักรขับเคลื่อนหลายเครื่ องต่อกับลิฟต์ บันไดเลื่อน ทางเดินเลื่อนหรื อหน่วยปั๊ มชุด เดียว ต้ องมีเครื่ องปลดวงจรเครื่ องหนึง่ เพื่อปลดวงจร มอเตอร์ และแม่เหล็กควบคุมการทํางาน ของวาล์ ว ในที่ซึ่งมีเครื่ องจักรขับเคลื่อนมากกว่า 1 ชุด อยู่ในห้ องเครื่ องเดียวกัน ต้ องมีการติดหมายเลขที่ เครื่ องปลดวงจรให้ สอดคล้ องกับเครื่ องจักรขับเคลื่อนที่ถกู ควบคุม 10.3.24.1 แบบชนิด เครื่ องปลดวงจรต้ องเป็ นสวิตช์วงจรมอเตอร์ ทํางานด้ วยฟิ วส์ หรื อเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่มีเครื่ อง ห่อหุ้มใช้ งานได้ จากภายนอกและสามารถล็อกในตําแหน่งเปิ ดและต้ องไม่ทําให้ เครื่ องปลดวงจร ปิ ด ไม่ว่าจากส่วนใดในบริ เวณนั้น หรื อไม่ทําให้ ตัดอัตโนมัติ เปิ ดอัตโนมัติ ด้ วยระบบเตือน อัคคีภยั 10.3.24.2 ตําแหน่ ง เครื่ องปลดวงจรต้ องอยูใ่ นตําแหน่งที่ผ้ มู ีอํานาจเข้ าถึงได้ ทนั ที 10.3.24.2.1 ในลิฟต์ที่ไม่มีการควบคุมสนามแม่เหล็กเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า ต้ องติดตั้งเครื่ องปลด วงจรในบริ เวณที่เห็นได้ จากเครื่ องควบคุม เมื่อเครื่ องจักรไม่อยู่ในบริ เวณที่เห็นได้ จากเครื่ อง ควบคุม ต้ องเพิ่มสวิตช์ทํางานด้ วยมือที่เครื่ องจักร โดยต่อเข้ าวงจรควบคุมเพื่อป้องกันการเริ่ ม เดิน 10.3.24.2.2 ในลิฟต์ที่มีการควบคุมสนามแม่เหล็ก เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า เครื่ องปลดวงจร ต้ อง มองเห็นได้ จากตัวเริ่ มเดินมอเตอร์ สําหรับมอเตอร์ เจเนอเรเตอร์ เมื่อเครื่ องปลดวงจรมองไม่เห็น จากเครื่ องยก ตู้ควบคุมหรื อชุดมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ ต้ องติดตั้งสวิตช์ทํางานด้ วยมือเพิ่มเติม ข้ างบริ ภณ ั ฑ์ควบคุมระยะห่าง โดยต่อเข้ ากับวงจรควบคุมเพื่อป้องกันการเริ่ มเดิน 10.3.24.2.3 บนบันไดเลื่อนหรื อทางเดินเลื่อน เครื่ องปลดวงจรต้ องติดตัง้ ตรงที่ว่างบริ เวณที่ ติดตั้งชุดควบคุม

10-26

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10.3.25 พลังไฟฟ้าจากหลายแหล่ ง 10.3.25.1 การติดตัง้ แบบตู้เดี่ยวหรื อหลายตู้ การติดตั้งแบบตู้เดี่ยวหรื อหลายตู้ และรับพลังไฟฟ้าจากหลายแหล่งต้ องจัดให้ มีเครื่ องปลดวงจร สําหรับตัววงจรแต่ละแห่ง ในระยะที่มองเห็นได้ จากบริ ภณ ั ฑ์ 10.3.25.2 สัญญาณเตือนสําหรั บเครื่ องปลดวงจรหลายเครื่ อง ในที่ซึ่งใช้ เครื่ องปลดวงจรหลายเครื่ องและบางส่วนของแผงควบ-คุมยังคงรับพลังไฟฟ้าจากอีก แหล่งหนึ่งถูกตัดขาด ต้ องติดป้ายเตือนไว้ ด้านบนหรื อด้ านข้ างเครื่ องปลดวงจร ป้ายเตือนต้ อง เห็นได้ ชดั เจนและอ่านได้ วา่ "ระวัง บางส่ วนของแผงควบคุมยังมีไฟอยู่ เมื่อยกสวิตช์ นี"้ 10.3.25.3 การต่ อระหว่ างแผงควบคุมตู้ลิฟต์ หากมีความจําเป็ นต้ องมีการต่อระหว่างแผงควบคุมตู้ลฟิ ต์ และตู้ลฟิ ต์เหล่านี ้ต่อจากหลายเครื่ อง ปลดวงจร ต้ องติดตั ้งป้ายเตือนใกล้ กบั เครื่ องปลดวงจร 10.3.26 เครื่ องปลดวงจรแสงสว่ างและอุปกรณ์ ในตู้ลิฟต์ ต้ องติดตั้งเครื่ องปลดวงจรในสายเส้ นไฟสําหรับแต่ละวงจรแสงสว่างและอุปกรณ์ และแยกคนละ วงจร ในที่ซึ่งมีบริ ภณ ั ฑ์มากกว่าหนึ่งตู้รวมอยู่ในห้ องเดียวกัน ต้ องติดตังหมายเลขที ้ ่เครื่ องปลด วงจรให้ สอดคล้ องกับตู้ลิฟต์เครื่ องปลดวงจรต้ องสามารถล็อกได้ ในตําแหน่งเปิ ด และต้ องติดตั้ง ในห้ องเครื่ องสําหรับตู้ลฟิ ต์ 10.3.27 เครื่ องปลดวงจรของระบบปรั บอากาศ เครื่ องปลดวงจรของระบบปรั บอากาศแต่ละเครื่ องต้ องติดตั้งเครื่ องปลดวงจรประจําตัวในทุก สายเส้ นไฟ ในห้ องเครื่ องที่มีบริ ภณ ั ฑ์มากกว่าหนึ่งตู้ ต้ องติดตั้งหมายเลขที่เครื่ องปลดวงจรให้ สอดคล้ องกับตู้ ลิฟต์ เครื่ องปลดวงจรต้ องสามารถล็อกได้ ในตําแหน่งเปิ ด และต้ องติดตั้งในห้ องเครื่ องสําหรับตู้ลฟิ ต์ ตอน ช. การป้องกันกระแสเกิน 10.3.28 การป้องกันกระแสเกิน ต้ องมีการป้องกันกระแสเกินดังต่อไปนี ้ 10.3.28.1 วงจรควบคุมและทํางาน วงจรควบคุมและทํางาน และวงจรสัญญาณต้ องมีการป้องกันกระแสเกิน

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-27

10.3.28.2 มอเตอร์ 10.3.28.2.1 การทํางานของมอเตอร์ ที่ขบั เครื่ องจักรของลิฟต์และตู้ส่งของ และมอเตอร์ ขบั ของ มอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ ที่ใช้ กับเครื่ องควบคุมสนามแม่เหล็กเครื่ องกําเนิดไฟฟ้า ต้ องเป็ นแบบ ทํางานเป็ นระยะมอเตอร์ ดงั กล่าวต้ องมีการป้องกันกระแสเกินตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.13 10.3.28.2.2 การทํางานของมอเตอร์ ที่ขบั เครื่ องจักรของบันไดเลื่อนและทางเดินเลื่อน ต้ องเป็ น แบบใช้ งานต่อเนื่อง มอเตอร์ ดงั กล่าวต้ องมีการป้องกันกระแสเกินตามที่กําหนดในข้ อ 6.3.12 10.3.28.2.3 มอเตอร์ ที่ขับเคลื่อนเครื่ องจักรของบันไดเลื่อนและทางเดิน เลื่อ นและมอเตอร์ ที่ ขับเคลื่อนของชุดมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ ต้ องมีการป้องกันกระแสเกินด้ วย ตอน ซ. ห้ องเครื่ อง 10.3.29 บริภณ ั ฑ์ มีท่ กี นั ้ เครื่ องจักรขับเคลื่อน ลิฟต์ ตู้ส่งของ บันไดเลื่อน และทางเดินเลื่อนชุดมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ เครื่ องควบคุมมอเตอร์ และเครื่ องปลดวงจร ต้ องติดตั้งในห้ องหรื อเครื่ องห่อหุ้ม ซึ่งแยกต่างหาก สําหรับจุดประสงค์นั้น ๆ ห้ องหรื อเครื่ องห่อหุ้ม ต้ องปิ ดกั้นไม่ให้ ผ้ ไู ม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องเข้ าถึงได้ ข้ อยกเว้ นที่ 1 เครื ่ อ งควบคุ ม ตู้ ส่ ง ของ บั น ไดเลื ่ อ น หรื อทางเดิ นเลื ่ อ น ยอมให้ อ ยู่ น อกบริ เวณที ่ กํ าหนดข้างต้นได้ ถ้าเครื ่องควบคุมนัน้ อยู่ในตู้ทีม่ ี ฝาหรื อแผงถอดได้ ซึ่ ง สามารถล็อกใน ตําแหน่งปิ ด และต้องติ ดตัง้ เครื ่องปลดวงจรใกล้กบั เครื ่องควบคุม ยอมให้ติดตัง้ ตูบ้ นระเบี ยง บันไดด้านนอก ข้ อยกเว้ นที่ 2 เครื ่องควบคุมมอเตอร์ ลิฟต์ และเครื ่องจักรที ใ่ ช้ขบั เคลื ่อน ยอมให้อยู่นอกบริ เวณที ก่ ํ าหนดได้ ถ้าเครื ่องควบคุมบรรจุในตูท้ ี ม่ ี ประตูหรื อส่วนทีถ่ อดได้ ซึ่ ง สามารถล็อกในตําแหน่งปิ ด และ เครื ่องปลดวงจรติ ดตัง้ ใกล้เครื ่องควบคุม ถ้าเครื ่องปลดวงจรเป็ นส่วนหนึ่งของเครื ่องควบคุม จะต้องทํางานได้โดยไม่ตอ้ งเปิ ดตู้

10.3.30 ระยะห่ างรอบแผงควบคุมและเครื่ องปลดวงจร ต้ องมีระยะห่างในการทํางานพอเพียงรอบแผงควบคุมและเครื่ องปลดวงจร เพื่อความปลอดภัย และความสะดวกในการเข้ าถึงส่วนที่มีไฟฟ้าทั้งหมดของบริ ภณ ั ฑ์ที่จําเป็ นสําหรับการบํารุงรักษา และปรั บแต่งระยะห่างในการทํางานตํ่าสุดของส่วนที่มีไฟฟ้าของตู้ควบคุม ต้ องไม่น้อยกว่าที่ กําหนดในบทที่ 1 ข้ อยกเว้ นที่ 1 เมื ่อติ ดตัง้ แผงควบคุม และเครื ่ องปลดวงจรของบันไดเลื ่อนในบริ เวณเดี ยวกับเครื ่ องจักร ขับเคลือ่ นบันไดเลือ่ นหรื อทางเดิ นเลื อ่ น และไม่สามารถจัดระยะห่างให้เป็ นไปตามทีก่ ํ าหนด ได้ ยอมให้ระยะห่างไม่ตอ้ งเป็ นไปตามทีก่ ําหนดในบทที ่ 1 ถ้าจัดในตูแ้ ละเครื ่องปลดวงจรนัน้

10-28

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

สามารถเคลื อ่ นย้ายออกได้ทนั ที จากบริ เวณเครื ่องจักรและให้มีการต่อภายนอกทัง้ หมดด้วย สายอ่อน ข้ อยกเว้ นที่ 2 เมือ่ ติ ดตัง้ แผงควบคุมและเครื ่องปลดวงจรของเครื ่องควบคุมมอเตอร์ ลิฟต์ใน ช่ อ งขึ้ น ลงหรื อ บนตู้ลิฟ ต์ และไม่ ส ามารถจัดระยะห่ า งให้เ ป็ นตามที ่กําหนดได้ยอมให้ร ะยะห่ างไม่ ต้อ ง เป็ นไปตามที ก่ ําหนดในบทที ่ 1 ถ้าจัดให้ตู้และเครื ่องปลดวงจรนัน้ สามารถเคลื อ่ นย้ายออก ได้ทนั ที จากบริ เวณเครื ่ องจักรและให้มีการต่อภายนอกทัง้ หมดด้วยสายอ่อนถ้าตู้ควบ-คุม ไม่ได้ติดตัง้ ในบริ เวณเดี ยวกับเครื ่ องจักรขับเคลื ่อน ต้องติ ดตัง้ ตู้ควบคุมนัน้ ในตู้ทีม่ ี ฝาหรื อ แผงถอด ได้ ซึ่ งสามารถ ล็อกในตําแหน่งปิ ด และยอมให้ติดตัง้ ตูบ้ นระเบี ยงบันไดด้าน นอก

ตอน ฌ.การต่ อลงดิน 10.3.31 ช่ องเดินสายไฟฟ้าโลหะติดกับตู้ลิฟต์ ท่อร้ อยสายไฟฟ้า เคเบิลชนิด MC หรื อเคเบิล AC ที่ตดิ กับตู้ลฟิ ต์ ต้ องประสานกับส่วนโลหะที่ตอ่ ลงดินของตู้ลฟิ ต์ที่สมั ผัสกัน 10.3.32 ลิฟต์ ไฟฟ้า โครงของมอเตอร์ ทั้งหมด เครื่ องจักรลิฟต์ เครื่ องควบคุมและเครื่ องห่อหุ้มโลหะสําหรับอุปกรณ์ ไฟฟ้าทั้งหมดในหรื อบนตู้ลฟิ ต์ หรื อในช่องขึ ้นลงต้ องต่อลงดิน 10.3.33 ลิฟต์ ท่ ไี ม่ ใช้ ไฟฟ้า สําหรั บลิฟต์อื่นๆ นอกจากลิฟต์ไฟฟ้าที่มีตัวนํ าไฟฟ้าติดกับลิฟต์โครงโลหะของตู้ลิฟต์ที่ปกติ บุคคลเข้ าถึงได้ ต้ องต่อลงดิน 10.3.34 เครื่ องป้องกันกระแสรั่ วลงดินเพื่อป้องกันบุคคล วงจรเต้ ารับขนาด 15 และ 20 แอมแปร์ 1 เฟส ที่ติดตั้งในห้ องเครื่ อง ที่ว่างของเครื่ องจักร บ่อ และบนตู้ลฟิ ต์ เครื่ องติดตั้งเครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดิน ตอน ญ. การป้องกันความเร็วเกิน 10.3.35 การป้องกันความเร็วเกินสําหรั บลิฟต์ ในภาวะโหลดเปลี่ยนแปลง ต้ องมีวิธีป้องกันด้ านโหลดของเครื่ องปลดวงจรไฟฟ้ากําลังของลิฟต์ แต่ละตัว เพื่อป้องกันความเร็ วของลิฟต์มิให้ เท่ากับความเร็ วตัดตอนของเครื่ องบังคับ หรื อ ความเร็ วเกิ นร้ อยละ 125 ของพิกัดความเร็ วลิฟต์ แล้ วแต่ค่าใดจะน้ อยกว่า ภาวะโหลด

บทที่ 10 บริภัณฑ์ เฉพาะงาน

10-29

เปลี่ยนแปลง ต้ องรวมโหลดทั้งหมดที่มีค่าถึงพิกัดโหลดของลิฟต์สําหรับลิฟต์ขนของ และรวม โหลดทั้งหมดที่มีคา่ ถึงร้ อยละ 125 ของพิกดั โหลดของลิฟต์สําหรับลิฟต์โดยสาร 10.3.36 อุปกรณ์ ความเร็วเกินของมอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ มอเตอร์ -เจเนอเรเตอร์ ที่ขบั ด้ วยมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง และใช้ จ่ายไฟฟ้ากระแสตรงสําหรับการ ทํางานของมอเตอร์ เครื่ องจักรลิฟต์ ต้ องมีอปุ กรณ์จํากัดความเร็ ว เพื่อป้องกันความเร็ วของลิฟต์ มิให้ เกินร้ อยละ 125 ของพิกดั ความเร็ ว 10.3.37 กําลังไฟฟ้าฉุกเฉิน ลิฟต์ต้องสามารถรับกําลังไฟฟ้าจากระบบไฟฟ้าฉุกเฉินได้ โดยเมื่อลิฟต์ทํางานด้ วยไฟฟ้าฉุกเฉิน นั้น ต้ องเป็ นไปตามที่กําหนดในข้ อ 10.3.35 ยกเว้ น ในการออกแบบระบบไฟฟ้าฉุกเฉิ นให้ใช้กบั ลิ ฟต์ ตวั เดี ยวในครั้งหนึ่งๆ ถ้ากํ าหนดให้มีเครื ่องวัดกํ าลังไฟฟ้ า ยอมให้ติดตัง้ ด้านกํ าลังไฟฟ้ าเข้า ของเครื ่องปลดวงจร ถ้าข้อกํ าหนดอื ่นทัง้ หมดเป็ นไปตามข้อ 10.3.35 เมื ่อใช้งานกับลิ ฟต์ ตวั ใด ตัวหนึ่งทีร่ ะบบนัน้ อาจใช้ได้ 10.3.37.1 โหลดอื่นๆ ของอาคาร โหลดอื่นๆ ของอาคาร เช่น ไฟฟ้ากําลัง และแสงสว่างซึง่ สามารถใช้ กบั ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน ไม่ถือ ว่าเป็ นการใช้ พลังงานไฟฟ้าสําหรับวัตถุประสงค์ตามข้ อ 10.3.35 เว้ นแต่โหลดนั้นใช้ กําลังไฟฟ้า ปกติจากระบบไฟฟ้าฉุกเฉินเมื่อระบบทํางาน 10.3.37.2 เครื่ องปลดวงจร เครื่ องปลดวงจรที่กําหนดในข้ อ 10.3.24 ต้ องตัดกําลังไฟฟ้าฉุกเฉินและกําลังไฟฟ้าปกติ

บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า

11-1

บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า ข้ อกําหนดในบทนีเ้ กี่ยวกับมาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า เพื่อใช้ ในระบบของวงจรไฟฟ้า ช่วยชีวิตของ อาคารชุด อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผิวดิน และอาคารที่มีผ้ อู ยูอ่ าศัยเป็ นจํานวนมาก

11.1 ทั่วไป มาตรฐานการทนไฟนีใ้ ช้ สําหรั บสายไฟฟ้าในระบบของวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิตของ อาคารชุด อาคารสูง หรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษ และอาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผิวดิน (sub-surface building) โดยแบ่งคุณสมบัติของสายไฟฟ้าเป็ น 4 ประเภทได้ แก่ คุณสมบัติต้านเปลวเพลิง (flame propagation or flame retardant), คุณสมบัติการปล่อยก๊ าซกรด (acids gas emission) และคุณสมบัตกิ ารปล่อยควัน (smoke emission) คุณสมบัตติ ้ านทานการติดไฟ (fire resistance)

11.2 มาตรฐานที่กาํ หนดใช้ 11.2.1 คุณสมบัตติ ้ านเปลวเพลิง (flame propagation or flame retardant) คือคุณสมบัติ การหน่วงเหนี่ยวลุกลาม ของการลุกไหม้ ของสายไฟฟ้า เมื่ อเกิดไฟไหม้ สายไฟฟ้าจะช่วยลด ปั ญหาลุกลามของไฟไปตามสายไฟฟ้า ดังนั้นบริ เวณที่ถูกไฟไหม้ จะไม่ขยายเป็ นบริ เวณกว้ าง และเมื่อเอาแหล่งไฟออกก็จะดับเอง (self–extinguish) กําหนดให้ ใช้ ตามมาตรฐานของ IEC 60332-1 หรื อ IEC 60332-3 11.2.2 คุณสมบัติการปล่ อยก๊ าซกรด (acids gas emission) สายไฟฟ้าเมื่อถูกไฟไหม้ ส่วนประกอบบางส่วนจะทําให้ เกิดก๊ าซขึ ้น และก๊ าซบางอย่างก็จะทําให้ เกิดกรด ซึ่งมีคณ ุ สมบัติ การกัดกร่ อนสูง สายไฟฟ้าต้ องไม่มีส่วนประกอบที่ทําให้ เกิดสารฮาโลเจน (zero halogen) กําหนดให้ ใช้ ตามมาตรฐานของ IEC 60754-2 11.2.3 คุณสมบัติการปล่ อยควัน (smoke emission) คือ สายไฟฟ้าที่เมื่อถูกไฟไหม้ ส่วนประกอบหลายอย่างจะทําให้ เกิดควันขึ ้น ควันเหล่านี ้จะทําให้ การมองเห็นลดลง และทําให้ สําลักควันเสียชีวิต สายควันน้ อยกําหนดให้ ใช้ ตามมาตรฐาน IEC 61034-2

11-2

บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า

11.2.4 คุณสมบัติต้านทานการติดไฟ (fire resistance) คือ สายไฟฟ้าที่ทนต่อการติดไฟ ไม่ก่อ ให้ เกิ ดการลุกลามของไฟ และขณะไฟลุกไหม้ อยู่ยังสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ ป กติ กําหนดให้ ใช้ ตามมาตรฐานของ BS 6387 หรื อ IEC 60331

11.3 การทนไฟของสายไฟฟ้า 11.3.1 ขอบเขต มาตรฐานนี ้ระบุถึงคุณสมบัตทิ ี่ต้องการของสายไฟฟ้าที่สามารถจะจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ 11.3.2 การทดสอบตาม BS 6387 การทดสอบการทนไฟแบ่งเป็ น 3 แบบ 8 ประเภท กําหนดเครื่ องหมายด้ วยตัวอักษรแบ่งตาม คุณสมบัตกิ ารทนไฟ อุณหภูมิและเวลาที่ใช้ ในการทดสอบ โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 11-1 ตารางที่ 11-1 การทดสอบตาม BS 6378

การทนไฟ

การทนไฟ และนํ ้า การทนไฟ และทนแรง กระแทก

การทดสอบ 650OC เป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง 750OC เป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง 950OC เป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง 650OC เป็ นเวลา 20 นาที 650OC เป็ นเวลา 15 นาที จากนัน้ พ่นนํ ้าและทําการทดสอบ 650OC เป็ นเวลา 15 นาที 650OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมีแรงกระแทก 750OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมีแรงกระแทก 950OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมีแรงกระแทก

เครื่ องหมาย A B C S W

X Y Z

11.3.3 การประเมินผล การทดสอบในข้ อ 11.3.2 จะต้ องไม่เกิดการลัดวงจร ตลอดช่วงเวลาของการทดสอบ 11.3.4 การทดสอบตาม IEC 60331 การทดสอบทํ า โดยการต่ อ สายไฟฟ้ าความยาว 1200 มม. เข้ ากั บ ชุ ด ทดสอบและจ่ า ย กระแสไฟฟ้าที่แรงดันพิกดั ให้ เปลวไฟที่อณ ุ หภูมิ 750OC เป็ นเวลา 90 นาที

บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า

11-3

11.3.5 การประเมินผล การทดสอบในข้ อ 11.3.4 จะต้ องไม่เกิดการลัดวงจร ตลอดช่วงเวลาของการทดสอบและ หลังจากหยุดการให้ เปลวไฟแล้ วจะต้ องจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ ไม่น้อยกว่า 15 นาที 11.3.6 การทดสอบตาม IEC 60332-1 นําชิ ้นสายไฟฟ้าความยาว 550 mm. ยึดกับที่ยดึ สายในแนวตั้งและจุดหัวเผา โดยให้ เผาทํามุม เอียง 45° แล้ วทําการเผาสายตามเวลาที่กําหนดในตารางที่ 11-2 ตารางที่ 11-2 การทดสอบตาม IEC 60332-1 Overall Diameter of test piece (D) ; mm

Time for flame application ; S

D ≤ 25 25 < D ≤ 50

60 120

50 < D ≤ 75

240

D > 50

480

11.3.7 การประเมินผล การทดสอบในข้ อ 11.3.7 เมื่ อเผาสายจนครบตามเวลาที่ กําหนดแล้ วเอาหัวเผาออก รอ จนกระทัง่ ไฟที่ไหม้ บนสายไฟดับเอง วัดระยะจากปลายสายด้ านบนลงถึงระยะที่เปลวไฟลาม มาถึง ถ้ าวัดได้ มากกว่า 50 mm. ถือว่าผ่านการทดสอบ 11.3.8 การทดสอบตาม IEC 60332-3 การทดสอบจะทํ าในห้ องเผามี ขนาดและระบบการระบายอากาศตามมาตรฐาน สายไฟฟ้า ตัวอย่างที่ทําการทดสอบต้ องถูกนําไปติดตั้งในรางและทําการเผาในเวลาที่ถกู กําหนดไว้ ในแต่ละ Category ดังนี ้ ตารางที่ 11-3 การทดสอบตาม IEC 60332-3 Category A B C

วัตถุดบิ ที่ตดิ ไฟได้ (ลิตร/เมตร) 7 3.5 1.5

เวลาในการเผา (นาที) 40 40 20

11-4

บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า

11.3.9 การประเมินผล การทดสอบในข้ อ 11.3.8 สายไฟฟ้าจะต้ องมีระยะการถูกเผาไหม้ สงู ไม่เกิน 2.5 เมตรถือว่าผ่าน การทดสอบ 11.3.10 การทดสอบตาม IEC 60754-2 เตรี ยมวัสดุทดสอบ 1000 mg. จากสายไฟฟ้าแล้ วนํามาตัดเป็ นชิ ้นเล็กๆ แล้ วนําไปใส่ในเครื่ อง ทดสอบ ที่อณ ุ หภูมิ 935OC เป็ นเวลา 30 นาที 11.3.11 การประเมินผล ทดสอบวัดค่า pH ที่ได้ ต้องไม่น้อยกว่า 4.3 และค่า Conductivity ต้ องไม่เกิน 10 uS /mm 11.3.12 การทดสอบตาม IEC 61034-2 ทดสอบในห้ องทึบรูปทรงสี่เหลี่ยมมีขนาดลูกบาศก์ 3000 mm.ทําการเผาสายตัวอย่างความยาว 1 m. วางในแนวนอนบนถาดแอลกอฮอล์ จากนั้นจึงปิ ดระบบหมุนเวียนอากาศแล้ วจุดไฟ การ ทดสอบจะถือว่าเสร็ จสิ ้น หลังจากเปลวไปดับแล้ ว และไม่มีการลดของปริ มาณแสงที่สอ่ งผ่าน 5 นาที และใช้ เวลาในการทดสอบทั้งสิ ้นไม่ควรเกิน 40 นาที เสร็ จแล้ ว บันทึกค่าตํ่าสุดของค่าความ เข้ มแสงที่ผา่ น 11.3.13 การประเมินผล ความเข้ มของแสงที่จดบันทึกไว้ จากเครื่ องรับแสง ต้ องมีความเข้ มแสง หลังการทดสอบ ไม่น้อย กว่า 60 % ก่อนการทดสอบ 11.4 การรั บรองผลิตภัณฑ์ สายทนไฟต้ องได้ รับการรับรองผลิตภัณฑ์ (certificate) จากสถาบันทดสอบที่เชื่อถือได้ เช่น LPCB, TUV, KEMA, ASTA เป็ นต้ น

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ

12-1

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ ข้ อกําหนดในบทนี ้เกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้าในวงจรช่วยชีวิตตามที่กําหนดในกฎหมาย และมาตรฐานนี ้ เช่นระบบจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน ระบบแจ้ งเหตุเพลิงไหม้ เป็ นต้ น สําหรับอาคารชุด อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ

12.1 ทั่วไป 12.1.1 ในอาคารชุด อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษ เป็ นอาคารหรื อสถานที่ ที่มีผ้ คู น อาศัย อยู่จํานวนมากและหนีภัยได้ ยากเมื่ อเกิ ดอัคคีภัยหรื อภาวะฉุกเฉิ นอื่ นๆ จําเป็ นต้ องตัด กระแสไฟฟ้าวงจรปกติเพื่อให้ เกิดความปลอดภัยจากไฟฟ้ารั่ว การฉีดนํ ้าดับเพลิง ชํารุดเนื่องจาก ถูกเพลิงเผาไหม้ หรื อกดทับกระแทกต่างๆ แต่ในภาวะเช่นนี ้ ระบบวงจรไฟฟ้าฉุกเฉินต่างๆ ตาม ข้ อ 12.2.1 ยังจําเป็ นต้ องมีไฟฟ้าให้ ทํางานอยู่ได้ ตามที่กําหนดไว้ วงจรไฟฟ้าเหล่านีจ้ ึงต้ อง ออกแบบเป็ นพิเศษให้ สามารถทนต่อความร้ อนจากอัคคีภยั มีความแข็งแรงทางกลเป็ นพิเศษ คง สภาพความปลอดภัยต่อกระแสไฟฟ้ารั่ วหรื อลัดวงจรเพื่อให้ สามารถช่วยชีวิตผู้คนที่ติดอยู่ใน สถานที่นั ้นๆ ได้ ทนั การณ์ วงจรไฟฟ้าดังกล่าวนี ้เรี ยกว่า วงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต 12.1.2 การเดินสายสําหรับวงจรช่วยชีวิตให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ในบทนี ้ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของการเดินสายอื่นที่เกี่ยวข้ อง 12.1.3 ข้ อกําหนดนี ้ใช้ เฉพาะระบบแรงตํ่าเท่านั้น ในกรณีที่มีระบบแรงสูงอยู่ด้วยต้ องได้ รับ การตรวจพิจารณาเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ ก่อน 12.1.4

วงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตให้ มีการตรวจสอบและทดสอบความพร้ อมทุกปี

12.1.5 ข้ อกําหนดนี ้เพื่อความมัน่ ใจว่าจะสามารถจ่ายไฟฟ้าและไม่มีการปลดการจ่ายไฟฟ้า กับอุปกรณ์ที่จําเป็ นต้ องทํางานได้ อย่างสมบูรณ์ในสภาวะฉุกเฉินและอัคคีภยั

12.2 ขอบเขต 12.2.1 ข้ อกําหนดนี ้สําหรับวงจรไฟฟ้าที่จําเป็ นต้ องใช้ งานได้ อย่างดีและต่อเนื่องในภาวะ ฉุกเฉินดังนี ้ ก) ระบบจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน ข) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั

12-2

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ

ค) ง) จ) ฉ) ช) ซ) 12.2.2

ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนีไฟ ระบบดูดและระบายควันรวมทั้งระบบควบคุมการกระจายของไฟและควัน ระบบเครื่ องสูบนํ ้าและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ระบบสื่อสารฉุกเฉินสําหรับแจ้ งเหตุเพลิงไหม้ ระบบลิฟต์ผจญเพลิง

ข้ อกําหนดนี ้สําหรับอาคารสถานที่ตอ่ ไปนี ้ ก) อาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษ ข) อาคารหรื อสถานที่ใดๆ ที่กฎหมายกําหนดให้ ต้องมีระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตตาม ข้ อ 12.2.1 ไม่วา่ ทั้งหมดหรื อบางส่วนหรื อระบบใดระบบหนึง่ ค) อาคารหรื อ สถานที่จ ดั เป็ นบริ เ วณอันตรายจะต้ อ งปฏิบ ตั ิต ามข้ อกํ าหนดการ ติดตั้งสําหรับบริ เวณอันตรายตามแต่ละประเภทนั้นด้ วย

12.3 การจ่ ายไฟฟ้าฉุกเฉินสําหรั บวงจรไฟฟ้าช่ วยชีวิต การจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินสําหรับวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตจะต้ องมีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ 12.3.1 แหล่ ง จ่ า ยไฟ ต้ อ งมี แ หล่ ง ไฟฟ้ าจ่ า ยไฟฟ้ าฉุก เฉิ น อาจเป็ นเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ หรื ออื่นใดที่สามารถจ่ายไฟให้ ระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตอย่างเหมาะสมและในระยะ เวลานานพอเพียงที่จะครอบคลุมความต้ องการของระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตส่วนที่ต้องมีไฟฟ้า ใช้ ที่นานที่สดุ ได้ ด้วย และการมีไฟฟ้าจ่ายให้ ระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตนี ้จะต้ องไม่ถกู กระทบจาก เหตุใดๆ ที่ทําให้ ไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ ได้ เช่น การปลดหรื อการงดจ่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ หรื อเกิด เพลิงไหม้ เป็ นต้ น 12.3.2 จุดต่ อสาย จุดต่อสายไฟฟ้าให้ ระบบวงจรไฟฟ้าฉุกเฉิ นที่ จําเป็ นต้ องใช้ ไฟฟ้าจาก แหล่งจ่ายไฟปกติร่วมกัน จะต้ องต่อจากจุดด้ านไฟเข้ าของเมนสวิตช์ของระบบไฟฟ้าวงจรปกติ 12.3.3 ไฟฟ้ าที่จ่ายให้ ระบบวงจรช่วยชีวิตจะต้ องไม่ถกู ควบคุมโดยระบบควบคุมของระบบ ไฟฟ้าวงจรปกติ ทั้งนี ส้ วิตช์ สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟจากปกติเป็ นฉุกเฉิ นไม่ถือว่าเป็ นอุปกรณ์ ควบคุมของระบบไฟฟ้าปกติ ยกเว้ น ระบบวงจรไฟฟ้ าช่วยชี วิตอาจต่อรับไฟฟ้ าจากเมนสวิ ตช์ ระบบไฟฟ้ าปกติ ได้ หากต่อผ่านสวิ ตช์ หรื ออุปกรณ์ สบั เปลี ่ยนอัตโนมัติรับไฟฟ้ าจากแหล่งจ่ าย ไฟฟ้ าสํารองฉุกเฉิ นทดแทนตามข้อ 12.3.1 เช่น เครื ่องกํ าเนิ ดไฟฟ้ า แบตเตอรี ่ เป็นต้น และ

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ

อย่างน้อยต้องมี สญ ั ญาณทัง้ แสงและเสี ยงเตื อนที ห่ ้องควบคุมอาคาร 1 อาคารทราบ ทัง้ นี จ้ ะต้องได้รับการเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯ เป็ นกรณี ไป

12-3 แห่ง ให้ผูค้ วบคุม

12.4 เมนสวิตช์ และสวิตช์ ต่างๆ 12.4.1 ทั่วไป เมนสวิตช์สําหรับการจ่ายไฟฟ้าให้ ระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตต้ องแยกต่างหากและไม่ถูกบังคับ จากเมนสวิตช์สําหรับการจ่ายไฟฟ้าปกติ ซึ่งเมนสวิตช์นี ้อาจมีตวั รวม 1 ตัว หรื อแยกแต่ละ ระบบก็ได้ หรื อจัดแบ่งอย่างไรก็ได้ และเมนสวิตช์ทั้งหมดนี ้ต้ องติดตั้งรวมอยู่ด้วยกันที่แผงสวิตช์ เมนรวมหรื อภายในห้ องแผงสวิตช์เมนรวมเท่านั้น 12.4.2 ลิฟต์ สําหรับลิฟต์ที่ใช้ เป็ นทั้งลิฟต์ในภาวะปกติ และเป็ นลิฟต์ผจญเพลิงในภาวะ ฉุกเฉิ นจะต้ องติดตั้งเมนสวิตช์ สําหรั บภาวะฉุกเฉิ นแยกต่างหากจากภาวะปกติ หรื อเป็ นเมน สวิตช์ที่สามารถทําหน้ าที่ได้ ทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน 12.4.3 สวิตช์ ห้ ามติดตั้งสวิตช์หรื ออุปกรณ์ปลด-สับใดๆ ระหว่างเมนสวิตช์และแผงควบคุม ระบบเครื่ อ งช่ ว ยชี วิ ต แต่ย อมให้ ติด ตั้ง ภายในห้ อ งควบคุม ระบบนั้น ๆ ได้ แ ละต้ อ งติ ด ตั้ง ใน ลักษณะที่สงั เกตและเข้ าใจได้ งา่ ยและชัดเจนว่าเป็ นสวิตช์ของระบบแต่ละระบบ ยกเว้ น สวิ ตช์ สบั ถ่ายไฟฟ้ าเพือ่ จ่ายไฟฟ้ าจากต่างแหล่งเพือ่ จ่ายให้ระบบช่วยชี วิตนี ้ โดย สวิ ตช์ สบั ถ่ายนีย้ อมให้ติดตัง้ ได้ที่ 1) แผงเมนสวิ ตช์ 2) แผงสวิ ตช์ หรื อแผงควบคุมระบบ 3) ในห้องเครื ่องลิ ฟต์สําหรับลิ ฟต์ผจญเพลิ ง 12.4.4 อนุญาตให้ ต่อวงจรย่อยสําหรับแสงสว่างและเต้ ารับเพื่อการตรวจสอบและบํารุ งรักษา แยกจากวงจรที่จ่ายไฟฟ้าให้ เครื่ องสูบนํ ้าช่วยชีวิตได้ แต่สวิตช์วงจรย่อยนี ้จะต้ องประกอบด้ วย เครื่ องป้องกันกระแสเกินและเครื่ องป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วที่เหมาะสม และมีขนาดเล็กแตกต่าง เพียงพอจากเครื่ องป้องกันกระแสเกินของเครื่ องสูบนํ ้าที่จะไม่ทําให้ กระแสเกินในวงจรย่อยนี ้มีผล ต่อเครื่ องป้องกันกระแสเกินของเครื่ องสูบนํ ้าหรื ออุปกรณ์ควบคุมอื่นๆ ปลดวงจร นอกจากเครื่ อง ป้องกันกระแสเกินของวงจรย่อยนี ้เท่านั้น 12.4.5 การแยกส่ วนการป้องกันวงจรไฟฟ้า การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันวงจรต่างๆ นั้นจะต้ องติดตังมิ ้ ให้ การปลดวงจรไม่ว่าด้ วยเหตุใดก็ตาม ของวงจรปกติต้องไม่กระทบกระเทือนการจ่ายไฟฟ้าให้ วงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต และไม่อนุญาตให้ ใช้

12-4

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ

เครื่ องป้องกันกระแสเกินหรื อเครื่ องจํากัดกระแสผิดพร่ องเป็ นเครื่ องป้องกันส่วนใดส่วนหนึ่ง ของ วงจรปกติ 12.4.6 การป้องกันทางกายภาพ สวิตช์ และแผงควบคุมระบบช่วยชีวิตจะต้ องติดตั้งในตําแหน่งที่ปลอดจากความเสียหายทาง กายภาพ และต้ องอยู่ในเครื่ อ งห่อหุ้มโลหะที่แข็งแรงเพียงพอที่จะป้องกันความเสียหายทาง กายภาพได้ ซึ่งอาจเป็ นกล่องหรื อตู้โลหะหล่อ (metalclad) ตามความจําเป็ นแต่ไม่จําเป็ นต้ อง หนาเกินกว่า 1.2 มม. ข้ อยกเว้ นที่ 1 อุปกรณ์ ควบคุมต่างๆ ทีจ่ ํ าเป็ นต้องบรรจุในตูอ้ โลหะทีแ่ ข็งแรงเพือ่ ความเหมาะสมกับสถานที ่ ติ ดตัง้ และเป็ นไปตามมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์ ของระบบนัน้ และเป็ นมาตรฐานที ่การไฟฟ้ าฯ ยอมรับ ข้ อยกเว้ นที่ 2 ตูแ้ ผงโลหะแสดงผลซึ่งจํ าเป็ นต้องมีช่องหน้าต่างหรื อหน้าปั ดทีเ่ ป็ นกระจกหนาหรื อพลาสติ กใส หนาเพือ่ ให้มองผ่านเข้าไปได้ ข้ อยกเว้ นที่ 3 หลอดไฟหรื อโป๊ ะครอบหรื อฝาครอบหลอดไฟทีแ่ สดงผลบนตูโ้ ลหะ

12.4.7 การติดป้ายหรื อเครื่ องหมาย สวิตช์ ตู้แผงสวิตช์ แผงควบคุมต่างๆ ของระบบช่วยชีวิตจะต้ องติดป้ายหรื อเครื่ องหมายแสดงให้ เห็นอย่างชัดเจนและเข้ าใจง่ายว่าเป็ นระบบช่วยชีวิตใด รวมทั้งป้ายห้ ามป้ายเตือนอธิบายและ แสดงสถานะต่างๆ ด้ วย

12.5 ระบบการเดินสายไฟฟ้า 12.5.1 ทั่วไป 12.5.1.1 สายไฟฟ้าและอุปกรณ์ ประกอบการเดินสายที่จ่ายไฟฟ้าให้ กับระบบวงจรช่วยชีวิต จะต้ องเป็ นชนิ ดและประเภทรวมถึงวิธีการเดินสายที่ให้ ความมั่นใจว่าจะ มี สภาพเรี ยบร้ อย สมบูรณ์ปลอดจากความเสียหายที่อาจเกิดจากสภาพแวดล้ อมทั้งทางกายภาพและทางเคมีหรื อ อื่นใด พร้ อมใช้ งานได้ ตลอดเวลาและสามารถจ่ายไฟฟ้าและทํางานได้ อย่างปลอดภัยในสภาวะ ที่ถกู เพลิงไหม้ และทนต่อการถูกกระทําทางกายภาพ จากการเกิดเพลิงไหม้ รวมทั้งการถูกฉีด นํ ้าดับเพลิงด้ วย 12.5.1.2 สายไฟฟ้าที่เปลือกนอกมิใช่โลหะจะต้ องเดินสายร้ อยท่อโลหะหนาหรื อท่อโลหะหนา ปานกลาง

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ

12-5

12.5.2 ประเภทของการเดินสาย ระบบการเดินสายไฟฟ้ารวมถึงอุปกรณ์ประกอบต่างๆ สําหรับระบบวงจรช่วยชีวิต รวมทั้งสาย เมนที่ จ่ า ยไฟฟ้ าให้ จ ะต้ อ งมี ม าตรฐานการทนไฟตามข้อกํ า หนดของแต่ ล ะระบบตามข้อ กําหนดการทนไฟตามข้ อ 12.8

12.6 การแยกระบบการเดินสาย 12.6.1 ห้ ามเดินสายระบบวงจรช่วยชี วิตต่างระบบร่ วมกันในท่อสายหรื อสิ่งห่อหุ้มเดียวกัน ทั้งนี ้รวมหมายถึง ห้ ามเดินสายร่วมกับระบบปกติหรื ออื่นๆ ด้ วย 12.6.2 ห้ ามเดินสายระบบวงจรย่อยต่างระบบ รวมทั้งระบบปกติและอื่ นๆ ร่ วมกันในสาย เคเบิลหลายแกน

12.7 ข้ อกําหนดเฉพาะมอเตอร์ สูบนํา้ ดับเพลิง 12.7.1 สวิตช์ แยกวงจร (Isolating Switches) ถ้ าระบบควบคุมมอเตอร์ สูบ นํ า้ ดับเพลิงเป็ นชนิ ดอัตโนมัติจะต้ องติดตั้งสวิตช์ แยกวงจรชนิ ด บังคับด้ วยมือไว้ ทางด้ านไฟเข้ าและอยู่ติดกับเครื่ องควบคุมอัตโนมัติดงั กล่าว และต้ องมีอปุ กรณ์ ที่สามารถล็อกสวิตช์นี ้ได้ ทงในตํ ั ้ าแหน่งปลดและในตําแหน่งสับ 12.7.2 การป้องกันกระแสเกิน อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่ติดตั้งในวงจรจ่ายไฟฟ้าให้ มอเตอร์ สบู นํ ้าดับเพลิงจะต้ องมีลกั ษณะ และคุณสมบัตดิ งั นี ้ 12.7.2.1 มีคณ ุ สมบัตใิ นการปลดวงจรแบบ Inverse time 12.7.2.2 ในกรณีที่ใช้ สวิตช์อตั โนมัติหรื ออุปกรณ์ที่คล้ ายคลึงกันเป็ นเครื่ องป้องกันกระแส เกิน ต้ องมีขนาดหรื อการปรับตั้งให้ ได้ ขนาดดังนี ้ ก) สามารถรับภาระกระแสได้ 1.25 เท่าของพิกัดกระแสของมอเตอร์ ได้ อย่าง ต่อเนื่อง หากมีมอเตอร์ หลายตัวก็ต้องสามารถรับภาระกระแสได้ 1.25 เท่า ของผลรวมของพิกดั กระแสของมอเตอร์ ที่ทํางานพร้ อมกัน และ ข) สามารถปลดวงจรที่กระแส 6 เท่าของพิกดั กระแสของมอเตอร์ ในเวลาไม่เร็ ว กว่า 20 วินาที หรื อหากมีมอเตอร์ หลายตัวก็ให้ ปลดวงจรที่กระแส 6 เท่าของ พิกดั กระแสของมอเตอร์ ตวั ที่ใหญ่ที่สดุ ในเวลาไม่เร็ วกว่า 20 วินาที และ ค) สามารถรับภาระกระแสล็อกโรเตอร์ ของมอเตอร์ ได้ โดยไม่มีข้อจํากัดใดๆ

12-6

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ

12.7.2.3 ห้ ามติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินใดๆ ระหว่างทางจากเมนสวิตช์ไปยังแผงวงจร ควบคุม อีกนอกจากที่เ มนสวิต ช์ และที่แ ผงวงจรควบคุม มอเตอร์ โ ดยที่แ ผงควบคุม มอเตอร์ จะต้ องอยู่บริ เวณใกล้ กบั มอเตอร์ ที่จะมองเห็นและตรวจสอบซึ่งกันและกันได้ ชดั เจนรวดเร็ ว 12.7.2.4 จะต้ องมีแผงแสดงสถานะและสัญญาณเตือนภัย ในห้ องควบคุมอาคารที่มีผ้ ดู แู ล อยูต่ ลอดเวลา 24 ชัว่ โมงทุกวัน และอาจมีแผงแสดงสถานะและสัญญาณเตือนภัยได้ มากกว่า 1 แผง แผงแสดงสถานะและสัญญาณเตือนภัยที่เพิ่มขึ ้นนี ้จะติดตั้งที่ใดก็ได้ ที่สามารถเสริ มให้ เกิด ประโยชน์และความปลอดภัยสูงสุด สายเชื่อมโยงและตู้แผงแสดงสถานะฯ จะต้ องเป็ นไปตาม มาตรฐานการทนไฟที่กําหนดในแต่ละระบบ 12.7.3

ห้ ามติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับและปลดวงจรเมื่อมอเตอร์ มีอณ ุ หภูมิสงู เกินพิกดั

12.7.4 วงจรควบคุม 12.7.4.1 จะต้ องต่อรับไฟฟ้าโดยตรงจากสายเส้ นไฟ (Line) และสายนิวทรัล (Neutral) 12.7.4.2 ต้ องจัดให้ สายเส้ นไฟของวงจรควบคุมต่อโดยตรงกับขดลวดของอุปกรณ์ทํางาน ภายในชุดเริ่ มเดินเครื่ อง (Starter) 12.7.4.3 ห้ ามติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินใดๆอีก นอกจากที่ระบุไว้ ตามข้ อ 12.7.2

12.8 ข้ อกําหนดการทนไฟของระบบวงจรไฟฟ้าช่ วยชีวิตต่ างๆ 12.8.1 สายไฟฟ้าสําหรั บระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชี วิตต่างๆ ต้ องทนไฟได้ ตามมาตรฐาน BS 6387 ในระดับชั้น CWZ หรื อสายเคเบิลชนิดเอ็มไอ ซึง่ ได้ แก่ระบบดังต่อไปนี ้ ก) ระบบจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉิน ข) ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนีไฟ ค) ระบบดูดและระบายควัน รวมทั้งระบบควบคุมการกระจายของไฟและควัน ง) ระบบเครื่ องสูบนํ ้าและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ จ) ระบบสื่อสารฉุกเฉินสําหรับแจ้ งเหตุเพลิงไหม้ ฉ) ระบบลิฟต์ผจญเพลิง

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ

12-7

12.8.2 สายไฟฟ้าสําหรับระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต ต้ องทนไฟได้ ตามมาตรฐาน BS 6387 ใน ระดับชั้น AWX หรื อ ผ่านมาตรฐาน IEC 60331 พร้ อมทั้งมีคณ ุ สมบัติการปล่อยก๊ าซกรดตาม มาตรฐาน IEC 60754-2 และมีคณ ุ สมบัติการปล่อยควันตามมาตรฐาน IEC 61034-2 ซึง่ ได้ แก่ ระบบดังต่อไปนี ้ ก) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั ข) ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน

12.9 การรั บรองความพร้ อมสมบูรณ์ ของระบบวงจรไฟฟ้าช่ วยชีวิต 12.9.1 ผู้ให้ การรั บรอง ก่อนการเปิ ดใช้ อาคารต้ องให้ วิศวกรไฟฟ้าที่ได้ รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเป็ นผู้รับ รองความสมบูรณ์ของระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต 12.9.2 ขอบเขตและระยะเวลาการตรวจและรั บรอง ต้ องจัดทํารายงานการตรวจสอบและทดสอบระบบวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิตปี ละ 1 ครั้ง

13-1

บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผวิ ดิน (Sub-Surface Building)

บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผิวดิน (Sub-Surface Building) ข้ อกําหนดในบทนีเ้ กี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้าในอาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผิวดินโดย แบ่งวงจรไฟฟ้าตามระดับความปลอดภัยคือ ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ ระบบที่ ต้ องการความปลอดภัยสูง ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก

13.1 ทั่วไป 13.1.1 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผิวดิน หมายถึง อาคารหรื อโครงสร้ างใดๆ ที่อยู่ใต้ ผิวดิน เช่น ชั้นใต้ ดินของอาคารทัว่ ไป อาคารจอดรถใต้ ผิวดิน สถานีรถไฟฟ้าใต้ ดิน อุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ ดินและรวมถึงอุโมงค์ใต้ ดินที่ใช้ สําหรับการจราจรทัว่ ไป เป็ นต้ น ซึง่ มีไว้ เพื่อการสาธารณะ การ เดินสายไฟฟ้าและติดตังอุ ้ ปกรณ์ไฟฟ้าต้ องมีความปลอดภัยสูงเป็ นพิเศษเพื่อความปลอดภัยของ สาธารณชนผู้ใช้ บริ การ 13.1.2 การเดินสาย การเดินสายสําหรับอาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผิวดินให้ ปฏิบตั ติ าม ข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ในบทนี ้ให้ ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดของการเดินสาย 13.1.3 ข้ อกําหนดนี ้ใช้ เฉพาะระบบแรงตํ่าเท่านั้น ในกรณีที่มีระบบแรงสูงอยู่ด้วยต้ องได้ รับ การตรวจพิจารณาเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯก่อน โดยใช้ ข้อกําหนดในบทนี ้เป็ นแนวทางในการ พิจารณา

13.2 ขอบเขต กําหนดให้ แบ่งวงจรไฟฟ้าออกเป็ น 3 ประเภทตามโหลดการใช้ งานดังนี ้ 13.2.1 ประเภทที่ 1 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ (Normal Requirement System) ได้ แก่ระบบดังต่อไปนี ้ ก) ระบบแสงสว่างทัว่ ไป ข) ระบบไฟฟ้ากําลัง ที่นอกเหนือจากที่ระบุในข้ อ 13.2.2 และ 13.2.3 ค) ระบบปั๊ มนํ ้าขึ ้นถังบนหลังคา ง) ระบบปรับอากาศ จ) ระบบระบายนํ ้าโดยทัว่ ไป

Safety

13-2

บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผวิ ดิน (Sub-Surface Building)

13.2.2 ประเภทที่ 2 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง (High Safety Requirement System) ได้ แก่ระบบดังต่อไปนี ้ ก) ระบบปรับอากาศ เฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายลม ข) ระบบระบายนํ ้าฉุกเฉิน ค) ระบบลิฟต์และบันไดเลื่อน ง) ระบบสัญญาณเตือนภัยต่าง ๆ จ) ระบบควบคุมคอมพิวเตอร์ ฉ) ระบบทางหนีภยั (escape way) 13.2.3 ประเภทที่ 3 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก (Very High Safety Requirement System) ได้ แก่ระบบดังต่อไปนี ้ ก) ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินทั้งในอาคารใต้ ผิวดินและอุโมงค์ทางวิ่ง ข) ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนีไฟ ค) ระบบดูดและระบายควันรวมทั้งระบบควบคุมการกระจายของไฟและควัน ง) ระบบสื่อสารฉุกเฉิน (emergency communication) จ) ระบบระบายควัน ทั้งในอาคารใต้ ผิวดินและอุโมงค์ทางวิ่ง ฉ) ระบบเครื่ องสูบนํ ้าดับเพลิงและการดับเพลิงทั้งหลาย

13.3 ระบบการเดินสายไฟฟ้า 13.3.1 ทั่วไป 13.3.1.1 ให้ ใช้ กบั ระบบไฟฟ้าเฉพาะแรงตํ่าภายในอาคารใต้ ผิวดินเท่านั ้น 13.3.1.2 ข้ อกําหนดที่ให้ ใช้ เป็ นข้ อกําหนดเพิ่มเติมจากที่กล่าวไว้ แล้ วในตอนต้ น 13.3.2 ประเภทของการเดินสาย ประเภทของการเดินสายไฟฟ้าแบ่งตามประเภทของโหลด 13.3.2.1 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ 13.3.2.1.1 ฉนวนของสายไฟฟ้าต้ องสามารถทนอุณหภูมิได้ ไม่ตํ่ากว่า 90 OC 13.3.2.1.2 ฉนวนหรื อวัสดุห้ มุ สายไฟฟ้า ต้ องเป็ นชนิด Flame Retardant มีคณ ุ สมบัติ ต้ านทานการลุกไหม้ ตามมาตรฐานของ IEC 60332-1 หรื อ IEC60332-3 และมีคณ ุ สมบัติการ

บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผวิ ดิน (Sub-Surface Building)

13-3

ปล่อยก๊ าซกรดตามมาตรฐานของ IEC 60754-2 หรื อมีคณ ุ สมบัติการปล่อยควันตามมาตรฐาน IEC 61034-2 13.3.2.1.3 สายไฟฟ้าที่เปลือกนอกมิใช่โลหะจะต้ องเดินสายร้ อยท่อโลหะหนาหรื อท่อโลหะ หนาปานกลาง 13.3.2.1.4 สายไฟฟ้ าตามข้ อ 13.3.2.1.3 ก่อนเดินเข้ าเครื่ องอุปกรณ์ไฟฟ้าต้ องดําเนินการ ปิ ดผนึกที่ถาวรและมีประสิทธิภาพ ที่สามารถป้องกันการลามไฟที่เกิดจากการไหม้ สายไฟฟ้าได้ 13.3.2.2 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง นอกเหนือจากข้ อกําหนดตามข้ อ 13.3.2.1 แล้ วต้ องเพิ่มเติมดังนี ้ สายไฟฟ้าต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน BS 6387 ในระดับชั้น AWX 13.3.2.3 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก นอกเหนือจากข้ อกําหนดตามข้ อ 13.3.2.1 แล้ วต้ องเพิ่มเติมดังนี ้ สายไฟฟ้าต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน BS 6387 ระดับชั้น CWZ หรื อ สายเคเบิลชนิดเอ็มไอ

13.4 การแยกระบบการเดินสาย 13.4.1 ห้ ามเดินสายสําหรับโหลดต่างประเภทร่ วมกันในท่อสายหรื อสิ่งห่อหุ้มเดียวกัน ทั้งนี ้ รวมหมายถึงห้ ามเดินสายร่ วมกับระบบปกติหรื ออื่ น ๆ ด้ วย ยกเว้ น อนุญาตให้เดิ นสายไฟ รวมอยู่ในท่อสายหรื อสิ่ งห่อหุม้ เดียวกันได้ถา้ ระดับชัน้ ฉนวนของสายทัง้ หมดทีต่ ิ ดตัง้ นัน้ เหมาะสม อยู่ในระดับชัน้ สูงสุดทีใ่ ช้ของโหลดประเภทนัน้ ๆ 13.4.2 ห้ ามเดินสายระบบวงจรย่อยต่างระบบ รวมทั้งระบบปกติและอื่ นๆ ร่ วมกันในสาย เคเบิลหลายแกน

13.5 เมนสวิตช์ และสวิตช์ ต่างๆ 13.5.1 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติและระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง เมนสวิตช์และสวิตช์ตา่ งๆ ให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนดในบทที่ 3 13.5.2 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก เมนสวิตช์และสวิตช์ตา่ งๆ ให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนดในบทที่ 3 และต้ องเป็ นไปตามข้ อกําหนดใน บทที่ 12 ข้ อ 12.4 13.5.3 กรณีเมนสวิตช์และสวิตช์ตา่ ง ๆ ติดตั้งอยูท่ ี่ชนใต้ ั ้ ผิวดิน ฉนวนหรื อวัสดุห้ มุ สายไฟฟ้าที่ ออกจากเมนสวิตช์ สําหรับวงจรทัว่ ไปจะต้ องเป็ นชนิดต้ านทานเปลวเพลิง มีคณ ุ สมบัติตาม มาตรฐานของ IEC 60332-1 หรื อ IEC 60332-3 และมีคณ ุ สมบัติการปล่อยก๊ าซกรดตาม

13-4

บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผวิ ดิน (Sub-Surface Building)

มาตรฐาน ตามมาตรฐานของ IEC 60754-2 หรื อมีคณ ุ สมบัติการปล่อยควันตามมาตรฐาน IEC 61034-2 สําหรับวงจรไฟฟ้าช่วยชีวิต ต้ องเป็ นไปตามบทที่ 12

13.6 การจ่ ายไฟฟ้าฉุกเฉินสําหรั บระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก การจ่ายไฟฟ้าฉุกเฉินสําหรับระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก จะต้ องมีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ 13.6.1 ต้ อ งมีแหล่ง ไฟฟ้ าจ่า ยไฟฟ้ าฉุกเฉิ น อาจเป็ นเครื่ อ งกํา เนิด ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ UPS (uninterruptible power supply) หรื ออื่นใดที่สามารถจ่ายไฟให้ โหลดดังกล่าวอย่างเหมาะสม และในระยะเวลานานพอเพียงที่จะครอบคลุมความต้ องการของโหลดดังกล่าว ส่วนที่ต้องมี ไฟฟ้าใช้ ที่นานที่สดุ ได้ ด้วย และการมีไฟฟ้ าจ่ายให้ โหลดดังกล่าวนี ้จะต้ องไม่ถกู กระทบจากเหตุ ใด ๆ ที่ทําให้ ไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ ได้ เช่น การปลดหรื อการงดจ่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ เป็ นต้ น 13.6.2 จุดต่อสายไฟฟ้าให้ โหลดดังกล่าวที่จําเป็ นต้ องใช้ ไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟปกติร่วมกัน จะต้ องต่อจากจุดด้ านไฟเข้ าของเมนสวิตช์ของระบบไฟฟ้าวงจรปกติ 13.6.3 ไฟฟ้ าที่จ่ายให้ โหลดดังกล่าวจะต้ องไม่ถกู ควบคุมโดยระบบควบคุมของระบบไฟฟ้า วงจรปกติ ทั้งนี ้สวิตช์สบั เปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟจากปกติเป็ นฉุกเฉินไม่ถือว่าเป็ นอุปกรณ์ควบคุม ของระบบไฟฟ้าปกติ ยกเว้ น ระบบไฟฟ้ าฉุกเฉิ นอาจต่อรับไฟฟ้ าจากเมนสวิ ตช์ ระบบไฟฟ้ า ปกติ ได้ หากต่อผ่านสวิ ตช์ หรื ออุปกรณ์ สบั เปลี ่ยนอัตโนมัติรับไฟฟ้ าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ าสํารอง ฉุกเฉิ นทดแทนตาม 13.6.1 เช่น เครื ่องกํ าเนิ ดไฟฟ้ าแบตเตอรี ่ UPS เป็ นต้น และอย่างน้อยต้อง มี สญ ั ญาณทัง้ แสงและเสียงเตื อนทีห่ ้องควบคุม 1 แห่ง ให้ผูค้ วบคุมทราบทัง้ นีจ้ ะต้องได้รับการ เห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯ เป็ นกรณี ไป

13.7 อุปกรณ์ ป้องกัน 13.7.1 อุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินต่อไปนี ้ต้ องเป็ นชนิดทํางานตัดวงจรเมื่อเกิดการไหลของ กระแสลัดวงจรหรื อมีกระแสไหลผิดพร่องเท่านั้น ก) Emergency Equipment Motor (ได้ แก่ เครื่ องสูบนํ ้า เป็ นต้ น) ข) ไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน 13.7.2

อุปกรณ์ป้องกันดังกล่าวต้ องออกแบบให้ ตดิ ตั้งอยูน่ อกห้ องไฟฟ้า

13.8 การต่ อลงดิน ต้ องมีการต่อลงดินตามที่กําหนดในบทที่ 4 และเพิ่มเติมดังนี ้ 13.8.1

การต่อตัวนําเข้ ากับหลักดินให้ ใช้ การต่อเชื่อมด้ วยวิธี Exothermic Welding

บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ ผวิ ดิน (Sub-Surface Building)

13-5

13.8.2 การตอกฝั งหลักดินลงในพื ้นดิน ตําแหน่งของหลักดินจะต้ องอยู่ห่างจากผนังหรื อฐาน รากของอาคารในรัศมีไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร และปลายบนของหลักดินจะต้ องฝั งอยูใ่ ต้ ผิวพื ้นดิน ของอาคารลึกไม่ตํ่ากว่า 0.30 เมตร 13.8.3 การต่อลงดินต้ องทําจุดทดสอบ (test point) สําหรับใช้ วดั ค่าความต้ านทานของการ ต่อลงดินและจุดทดสอบนี ้ต้ องเข้ าถึงได้ โดยสะดวก

13.9 ท่ อระบายอากาศ ท่อระบายอากาศสําหรับมอเตอร์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า และเครื่ องจักรกลไฟฟ้าอื่นๆ หรื อสําหรับ เครื่ องห่อหุ้มของอุปกรณ์ไฟฟ้า ต้ องใช้ ท่อโลหะหนาไม่น้อยกว่า 0.5 มม. หรื อวัสดุที่ไม่ติดไฟ อย่างอื่นที่เทียบเท่าและต้ องเป็ นดังต่อไปนี ้ 13.9.1

ต่อตรงไปนอกอาคารซึง่ มีอากาศสะอาด

13.9.2

ปลายท่อด้ านนอกต้ องปิ ดด้ วยตาข่ายเพื่อป้องกันไม่ให้ สตั ว์เล็กหรื อนกเข้ า

13.9.3 ต้ องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพและป้องกันการเกิดสนิมหรื อผุกร่ อนจาก สาเหตุอื่น

บทที่ 14 การติดตั้งไฟฟ้าชั่วคราว

14-1

บทที่ 14 การติดตัง้ ไฟฟ้าชั่วคราว ข้ อกําหนดในบทนี ้เกี่ยวกับการออกแบบและเดินสายระบบไฟฟ้าชัว่ คราว และเงื่อนเวลาในการ กําหนดระบบไฟฟ้าชัว่ คราว

14.1 ขอบเขต ข้ อกําหนดนี ้ให้ ใช้ กบั วิธีการเดินสายชัว่ คราวสําหรับไฟฟ้ากําลังและแสงสว่าง

14.2 ข้ อกําหนดการเดินสายชั่วคราว การเดินสายชัว่ คราวให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในบทนี ้ กรณีที่ไม่ได้ ระบุไว้ ในบทนี ้ให้ ปฏิบตั ิตาม ข้ อกําหนดของการเดินสาย

14.3 เงื่อนเวลาการกําหนดระบบไฟฟ้าชั่วคราว 14.3.1 ระหว่ างก่ อสร้ าง การติดตั้งไฟฟ้ากําลังและแสงสว่างชัว่ คราว อนุญาตให้ กระทําได้ ในระหว่างก่อสร้ าง การปรับปรุ งรู ปแบบ การบํารุ งรักษา การซ่อมแซม หรื อการรื อ้ ถอนอาคาร งานโครงสร้ างบริ ภณ ั ฑ์หรื ออื่นๆ ที่คล้ ายกัน 14.3.2 90 วัน การติดตั้งไฟฟ้ากําลังและแสงสว่างชัว่ คราวอนุญาตให้ กระทําได้ ไม่เกิน 90 วัน สํ า หรั บ งานวัน ขึน้ ปี ใหม่ งานประดับ แสงสว่า ง สถานที่ พัก ผ่อ นหย่อ นใจ และงานอื่ น ที่ มี วัตถุประสงค์คล้ ายกัน 14.3.3 งานฉุกเฉินและการทดสอบ การติดตั้งไฟฟ้ากําลังและแสงสว่างชัว่ คราวอนุญาต ให้ กระทําได้ ในระหว่างที่มีงานฉุกเฉิน การทดสอบ การทดลองและงานที่กําลังพัฒนา 14.3.4 การรื อ้ ถอน การเดินสายชัว่ คราวต้ องทําการรื อ้ ถอนทันที หลังจากงานก่อสร้ างอาคาร แล้ วเสร็ จ หรื อการเดินสายนั้นได้ ใช้ งานตามวัตถุประสงค์แล้ วเสร็ จ

14.4 ทั่วไป 14.4.1

ระบบประธาน ระบบประธานติดตั้งตามข้ อ 3.4 และ 3.5

14.1.2 สายป้อน สายป้อนต้ องมีการป้องกันตามข้ อ 3.3 สายตัวนําต้ องเป็ นสายทองแดง สําหรับการติดตั้งภายในอาคาร ที่พ้นจากความเสียหายทางกายภาพและแรงดันไฟฟ้าดินไม่เกิน

14-2

บทที่ 14 การติดตั้งไฟฟ้าชั่วคราว

230/400 โวลต์ อนุญาตให้ ติดตั้งสายเปิ ดบนฉนวนลูกรอกที่ระดับใต้ ท้องคานหรื อกําแพงที่ ระดับไม่ตํ่ากว่า 2.5 เมตรและมีระยะจับยึดห่างกันไม่เกิน 5 เมตรได้ 14.4.3 วงจรย่ อย วงจรย่อยทุกวงจรต้ องเริ่ มต้ นจากเต้ ารับกําลังหรื อแผงย่อยที่รับรองแล้ ว เท่านั้น สายตัวนําต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวนชนิดหลายแกน สายตัวนําทั ้งหมดต้ องมีการ ป้ องกันกระแสเกินตามข้ อ 3.3 ในที่ซึ่งไม่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพและระบบ แรงดันไฟฟ้ าเทียบกับดินไม่เกิน 230 โวลต์ วงจรย่อยอนุญาตให้ ติดตั้งแบบเดินลอยเกาะผนัง หรื อติดตั้งบนฉนวนซึง่ มีระยะจับยึดห่างกันไม่เกิน 5 เมตรได้ และห้ ามวางบนพื ้นหรื อดิน 14.4.4 เต้ ารั บ เต้ ารับต้ องเป็ นแบบต่อลงดิน ถ้ าช่องเดินสายโลหะหรื อสายเคเบิลที่มีโลหะ หุ้มไม่มีการต่อลงดินอย่างต่อเนื่อง วงจรย่อยทั้งหมดต้ องมีสายดินแยกต่างหาก และเต้ ารับทุก จุดต้ องมีการต่อทางไฟฟ้ากับสายดิน เต้ ารั บในสถานที่ก่อสร้างต้ องไม่ติดตั้งในวงจรย่อยแสง สว่างชัว่ คราว 14.4.5 การปลดวงจร วงจรย่อยต้ องจัดให้ มีเครื่ องปลดวงจรหรื อตัวต่อเต้ ารับ (plug connector) เพื่อปลดสายเส้ นไฟทุกเส้ นได้ พร้ อมกัน ติดตั้งไว้ ที่จดุ ต่อไฟฟ้ากําลังหรื อแผงย่อยที่ จุดเริ่ มต้ นของวงจรย่อย 14.4.6 การป้องกันหลอดไฟ หลอดไฟสําหรับแสงสว่างโดยทัว่ ไป ต้ องมีการป้องกันจาก การสัมผัสหรื อแตกจากการทํางานปกติ โดยใช้ ดวงโคมหรื อตัวจับยืดดวงโคมแบบมีที่กั้น โคม ไฟฟ้าโลหะที่สมั ผัสถึงได้ ให้ มีการต่อลงดิน 14.4.7 การต่ อสายไฟฟ้าชั่วคราว ให้ ใช้ ตอ่ ได้ ทั้งสายป้อนและวงจรย่อย อนุญาตให้ ตอ่ สาย โดยไม่ต้องใช้ กล่องต่อสาย จุดต่อสายต้ องมีการหุ้มฉนวนด้ วยเทปหรื ออุปกรณ์ที่ทนแรงดันได้ เทียบเท่าฉนวนสายไฟฟ้า และต้ องไม่เป็ นจุดรับแรงดึงของสาย จุดต่อสายชนิดหุ้มฉนวนด้ วน เทป ให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนดต่อไปนี ้ 14.4.7.1 ห้ ามใช้ ในที่เปี ยกชื ้น 14.4.7.2 จุดต่อสายให้ อยูใ่ นบริ เวณที่สามารถตรวจสอบได้ งา่ ย 14.4.7.3 สูงจากพื ้นไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร 14.4.8 การป้องกันสายเสียหาย สายอ่อนและสายเคเบิลต้ องป้องกันการเสียหาย โดย หลีกเลี่ยงการเดินสายผ่านส่วนแหลมคม หรื อการถูกเสียดสี หรื อรับแรงกดต่างๆ หรื อผ่านประตู หรื อหน้ าต่าง หากมีความจําเป็ น ต้ องมีการป้องกันการเสียหายทางกายภาพที่เหมาะสม

บทที่ 14 การติดตั้งไฟฟ้าชั่วคราว

14-3

14.4.9 การต่ อสายที่อุปกรณ์ สายเคเบิลที่เข้ าเครื่ องห่อหุ้มจะต้ องมีการยึดสายให้ แน่นกับ เครื่ องห่อหุ้มด้ วยเครื่ องประกอบซึง่ ออกแบบให้ ใช้ ในงานนี ้โดยเฉพาะ

14.5 การต่ อลงดิน การต่อลงดินทังหมดให้ ้ เป็ นไปตามบทที่ 4 14.6 การป้องกันกระแสรั่วลงดินสําหรับบุคคล การป้องกันกระแสรั่วลงดินสําหรับบุคคลต้ องเป็ นไปตามข้ อ 14.6.1 หรื อ 14.6.2 ดังนี ้ 14.6.1 สําหรั บวงจรที่มีระดับแรงดันเกิน 50 โวลต์ ต้ องติดตั ้งเครื่ องตัดไฟรั่วตาม ข้ อกําหนดในบทที่ 2 ดังนี ้ 14.6.1.1 วงจรไฟฟ้าดังต่อไปนี ้ ก) วงจรเต้ ารับไฟฟ้าที่ใช้ กบั เครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่หยิบยกได้ ข) วงจรแสงสว่างที่แสดงขอบเขตของสถานที่ก่อสร้ าง ค) วงจรแสงสว่ า งและเต้ า รั บ สํ า หรั บ งานวัน ขึ น้ ปี ใหม่ งานประดับ แสงสว่ า ง สถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ หรื อสถานที่คล้ ายคลึงกันที่เข้ าถึงโดยบุคคลทัว่ ไป ง) วงจรไฟป้ายโฆษณาเคลื่อนที่ชวั่ คราว 14.6.2 จัดทําข้ อ บังคับที่ช ดั เจนโดยต้ องกํ าหนดให้ มีการบังคับให้ ติดตั ้งระบบสายดินของ บริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าในสถานที่ติดตั ้งไฟชัว่ คราว และแต่งตั ้งให้ มีผ้ ูตรวจสอบดูแลอย่างน้ อย 1 คน คอยตรวจสอบ ดูแลให้ มนั่ ใจว่าสายไฟฟ้ าทุกๆ เส้ นของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้า สายต่อพ่วงและเต้ ารับที่ ไม่ ไ ด้ เ ป็ นส่ว นหนึ่ ง ของระบบไฟ-ฟ้ าถาวรรวมถึ ง บริ ภัณ ฑ์ ไ ฟฟ้ าที่ ต่อ ใช้ จ ากสายและเต้ า รั บ ดังกล่าวมีการติดตั้งระบบสายดินพร้ อมการดูแลบํารุงรักษาให้ อยู่ในสภาพดี สมบูรณ์ตลอดเวลา และเป็ นไปตามข้ อกําหนดการต่อลงดินตามบทที่ 4 14.6.2.1 ต้ องทดสอบสายและเต้ ารับดังกล่าว ต้ องทดสอบตามรายการต่อไปนี ้ ก) ความต่อเนื่องทางไฟฟ้าของตัวนําสําหรับต่อลงดิน หรื อสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้าทุกเส้ น ข) ความถูกต้ องของการเชื่อมต่อของตัวนําสําหรับต่อลงดิน ระหว่างเต้ ารับและ เต้ าเสียบ พร้ อมทั้งความถูกต้ องของการต่อตัวนําสําหรับต่อลงดินเข้ ากับขั้ว สายของเต้ ารับและเต้ าเสียบ ค) กําหนดให้ ต้องทดสอบ 1) ก่อนการใช้ งานครั้งแรก

14-4

บทที่ 14 การติดตั้งไฟฟ้าชั่วคราว

2) เมื่อปรากฏการชํารุดเสียหาย 3) ก่อนการนําไปใช้ ภายหลังจากการซ่อมบํารุง 4) เป็ นระยะไม่เกิน 3 เดือน ต่อครั้ง 14.6.2.2 ต้ องบันทึกการทดสอบตามข้ อ 14.6.2.1 พร้ อมที่จะให้ ตรวจสอบได้ ตลอดเวลา

14.7 การกัน้ สําหรับการเดินสายชั่วคราวแรงดันระบุเกิน 1,000 โวลต์ จะต้ องมีการป้องกันด้ วยรั้วที่กั้นที่ เหมาะสมหรื อวิธีอื่นที่มีประสิทธิผลเพื่อไม่ให้ บคุ คลอื่นเข้ าถึงได้

ภาคผนวก ก.

ภาคผนวก ก. คําศัพท์ อังกฤษ-ไทย Accessible

เข้ าถึงได้

Acetone

อะซีโทน

Acetylene

อะเซทิลีน

Acrolein

อาโครเลอีน

Adjustable

ปรับได้

Air-Break Switch

สวิตช์ตดั วงจรชนิดอากาศ

Air-Load-Interrupter Switch

สวิตช์ตดั กระแสโหลดชนิดใช้ อากาศ

Alarm

สัญญาณเสียง

Aluminum Bus Bar

บัสบาร์ อะลูมิเนียม

Ammonia

แอมโมเนีย

Ampacity

ขนาดกระแส

Annunciator

แผงเตือน

Appliances

เครื่ องใช้ ไฟฟ้า

Approved

รับรอง

Armored Cable

สายเคเบิล ชนิด AC

Askarel

แอสคาเรล

Attachment Plug

เต้ าเสียบ

Autotransformer Type Controller

เครื่ องควบคุมแบบหม้ อแปลงออโต้

Automatic

อัตโนมัติ

Bare conductor

ตัวนําเปลือย

Barrier

สิง่ ปิ ดกั้นแยก

Benzene

เบนซีน

ก-1

ก-2

ภาคผนวก ก.

Bolt

สลักเกลียว

Bonding

การต่อฝาก

Bonding Jumper

ตัวนําต่อฝาก, สายต่อฝาก

Bonding Jumper, Circuit

สายต่อฝากของวงจร

Bonding Jumper, Equipment

สายต่อฝากของบริ ภณ ั ฑ์

Bonding Jumper, Main

สายต่อฝากประธาน

Bottom Plate

แผ่นปิ ดด้ านล่าง

Box

กล่องสําหรับงานไฟฟ้า

Branch Circuit

วงจรย่อย

Branch Circuit, Appliance

วงจรย่อยสําหรับเครื่ องใช้ ไฟฟ้า

Branch Circuit, General Purpose

วงจรย่อยสําหรับจุดประสงค์ทวั่ ไป

Branch Circuit, Individual

วงจรย่อยเฉพาะ

Branch Circuit, Multiwire

วงจรย่อยหลายสาย

Brazing

การเชื่อมประสาน

Breaking Current

กระแสขณะตัดวงจร

Bus Trunking

บัสทรังกิง

Bushing Grommet

บุชชิงยาง

Busway

บัสเวย์

Butadiene

บิวทะไดอีน

Butane

บิวเทน

Bypass Isolation Switch

สวิตช์ลดั ผ่านแยกวงจร

Cabinet

ตู้

Cable Armor

เกราะหุ้มสายเคเบิล

Cable Tray

รางเคเบิล

Cable Trench

ช่องรางเดินสาย

ภาคผนวก ก.

Carbon Black

ถ่านดํา

Circuit Breaker

เซอร์ กิตเบรกเกอร์

Coincidence Factor

โคอินซิเดนต์แฟกเตอร์

Common Bonding Grid

ตะแกรงประสาน

Compartment

ช่องตู้

Compression Gland

ปลอกรัด

Conceal

เดินซ่อน

Concealed

ซ่อน

Concretetight

ชนิดฝั งในคอนกรี ต

Conductor

ตัวนํา

Conduit Body

ข้ อต่อเปิ ด

Conduit Sealing Bushing

บุชชิ่ชนิดอุด

Connector

ข้ อต่อยึด

Connector, Pressure

ตัวต่อสายแบบบีบ

Continuous Duty

ใช้ งานต่อเนื่อง

Continuous Load

โหลดต่อเนื่อง

Controlled Vented Power Fuse

ฟิวส์กําลังแบบควบคุมการพุง่ ระบาย

Controller

เครื่ องควบคุม

Copper Bus Bar

บัสบาร์ ทองแดง

Copper Clad Aluminum Conductor

ตัวนําอะลูมิเนียมหุ้มด้ วยทองแดง

Corrugated

เป็ นลอน

Coupling

ข้ อต่อ

Covered Conductor

ตัวนําหุ้ม

Current Limiting Fuse

ฟิวส์จํากัดกระแส

Current Transformer

หม้ อแปลงกระแส

ก-3

ก-4

ภาคผนวก ก.

Cutout

คัตเอาต์

Cutout Box

กล่องอุปกรณ์ตดั ตอน

Cyclopropane

ไซโคลโพรเพน

Damp Location

สถานที่ชื ้น

Data Processing

การประมวณผลข้ อมูล

Dead Front

ด้ านหน้ าไม่มีไฟ

Degree of Protection

ระดับการป้องกัน

Demand Factor

ดีมานด์แฟกเตอร์

Depth

ความลึก

Detect

ตรวจจับ

Device

อุปกรณ์

Disconnecting Means

เครื่ องปลดวงจร

Disconnecting Switch, Isolating Switch, Disconnector or Isolator

สวิตช์ปลดวงจร

Double Insulation

ฉนวนสองชั้น

Draw-Out

ชักออก

Draw-Through Bushing

บุชชิงให้ ตวั นําลอด

Drop Out (Fuse)

คัตเอาต์ชนิดฟิวส์ขาดตก

Dry Location

สถานที่แห้ ง

Dry-Niche Lighting Fixture

โคมไฟฝั งกันนํ ้าแบบแห้ ง

Duplex

เต้ าคู่

Dustproof

ทนฝุ่ น

Dusttight

กันฝุ่ น

Duty

ใช้ งาน

Earthing Switch

สวิตช์ตอ่ ลงดิน

ภาคผนวก ก.

Elbow

ข้ องอ

Electric Discharge Lamp

หลอดชนิดปล่อยประจุ

Electrical Connection

การต่อทางไฟฟ้า

Electrical Metallic Tubing

ท่อโลหะบาง

Electrical Nonmetallic Tubing

ท่ออโลหะอ่อน

Electrical Shaft

ช่องสําหรับการเดินสาย

Enamel

อีนาเมล

Ethanol

เอทานอล

Ethyl Ether

เอทิล อีเทอร์

Ethylene

เอทิลีน

Ethylene Oxide

เอทิลีนออกไซด์

Exothermic Welding

วิธีเชื่อมด้ วยความร้ อน

Exposed

เปิ ดโล่ง

Expulsion Fuse Unit of Expulsion Fuse

ตัวฟิวส์แบบขับก๊ าซ

Fire Point

จุดติดไฟ

Fitting

เครื่ องประกอบ

Fixed Grounding Contact

เต้ าเสียบชนิดขาดิน (หน้ าสัมผัสต่อลงดิน แบบอยูก่ บั ที่)

Flame-Retardant

ต้ านเปลวเพลิง

Flexible Metal Conduit

ท่อโลหะอ่อน

Forced Air Cooled

ใช้ พดั ลมเป่ า

Forming Shell

เปลือกหุ้ม

Full Capacity

พิกดั เต็มที่

Fuse

ฟิวส์

Fuse and Fuse Holder

ฟิวส์และขั้วรับฟิวส์

ก-5

ก-6

ภาคผนวก ก.

Fuse Cutout

คัตเอาต์ชนิดฟิวส์

Gas-Insulated Switchgear

สวิตช์เกียร์ ที่ใช้ ก๊าซเป็ นฉนวน

Gasoline

แกโซลีน

General-Use Snap Switch

สวิตช์ธรรมดาใช้ งานทัว่ ไป

General-Use Switch

สวิตช์ใช้ งานทัว่ ไป

Ground

ลงดิน หรื อต่อลงดิน

Ground-Fault Circuit-Interrupter

เครื่ องตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อกระแสรั่วลงดิน

Ground-Fault Protection

เครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดิน

Ground-Fault Protection of Equipment

ั ฑ์ การป้องกันกระแสรั่วลงดินของบริ ภณ

Grounded

ต่อลงดิน

Grounded Bus

บัสต่อลงดิน

Grounded Conductor

ตัวนําที่มีการต่อลงดิน

Grounded, Effectively

ต่อลงดินอย่างมีประสิทธิภาพ

Grounding Conductor

ตัวนําสําหรับต่อลงดิน หรื อสายดิน

Grounding Conductor, Equipment

ตัวนําสําหรับต่อลงดิน หรื อสายดินของ บริ ภณ ั ฑ์

Grounding Electrode Conductor

ตัวนําต่อหลักดิน หรื อสายต่อหลักดิน

Grounding Screw

สลักเกลียวสายดิน

Group

ทั้งกลุม่

Group-Operated Switch

สวิตช์ที่ทํางานพร้ อมกันทุกเฟส

Guarded

กั้น

Guy Strain Insulator

ลูกถ้ วยสายยึดโยง

Guy Wire

สายยึดโยง

Hand-Held Motor-Operated Tools

เครื่ องมือชนิดมือถือที่ทํางานด้ วยมอเตอร์

Harmonic

ฮาร์ มอนิก

ภาคผนวก ก.

Headroom

ที่วา่ งเหนือพื ้นที่เพื่อปฏิบตั งิ าน

Heat Shrinkable Insulation

ฉนวนแบบหดตัวเมื่อถูกความร้ อน

Hexane

เฮกเซน

High Voltage System

ระบบแรงสูง

High Voltage Tapping

แทปแรงสูง

Hoistway

ช่องขึ ้นลง

Hydrogen

ไฮโดรเจน

In Sight From, Within Sight From, Within Sight

อยูใ่ นสายตา

Indoor

ภายในอาคาร

Inductive Load

โหลดประเภทอินดักทีฟ

Inrush Current

กระแสไฟกระโชก

Instantaneous Trip

ปลดวงจรทันที

Instrument Transformer

หม้ อแปลงเครื่ องวัด

Insulated Conductor

ตัวนําหุ้มฉนวน

Insulation System Temperature

ระบบอุณหภูมิของฉนวน

Interlock

อินเตอร์ ลอ็ ก

Intermediate Metal Conduit

ท่อโลหะหนาปานกลาง

Intermittent Duty

ใช้ งานเป็ นระยะ

Interrupter Switch

สวิตช์ตดั วงจร

Interrupting Rating

พิกดั ตัดวงจร หรื อพิกดั ตัดกระแส

Inverse Time

เวลาผกผัน

Inverse Time Circuit Breaker

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผัน

Isolated

แยกออก

Isolating Switch

สวิตช์แยกวงจร

ก-7

ก-8

ภาคผนวก ก.

Junction Box

กล่องชุมสาย

Knockout

ช่องน็อกเอาต์

Less-Flammable Liquid-Insulated Transformer

หม้ อแปลงฉนวนของเหลวติดไฟยาก

Lighting Outlet

จุดจ่ายไฟแสงสว่าง

Liquid-Insulated or Gas-Insulated

แผงสวิตช์ชนิดที่ใช้ ของเหลว

Liquidtighht Flexible Nonmetallic Conduit ท่ออโลหะอ่อนกันของเหลว Liquidtight Flexible Metal Conduit

ท่อโลหะอ่อนกันของเหลว

Load Break Switch

สวิตช์สําหรับตัดโหลด

Load-Break

ปลด-สับได้ ในขณะที่มีโหลด

Load-Interrupting Device

เครื่ องปลดโหลด

Location

สถานที่

Low Voltage Compartment

ช่องตู้สว่ นแรงตํ่า

Low Voltage System

ระบบแรงตํ่า

Main Distribution Board

แผงบริ ภณ ั ฑ์ประธานรวมแรงตํ่า

Maximum Demand

ความต้ องการกําลังไฟฟ้าสูงสุด

Metal Raceway

ช่องร้ อยสายโลหะ

Metal-Clad Cable

สายเคเบิลชนิด MC

Methane

มีเทน

Methanol

เมทานอล

Mineral-Insulated, Metal-Sheathed Cable สายเคเบิลชนิด MI Motor-Circuit Switch

สวิตช์วงจรมอเตอร์

MOV

เมทัลออกไซด์วาริ สเตอร์

Multioutlet Assembly

ชุดจุดจ่ายไฟสําเร็ จรูป

Multiple Fuse

ฟิวส์ควบ

ภาคผนวก ก.

Naphtha

แนฟทา

Natural Gas

ก๊ าซธรรมชาติ

Neutral

ตัวนํานิวทรัล, ขนาดตัวนํานิวทรัล

Nipple

นิปเพิล

No-Load

ไม่มีโหลด

No-Voltage Release

ปลดวงจรออกเมื่อไม่มีไฟ

Non Load-Break Switch

เครื่ องปลดวงจรไม่ใช่ประเภทสวิตช์สําหรับ ตัดโหลด

Non-Toxic

ไม่เป็ นพิษต่อคนและสิง่ แวดล้ อม

Nonadjustable

ปรับไม่ได้

Nonautomatic

ไม่อตั โนมัติ

Nonflammable Cooling Medium

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิดฉนวนไม่ตดิ ไฟ

Nonflammable Fluid-Insulated Transformer หม้ อแปลงฉนวนของเหลวไม่ตดิ ไฟ Nonincendive Circuit

วงจรไม่ตดิ ไฟ

Nonmetallic Raceways

ช่องร้ อยสายอโลหะ

Nonvented Power Fuse

ฟิวส์กําลังแบบไม่พงุ่ ระบาย

Not Shunted During the Starting Period

ขณะเริ่ มเดินไม่ตอ่ ขนาน

Oil Cutout or Oil-Filled Cutout

คัตเอาต์นํ ้ามัน

Oil Switch

สวิตช์นํ ้ามัน

Open Wiring

การเดินสายเปิ ด หรื อเดินลอย

Open Wiring on Insulators

เดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวน

Organic Coating

สารเคลือบอินทรี ย์

Outdoor

ภายนอกอาคาร

Outlet

จุดจ่ายไฟ

Over-Head Ground Wire

สายดินอากาศ

ก-9

ก-10

ภาคผนวก ก.

Overcurrent

กระแสเกิน

Overcurrent Protective Device

เครื่ องป้องกันกระแสเกิน

Overcurrent Relay

รี เลย์ป้องกันกระแสเกิน

Overload

โหลดเกิน, เกินกําลัง

Overload Relay

รี เลย์โหลดเกิน, เครื่ องป้องกันการใช้ งานเกินกําลัง

Padmounted Transformer

หม้ อแปลงชนิดที่มีอปุ กรณ์ป้องกันและตัดตอน มากับหม้ อแปลง

Panelboard

แผงย่อย

Partially Insulated

หุ้มด้ วยฉนวนบางส่วน

Partition

แผ่นกั้น

Periodic Duty

ใช้ งานเป็ นคาบ

Permanently Installed Swimming Pools

สระว่ายนํ ้าชนิดติดตั้งถาวร

Permanently Installed-Decorative Fountains and Reflection Pools

อ่างนํ ้าพุประดับและสระสะท้ อนแสงชนิดตั้งถาวร

Portable Appliance

เครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้

Potential Transformer

หม้ อแปลงแรงดัน

Power Factor

ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า

Power Fuse

ชุดฟิวส์กําลัง

Power Fuse Unit

ตัวฟิวส์กําลัง

Premised Wiring (System)

การเดินสายภายใน

Pressure Relief Flap

ช่องระบายแรงดัน

Projected Line

เส้ นฉาย

Propane

โพรเพน

Propylene Oxide

โพรพิลีนออกไซด์

Protective Angle

มุมป้องกัน

ภาคผนวก ก.

Pyrophoric

สารไพโรฟอริ ก

Qualified Person

บุคคลที่มีคณ ุ สมบัติ หรื อบุคคลที่มีหน้ าที่ เกี่ยวข้ อง

Raceway

ช่องเดินสาย (ไฟฟ้า)

Rainproof

ทนฝน

Raintight

ชนิดกันฝน

Readily Accessible

เข้ าถึงได้ งา่ ย

Receptacle

เต้ ารับ

Receptacle and Plug

เต้ ารับและเต้ าเสียบ

Receptacle Outlet

จุดจ่ายไฟชนิดเต้ ารับ

Regulator Bypass Switch

สวิตช์ลดั ผ่านเรกูเลเตอร์

Remote-Control Circuit

วงจรควบคุมจากระยะไกล

Reset

เข้ าที่ได้ เอง

Resistance to Ground

ความต้ านทานระหว่างหลักดินกับดิน

Rigid Metal Conduit

ท่อโลหะหนา

Rigid Nonmetallic Conduit

ท่ออโลหะแข็ง

Ring Main Unit

ริ งเมนยูนิต

Safety Switch

เซฟตีสวิตช์

Screw

สกรู

Seal

แหวนผลึก

Sealable Equipment

บริ ภณ ั ฑ์ปิดผนึกได้

Sensing Device

เครื่ องตรวจวัด

Seperately Derived Systems

ระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก

Service

ระบบประธาน

Service Conductors

ตัวนําประธาน

ก-11

ก-12

ภาคผนวก ก.

Service Drop

สายจ่ายระบบประธานอากาศ

Service Equipment

บริ ภณ ั ฑ์ประธาน

Service Factor

ตัวประกอบใช้ งาน

Service-Entrance Conductor, Underground System

ตัวนําประธานเข้ าอาคารระบบสายใต้ ดนิ

Service-Entrance Conductors, Overhead System

ตัวนําประธานเข้ าอาคารระบบสายอากาศ

Service-Entrance Connector

ตัวต่อตัวนําประธาน

Setting

ตัง้

Shield

ชีลด์

Short-time Current Rating

พิกดั รับกระแสที่เกิดในระยะเวลาสั้นๆ

Short-Time Duty

ใช้ งานระยะสั้น

Show Window

ตู้แสดงหน้ าร้ าน

Signaling Circuit

วงจรสัญญาณ

Single

เต้ าเดี่ยว

Single-Phase Load

โหลด 1 เฟส

Soldering

การบัดกรี

Solid Conductor

ตัวนําเดี่ยว

Source Side

ด้ านไฟเข้ า

Spaced Aerial Cable

เคเบิลแบบสเปซแอเรี ยล

Splice

การต่อสาย

Strap

สแตรป

Sump

บ่อพัก

Surface Metal Raceway

ช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิว

Surface Nonmetallic Raceway

ช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิว

ภาคผนวก ก.

ก-13

Surface Wiring

เดินสายเกาะผนัง

Surge Arrester

กับดักเสิร์จ

Switch

สวิตช์

Switchboard

แผงสวิตช์

Switching

การสับและการปลด

Switching Device

อุปกรณ์สวิตช์

Temperature Rise

ค่าพิกดั อุณหภูมิเพิ่ม

Terminal

ขั้วต่อสาย

Terminal Fitting

เครื่ องประกอบที่ปลายท่อ

Test Point

จุดทดสอบ

Thermal Cutout and Overload Relay

เครื่ องตัดตอนชนิดที่ทํางานด้ วยความร้ อนและ รี เลย์โหลดเกิน

Thermal Protector

เครื่ องป้องกันความร้ อนเกิน

Thermally Protected

มีการป้องกันความร้ อนเกิน

Torque Motor

ทอร์ กมอเตอร์

Total Loss

กําลังไฟฟ้าสูญเสียทั้งหมด

Transfer Switch

สวิตช์ถ่ายโอน, สวิตช์สบั เปลี่ยน

Transfer Switch

สวิตช์สบั เปลี่ยน

Transformer Used With Remote-Control

หม้ อแปลงที่ใช้ ระบบควบคุมระยะห่างและ สัญญาณ

and Signaling Transient Fault

เกิดลัดวงจรชัว่ ขณะ

Trench

ราง

Triangular Configuration

วางเป็ นรูปสามเหลี่ยม

Trip Free

ปลดได้ โดยอิสระ

Triplex Receptacle

สามเต้ า

ก-14

ภาคผนวก ก.

Unit

หน่วย

Unit Substation

หน่วยสถานียอ่ ย

Utilization Equipment

บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอย

Varying Duty

ใช้ งานไม่แน่นอน

Vented Power Fuse

ฟิวส์กําลังแบบพุง่ ระบาย

Ventilated

ระบายอากาศ

Volatile Flamable Liquid

ของเหลวระเหยติดไฟ

Voltage Class

ระดับแรงดัน

Voltage

แรงดัน

Voltage to Ground

แรงดันเทียบกับดิน

Voltage, Nominal

แรงดันที่ระบุ

Warning Sign

ป้ายเตือน

Watertight

กันนํ ้า

Weatherproof

ทนสภาพอากาศ

Welding

การเชื่อม

Wet Location

สถานที่เปี ยก

Wet-Niche Lighting Fixture

โคมไฟฝั งกันนํ ้าแบบเปี ยก

Wire Nut

ไวร์ นตั

Wireway

รางเดินสาย

Wiring Chamber

กล่องสาย

Wound-Rotor

วาวด์โรเตอร์

XLPE

คลอสส์ลงิ ก์โพลิเอทิลีน

ภาคผนวก ข.

ภาคผนวก ข. คําศัพท์ ไทย-อังกฤษ กระแสเกิน

Overcurrent

กระแสขณะตัดวงจร

Breaking Current

กระแสไฟกระโชก

Inrush Current

กล่องชุมสาย

Junction Box

กล่องสาย

Wiring Chamber

กล่องสําหรับงานไฟฟ้า

Box

กล่องอุปกรณ์ตดั ตอน

Cutout Box

กั้น

Guarded

กันนํ ้า

Watertight

กันฝุ่ น

Dusttight

กับดักเสิร์จ

Surge Arrester

ก๊ าซธรรมชาติ

Natural Gas

การเชื่อม

Welding

การเชื่อมประสาน

Brazing

การเดินสายในรางเดินสาย, รางเดินสาย

Wireway

การเดินสายเปิ ด หรื อเดินลอย

Open Wiring

การเดินสายภายใน

Premised Wiring (System)

การต่อทางไฟฟ้า

Electrical Connection

การต่อฝาก

Bonding

การต่อสาย

Splice

การบัดกรี

Soldering

การประมวณผลข้ อมูล

Data Processing

ข-1

ข-2

ภาคผนวก ข.

การป้องกันกระแสรั่วลงดินของบริ ภณ ั ฑ์

Ground-Fault Protection of Equipment

การสับและการปลด

Switching

กําลังไฟฟ้าสูญเสียทั้งหมด

Total Loss

เกราะหุ้มสายเคเบิล

Cable Armor

เกิดลัดวงจรชัว่ ขณะ

Transient Fault

แกโซลีน

Gasoline

ขณะเริ่ มเดินไม่ตอ่ ขนาน

Not Shunted During the Starting Period

ขนาดกระแส

Ampacity

ของเหลวระเหยติดไฟ

Volatile Flamable Liquid

ข้ องอ

Elbow

ข้ อต่อ

Coupling

ข้ อต่อเปิ ด

Conduit Body

ข้ อต่อยึด

Connector

ขั้วต่อสาย

Terminal

เข้ าถึงได้

Accessible

เข้ าถึงได้ งา่ ย

Readily Accessible

เข้ าที่ได้ เอง

Reset

คลอสส์ลิ ้งก์โพลิเอทิลีน

XLPE

ความต้ องการกําลังไฟฟ้าสูงสุด

Maximum Demand

ความต้ านทานระหว่างหลักดินกับดิน

Resistance to Ground

ความลึก

Depth

คัตเอาต์

Cutout

คัตเอาต์นํ ้ามัน

Oil Cutout or Oil-Filled Cutout

คัตเอาต์ชนิดฟิวส์

Fuse Cutout

คัตเอาต์ชนิดฟิวส์ขาดตก

Drop Out

ภาคผนวก ข.

ค่าพิกดั อุณหภูมิเพิ่ม

Temperature Rise

เคเบิลแบบสเปซแอเรี ยล

Spaced Aerial Cable

เครื่ องควบคุม

Controller

เครื่ องควบคุมแบบหม้ อแปลงออโต

Autotransformer Type Controller

เครื่ องใช้ ไฟฟ้า

Appliance

เครื่ องใช้ ไฟฟ้าชนิดหยิบยกได้

Portable Appliance

เครื่ องตรวจวัด

Sensing Device

เครื่ องตัดตอนชนิดที่ทํางานด้ วยความร้ อน และรี เลย์โหลดเกิน

Thermal Cutout and Overload Relay

เครื่ องตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อกระแสรั่วลงดิน

Ground-Fault Circuit-Interrupter

เครื่ องประกอบ

Fitting

เครื่ องประกอบที่ปลายท่อ

Terminal Fitting

เครื่ องปลดวงจร

Disconnecting Means

เครื่ องปลดวงจรไม่ใช่ประเภทสวิตช์สําหรับตัดโหลด Non Load-Break Switch เครื่ องปลดโหลด

Load-Interrupting Device

เครื่ องป้องกันกระแสเกิน

Overcurrent Protective Device

เครื่ องป้องกันกระแสรั่วลงดิน

Ground-Fault Protection

เครื่ องป้องกันความร้ อนเกิน

Thermal Protector

เครื่ องมือชนิดมือถือที่ทํางานด้ วยมอเตอร์

Hand-Held Motor-Operated Tools

โคมไฟฝั งกันนํ ้าแบบเปี ยก

Wet-Niche Lighting Fixture

โคมไฟฝั งกันนํ ้าแบบแห้ ง

Dry-Niche Lighting Fixture

โคอินซิเดนต์แฟกเตอร์

Coincidence Factor

จุดจ่ายไฟ

Outlet

จุดจ่ายไฟชนิดเต้ ารับ

Receptacle Outlet

จุดจ่ายไฟแสงสว่าง

Lighting Outlet

ข-3

ข-4

ภาคผนวก ข.

จุดติดไฟ

Fire Point

จุดทดสอบ

Test Point

ฉนวนแบบหดตัวเมื่อถูกความร้ อน

Heat Shrinkable Insulation

ฉนวนสองชั้น

Double Insulation

ชนิดกันฝน

Raintight

ชนิดฝั งในคอนกรี ต

Concretetight

ช่องขึ ้นลง

Hoistway

ช่องเดินสาย

Raceway

ช่องเดินสายโลหะบนพื ้นผิว

Surface Metal Raceway

ช่องเดินสายอโลหะบนพื ้นผิว

Surface Nonmetallic Raceway

ช่องตู้

Compartment

ช่องตู้สว่ นแรงตํ่า

Low Voltage Compartment

ช่องน็อกเอาต์

Knockout

ช่องร้ อยสายโลหะ

Metal Raceway

ช่องร้ อยสายอโลหะ

Nonmetallic Raceways

ช่องระบายแรงดัน

Pressure Relief Flap

ช่องรางเดินสาย

Cable Trench

ช่องสําหรับการเดินสาย

Electrical Shaft

ชักออก

Draw-Out

ชีลด์

Shield

ชุดจุดจ่ายไฟสําเร็ จรูป

Multioutlet Assembly

ชุดฟิวส์กําลัง

Power Fuse

ใช้ งาน

Duty

ใช้ งานต่อเนื่อง

Continuous Duty

ใช้ งานเป็ นคาบ

Periodic Duty

ภาคผนวก ข.

ใช้ งานเป็ นระยะ

Intermittent Duty

ใช้ งานไม่แน่นอน

Varying Duty

ใช้ งานระยะสั้น

Short-Time Duty

ใช้ พดั ลมเป่ า

Forced Air Cooled

ซ่อน

Concealed

เซฟตีสวิตช์

Safety Switch

เซอร์ กิตเบรกเกอร์

Circuit Breaker

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิดฉนวนไม่ตดิ ไฟ

Nonflammable Cooling Medium

เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เวลาผกผัน

Inverse Time Circuit Breaker

ไซโคลโพรเพน

Cyclopropane

ด้ านไฟเข้ า

Source Side

ด้ านหน้ าไม่มีไฟ

Dead Front

ดีมานด์แฟกเตอร์

Demand Factor

เดินซ่อน

Conceal

เดินสายเกาะผนัง

Surface Wiring

เดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวน

Open Wiring on Insulators

ตรวจจับ

Detect

ต่อลงดิน

Grounded

ต่อลงดินอย่างมีประสิทธิภาพ

Grounded, Effectively

ตะแกรงประสาน

Common Bonding Grid

ตั้ง

Setting

ตัวต่อตัวนําประธาน

Service-Entrance Connector

ตัวต่อสายแบบบีบ

Connector, Pressure

ตัวนํา

Conductor

ตัวนําเดี่ยว

Solid Conductor

ข-5

ข-6

ภาคผนวก ข.

ตัวนําต่อฝาก, สายต่อฝาก

Bonding Jumper

ตัวนําต่อหลักดิน หรื อสายต่อหลักดิน

Grounding Electrode Conductor

ตัวนําที่มีการต่อลงดิน

Grounded Conductor

ตัวนํานิวทรัล, ขนาดตัวนํานิวทรัล

Neutral

ตัวนําประธาน

Service Conductors

ตัวนําประธานเข้ าอาคารระบบสายใต้ ดนิ

Service-Entrance Conductor, Underground System

ตัวนําประธานเข้ าอาคารระบบสายอากาศ

Service-Entrance Conductors, Overhead System

ตัวนําเปลือย

Bare conductor

ตัวนําสําหรับต่อลงดิน หรื อสายดินของบริ ภณ ั ฑ์ Grounding Conductor, Equipment ตัวนําสําหรับต่อลงดิน หรื อสายดิน

Grounding Conductor

ตัวนําหุ้ม

Covered Conductor

ตัวนําหุ้มฉนวน

Insulated Conductor

ตัวนําอะลูมิเนียมหุ้มด้ วยทองแดง

Copper Clad Aluminum Conductor

ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า

Power Factor

ตัวประกอบใช้ งาน

Service Factor

ตัวฟิวส์กําลัง

Power Fuse Unit

ตัวฟิวส์แบบขับก๊ าซ

Expulsion Fuse Unit of Expulsion Fuse

ต้ านเปลวเพลิง

Flame-Retardant

ตู้

Cabinet

ตู้แสดงหน้ าร้ าน

Show Window

เต้ าคู่

Duplex

เต้ าเดี่ยว

Single

เต้ ารับ

Receptacle

ภาคผนวก ข.

ข-7

เต้ ารับและเต้ าเสียบ

Receptacle and Plug

เต้ าเสียบ

Attachment Plug

เต้ าเสียบชนิดขาดิน (หน้ าสัมผัสต่อลงดิน แบบอยูก่ บั ที่)

Fixed Grounding Contact

ถ่านดํา

Carbon Black

ทนฝน

Rainproof

ทนฝุ่ น

Dustproof

ทนสภาพอากาศ

Weatherproof

ท่อโลหะบาง

Electrical Metallic Tubing

ท่อโลหะหนา

Rigid Metal Conduit

ท่อโลหะหนาปานกลาง

Intermediate Metal Conduit

ท่อโลหะอ่อน

Flexible Metal Conduit

ท่อโลหะอ่อนกันของเหลว

Liquidtight Flexible Metal Conduit

ท่ออโลหะแข็ง

Rigid Nonmetallic Conduit

ท่ออโลหะอ่อน

Electrical Nonmetallic Tubing

ท่ออโลหะอ่อนกันของเหลว

Liquidtighht Flexible Nonmetallic Conduit

ทอร์ กมอเตอร์

Torque Motor

ทั้งกลุม่

Group

ที่วา่ งเหนือพื ้นที่เพื่อปฏิบตั งิ าน

Headroom

แทปแรงสูง

High Voltage Tapping

นิปเพิล

Nipple

แนฟทา

Naphtha

บริ ภณ ั ฑ์ใช้ สอย

Utilization Equipment

บริ ภณ ั ฑ์ประธาน

Service Equipment

บริ ภณ ั ฑ์ปิดผนึกได้

Sealable Equipment

ข-8

ภาคผนวก ข.

บ่อพัก

Sump

บัสต่อลงดิน

Grounded Bus

บัสทรังกิง

Bus Trunking

บัสบาร์ ทองแดง

Copper Bus Bar

บัสบาร์ อะลูมิเนียม

Aluminum Bus Bar

บัสเวย์

Busway

บิวทะไดอีน

Butadiene

บิวเทน

Butane

บุคคลที่มีคณ ุ สมบัติ หรื อบุคคลที่มีหน้ าที่ เกี่ยวข้ อง

Qualified Person

บุชชิงชนิดอุด

Conduit Sealing Bushing

บุชชิงยาง

Bushing Grommet

บุชชิงให้ ตวั นําลอด

Draw-Through Bushing

เบนซีน

Benzene

ปรับได้

Adjustable

ปรับไม่ได้

Nonadjustable

ปลด-สับได้ ในขณะที่มีโหลด

Load-Break

ปลดได้ โดยอิสระ

Trip Free

ปลดวงจรทันที

Instantaneous Trip

ปลดวงจรออกเมื่อไม่มีไฟ

No-Voltage Release

ปลอกรัด

Compression Gland

ป้ายเตือน

Warning Sign

เป็ นลอน

Corrugated

เปลือกหุ้ม

Forming Shell

เปิ ดโล่ง

Exposed

ภาคผนวก ข.

แผงเตือน

Annunciator

แผงบริ ภณ ั ฑ์ประธานรวมแรงตํ่า

Main Distribution Board

แผงย่อย

Panelboard

แผงสวิตช์

Switchboard

แผงสวิตช์ชนิดที่ใช้ ของเหลว

Liquid-Insulated or Gas-Insulated

แผงสวิตช์แบบปิ ดหุ้มมิดชิด

Totally Enclosed

แผ่นกั้น

Partition

แผ่นปิ ดด้ านล่าง

Bottom Plate

พิกดั ตัดวงจร หรื อพิกดั ตัดกระแส

Interrupting Rating

พิกดั เต็มที่

Full Capacity

พิกดั รับกระแสที่เกิดในระยะเวลาสั้นๆ

Short-time Current Rating

โพรพิลีนออกไซด์

Propylene Oxide

โพรเพน

Propane

ฟิวส์

Fuse

ฟิวส์กําลังแบบควบคุมการพุง่ ระบาย

Controlled Vented Power Fuse

ฟิวส์กําลังแบบพุง่ ระบาย

Vented Power Fuse

ฟิวส์กําลังแบบไม่พงุ่ ระบาย

Nonvented Power Fuse

ฟิวส์ควบ

Multiple Fuse

ฟิวส์จํากัดกระแส

Current Limiting Fuse

ฟิวส์และขั้วรับฟิวส์

Fuse and Fuse Holder

ภายนอกอาคาร

Outdoor

ภายในอาคาร

Indoor

มีการป้องกันความร้ อนเกิน

Thermally Protected

มีเทน

Methane

มุมป้องกัน

Protective Angle

ข-9

ข-10

ภาคผนวก ข.

เมทัลออกไซด์วาริ สเตอร์

MOV

เมทานอล

Methanol

ไม่เป็ นพิษต่อคนและสิง่ แวดล้ อม

Non-Toxic

ไม่มีโหลด

No-Load

ไม่อตั โนมัติ

Nonautomatic

แยกออก

Isolated

ระดับการป้องกัน

Degree of Protection

ระดับแรงดัน

Voltage Class

ระบบที่มีตวั จ่ายแยกต่างหาก

Seperately Derived Systems

ระบบประธาน

Service

ระบบแรงตํ่า

Low Voltage System

ระบบแรงสูง

High Voltage System

ระบบอุณหภูมิของฉนวน

Insulation System Temperature

ระบายอากาศ

Ventilated

รับรอง

Approved

ราง

Trench

รางเคเบิล

Cable Tray

ริ งเมนยูนิต

Ring Main Unit

รี เลย์ป้องกันกระแสเกิน

Overcurrent Relay

รี เลย์โหลดเกิน

Overload Relay

แรงดัน

Voltage

แรงดันที่ระบุ

Voltage, Nominal

แรงดันเทียบกับดิน

Voltage to Ground

ลงดิน หรื อต่อลงดิน

Ground

ลูกถ้ วยสายยึดโยง

Guy Strain Insulator

ภาคผนวก ข.

ข-11

วงจรควบคุมจากระยะไกล

Remote-Control Circuit

วงจรไม่ตดิ ไฟ

Nonincendive Circuit

วงจรย่อย

Branch Circuit

วงจรย่อยเฉพาะ

Branch Circuit, Individual

วงจรย่อยสําหรับเครื่ องใช้ ไฟฟ้า

Branch Circuit, Appliance

วงจรย่อยสําหรับจุดประสงค์ทวั่ ไป

Branch Circuit, General Purpose

วงจรย่อยหลายสาย

Branch Circuit, Multiwire

วงจรสัญญาณ

Signaling Circuit

วางเป็ นรูปสามเหลี่ยม

Triangular Configuration

วาวด์โรเตอร์

Wound-Rotor

วิธีเชื่อมด้ วยความร้ อน

Exothermic Welding

เวลาผกผัน

Inverse Time

ไวร์ นตั

Wire Nut

สกรู

Screw

สแตรป

Strap

สถานที่

Location

สถานที่ชื ้น

Damp Location

สถานที่เปี ยก

Wet Location

สถานที่แห้ ง

Dry Location

สระว่ายนํ ้าชนิดติดตั้งถาวร

Permanently Installed Swimming Pools

สลักเกลียว

Bolt

สลักเกลียวสายดิน

Grounding Screw

สวิตช์

Switch

สวิตช์เกียร์ ที่ใช้ ก๊าซเป็ นฉนวน

Gas-Insulated Switchgear

สวิตช์ใช้ งานทัว่ ไป

General-Use Switch

ข-12

ภาคผนวก ข.

สวิตช์ตอ่ ลงดิน

Earthing Switch

สวิตช์ตดั กระแสโหลดชนิดใช้ อากาศ

Air-Load-Interrupter Switch

สวิตช์ตดั วงจร

Interrupter Switch

สวิตช์ตดั วงจรชนิดอากาศ

Air-Break Switch

สวิตช์ถ่ายโอน, สวิตช์สบั เปลี่ยน

Transfer Switch

สวิตช์ที่ทํางานพร้ อมกันทุกเฟส

Group-Operated Switch

สวิตช์ธรรมดาใช้ งานทัว่ ไป

General-Use Snap Switch

สวิตช์นํ ้ามัน

Oil Switch

สวิตช์ปลดวงจร

Disconnecting Switch, Isolating Switch, Disconnector or Isolator

สวิตช์แยกวงจร

Isolating Switch

สวิตช์ลดั ผ่านแยกวงจร

Bypass Isolation Switch

สวิตช์ลดั ผ่านเรกูเลเตอร์

Regulator Bypass Switch

สวิตช์วงจรมอเตอร์

Motor-Circuit Switch

สวิตช์สบั เปลี่ยน

Transfer Switch

สวิตช์สําหรับตัดโหลด

Load Break Switch

สัญญาณเสียง

Alarm

สามเต้ า

Triplex

สายเคเบิล ชนิด AC

Armored Cable

สายเคเบิลชนิด MC

Metal-Clad Cable

สายเคเบิลชนิด MI

Mineral-Insulated, Metal-Sheathed Cable

สายจ่ายระบบประธานอากาศ

Service Drop

สายดินอากาศ

Over-Head Ground Wire

สายต่อฝากของบริ ภณ ั ฑ์

Bonding Jumper, Equipment

สายต่อฝากของวงจร

Bonding Jumper, Circuit

ภาคผนวก ข.

ข-13

สายต่อฝากประธาน

Bonding Jumper, Main

สายยึดโยง

Guy Wire

สารเคลือบอินทรี ย์

Organic Coating

สารไพโรฟอริ ก

Pyrophoric

สิง่ ปิ ดกั้นแยก

Barrier

เส้ นฉาย

Projected Line

หน่วย

Unit

หน่วยสถานียอ่ ย

Unit Suubstation

หม้ อแปลงกระแส

Current Transformer

หม้ อแปลงเครื่ องวัด

Instrument Transformer

หม้ อแปลงฉนวนของเหลวติดไฟยาก

Less-Flammable Liquid-Insulated Transformer

หม้ อแปลงฉนวนของเหลวไม่ตดิ ไฟ

Nonflammable Fluid-Insulated Transformer

หม้ อแปลงชนิดที่มีอปุ กรณ์ป้องกันและตัดตอน Padmounted Transformer มากับหม้ อแปลง หม้ อแปลงที่ใช้ ระบบควบคุมระยะห่างและ สัญญาณ

Transformer Used With Remote-Control and Signaling

หม้ อแปลงแรงดัน

Potential Transformer

หลอดชนิดปล่อยประจุ

Electric Discharge Lamp

หุ้มด้ วยฉนวนบางส่วน

Partially Insulated

แหวนผนึก

Seal

โหลด 1 เฟส

Single-Phase Load

โหลดเกิน, เกินกําลัง

Overload

โหลดต่อเนื่อง

Continuous Load

โหลดประเภทอินดักทีฟ

Inductive Load

ข-14

ภาคผนวก ข.

อยูใ่ นสายตา

In Sight From, Within Sight From, Within Sight

อะโครเลอีน

Acrolein

อะซีโทน

Acetone

อะเซทิลีน

Acetylene

อัตโนมัติ

Automatic

อ่างนํ ้าพุประดับและสระสะท้ อนแสง ชนิดตั้งถาวร

Permanently Installed-Decorative Fountains and Reflection Pools

อินเตอร์ ลอ็ ก

Interlock

อีนาเมล

Enamel

อุปกรณ์

Device

อุปกรณ์สวิตช์

Switching Device

เอทานอล

Ethanol

เอทิล อีเทอร์

Ethyl Ether

เอทิลีน

Ethylene

เอทิลีนออกไซด์

Ethylene Oxide

แอมโมเนีย

Ammonia

แอสคาเรล

Askarel

ฮาร์ มอนิก

Harmonic

เฮกเซน

Hexane

ไฮโดรเจน

Hydrogen

ค-1

ภาคผนวก ค.

ภาคผนวก ค. ระยะห่ างในการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ากับระบบอื่นๆ (ข้ อแนะนํา) ในการติดตั้งระบบไฟฟ้ากับระบบอื่นๆ เช่น ระบบสื่อสาร ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ โดยวิธีการ เดินสายต่างๆ นั้น มีข้อแนะนําดังนี ้ ค.1 ระยะห่ างในการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ากับระบบสื่อสาร ชนิดของการติดตัง้

สายไฟฟ้าที่ไม่มีชีลด์ กับ สายเคเบิลระบบ สารสนเทศที่ไม่มีชีลด์ สายไฟฟ้าที่ไม่มีชีลด์ กับ สายเคเบิลระบบ สารสนเทศที่มีชีลด์1) สายไฟฟ้าที่มีชีลด์ กับ สายเคเบิลระบบ สารสนเทศที่ไม่มีชีลด์ สายไฟฟ้าที่มีชีลด์ กับ สายเคเบิลระบบ สารสนเทศที่มีชีลด์1)

หมายเหตุ

ระยะห่ างตํ่าสุด “A” (มม.) ไม่ มีแผ่ นกัน้ หรือมีแผ่ นกัน้ ที่ไม่ ใช่ โลหะ 200

แผ่ นกัน้ ที่เป็ นอลูมิเนียม

แผ่ นกัน้ ที่เป็ นเหล็ก

100

50

50

20

5

30

10

2

0

0

0

1) สายเคเบิ ลระบบสารสนเทศทีม่ ี ชีลด์ตอ้ งเป็ นไปตามมาตรฐาน EN50288 2) สายเคเบิ ล ระบบสารสนเทศไม่ ค วรติ ด ตั้ง อยู่ ใ กล้ กัน กับ หลอดชนิ ด ปล่ อ ยประจุ (Electric Discharge) (เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็ นต้น) หากจํ าเป็ นต้องติ ดตัง้ ใกล้ A = ความหนาแผ่นกั ้น กันต้องมี ระยะห่างจากกันไม่นอ้ ยกว่า 130 มม. 3) ตัวอย่างการวัดระยะห่าง สายไฟฟ้า สายเคเบิลระบบสารสนเทศ อุปกรณ์จบั ยึดสาย

A = ระยะห่างแผ่นกั ้น

A

A=0

A

ค-2

ภาคผนวก ค.

ค.2 ระยะห่ างในการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ากับระบบสาธารณูปโภคต่ างๆ ระบบสาธารณูปโภคต่ างๆ

ระบบนํ ้า

ระบบนํ ้าเสีย

ระบบก๊ าซธรรมชาติ

ระบบไอนํ ้า เคเบิลโทรศัพท์ เคเบิลทีวี หรื อใยแก้ วนําแสง

หัวก๊ อกนํ ้าดับเพลิงแนวขนาน ขอบถนนแนวขนาน ฐานรากอาคารแนวขนาน เสาคํ ้าคอนกรี ต

บ่อพักนํ ้า แนวขนาน ท่อนํ ้าความดันสูงหลัก แนวตัดกัน ท่อนํ ้าความดันสูงหลัก แนวขนาน ท่อนํ ้าอื่นๆ แนวขนาน บ่อพักนํ ้าเสีย แนวขนาน ท่อนํ ้าเสียหลัก แนวตัดกัน ท่อนํ ้าเสียหลัก แนวขนาน บ่อพักก๊ าซธรรมชาติ แนวขนาน ท่อก๊ าซธรรมชาติความดันสูง แนว ตัดกัน ท่อก๊ าซธรรมชาติความดันสูง แนวขนาน ท่อก๊ าซอื่นๆ แนวขนาน บ่อพักไอนํ ้าหรื อแหล่งความร้ อน ท่อไอนํ ้าความดันสูง บ่อพักเคเบิลโทรศัพท์ เคเบิลทีวี หรื อใยแก้ วนําแสง เคเบิลโทรศัพท์ เคเบิลทีวี หรื อใย แก้ วนําแสง แนวตัดกัน เคเบิลโทรศัพท์ เคเบิลทีวี หรื อใย แก้ วนําแสงแนวขนาน

ระยะห่ างระหว่ างบ่ อพักสายหรือท่ อร้ อยสายเคเบิลใต้ ดินกับระบบสาธารณูปโภคต่ างๆ (เมตร) ท่ อร้ อยสายเคเบิลใต้ ดนิ บ่ อพักสาย 0.91 0.91 0.30 0.30 1.52 1.52 0.91 0.91 0.91 0.91 0.30 0.30 1.52 1.52 0.91 0.91 0.30 0.30 1.52

1.52

0.91 4.57 4.57 0.91

0.91 4.57 4.57 0.91

0.31

-

0.91

0.91

0.15 0.31 1.52 0.91

0.15 0.31 0.91 0.91

ภาคผนวก ง.

ง-1

ภาคผนวก ง. เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ท่ ใี ช้ กับบ้ านอยู่อาศัยและอาคารทั่วไป ตามมาตรฐาน IEC 60898 หรื อ IEC 898 (ข้ อแนะนํา) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60898 นี ้ เหมาะสําหรั บการใช้ งานเพื่อป้องกัน กระแสไฟฟ้าเกินในบ้ านอยู่อาศัยและอาคารทัว่ ไปที่มีแรงดันไฟฟ้าระหว่างสายไม่เกิน 440 โวลต์ ความถี่ 50 หรื อ 60 Hz พิกดั กระแสไม่เกิน 125 A และพิกดั การตัดกระแสลัดวงจรไม่เกิน 25 kA จํานวนขั้วอาจมีได้ ตั้งแต่ 1 ถึง 4 ขั้ว ประเภทการใช้ งานของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (Utilization Category) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60898 สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ตามความ สามารถในการตัดกระแสไฟฟ้าเกินออกทันที (Instantaneous Tripping) ได้ ดงั นี ้ ประเภท B C

D

ช่ วงกระแสไฟฟ้าเกิน การนําไปใช้ งาน ที่มีการตัดทันที > 3 In ถึง 5 In ใช้ สํ า หรั บ วงจรไฟฟ้ าที่ ไ ม่ มี ก ระแสไฟกระโชก(inrush current) หรื อ เสิร์จสวิตชิง (switching surge) ใช้ สํ า หรั บ วงจรไฟฟ้ าทั่ว ไปที่ อ าจมี ก ระแสไฟกระโชก > 5 In ถึง 10 In (inrush current) เช่น ไฟแสงสว่างฟลูออเรสเซนต์, มอเตอร์ เล็กๆ, เครื่ องปรับอากาศ เป็ นต้ น ใช้ สํ า หรั บ วงจรไฟฟ้ าที่ มี ก ระแสไฟกระโชก(inrush > 10 In ถึง 50 In current) สูงเช่น เครื่ องเชื่อม เครื่ องเอกซเรย์ เป็ นต้ น

หมายเหตุ 1) In = พิกดั กระแสใช้งานปกติ 2) ไม่ควรใช้เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ประเภท D กับวงจรทีใ่ ช้ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ าดูด(จะต้อง ระมัดระวังความปลอดภัยเป็ นพิเศษ) 3) ช่วงกระแสไฟฟ้ าเกิ นทีต่ ํ่ากว่าช่วงทีม่ ีการตัดทันที จะใช้เวลาตัดวงจรมากกว่า 0.1 วิ นาที ช่วงกระแสไฟฟ้ าเกิ นทีส่ ูงกว่าช่วงทีม่ ี การตัดทันที จะใช้เวลาตัดวงจรน้อยกว่า 0.1 วิ นาที

พิกัดกระแสใช้ งาน (In) มีขนาดพิกดั ดังนี ้ :- 6 , 8 , 10 , 13 , 16 , 20 , 25 , 32 , 40 , 50 , 63 , 80 , 100 และ 125 A ตัวอย่างการเรี ยกประเภทและพิกดั กระแสใช้ งาน เช่น C16 หมายถึงเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ประเภท C ขนาดพิกดั กระแสใช้ งาน 16 A

ง-2

ภาคผนวก ง.

พิกัดกระแสลัดวงจร (Icn) คือค่าพิกดั การตัดกระแสลัดวงจรสูงสุด (Icu) ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่กําหนดโดยผู้ผลิต มีขนาด ดังนี ้ :- 1.5 , 3.0 , 4.5 , 6.0 , 10.0 , 20.0 , 25.0 kA พิกัดการตัดกระแสลัดวงจรสูงสุด (Icu, Ultimate short-circuit breaking capacity) หมายถึงพิกดั การตัดกระแสลัดวงจรที่ในการทดสอบจะไม่คํานึงถึงว่าจะสามารถรับกระแสใช้ งานปกติได้ อย่างต่อเนื่องภายหลังการทดสอบหรื อไม่ พิกัดการตัดกระแสลัดวงจรใช้ งาน (Ics, Service short-circuit breaking capacity) หมายถึงพิกดั การตัดกระแสลัดวงจรที่ภายหลังการทดสอบ จะต้ องสามารถรับกระแสใช้ งานปกติ ได้ อย่างต่อเนื่องด้ วย ปกติ Ics จะมีคา่ น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ Icu หรื อ Icn เช่น Ics = 0.75 Icn สําหรับเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่มีคา่ Icn : 6 kA < Icn ≤ 10 kA เป็ นต้ น อุณหภูมิใช้ งานและความชืน้ สัมพัทธ์ 1. อุณหภูมิใช้ งานระหว่าง –5 ถึง 40 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ย 24 ชัว่ โมง ไม่เกิน 35 องศาเซลเซียส 2. ความชื ้นสัมพัทธ์ไม่เกิน 50% ถ้ าใช้ ที่อณ ุ หภูมิสงู สุดที่ 40 องศาเซลเซียส แต่สามารถใช้ กบั ความชื ้นสัมพัทธ์ 90% ได้ ถ้าใช้ ที่อณ ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส

ภาคผนวก จ.

จ-1

ภาคผนวก จ. เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60947-2 หรือ IEC 947-2 (ข้ อแนะนํา) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60947-2 นี ้ใช้ สําหรับแรงดันไฟฟ้ าระหว่างสายที่ไม่เกิน 1000 VAC หรื อ 1500 VDC เหมาะสําหรับการใช้ งานโดยผู้มีความรู้ในการติดตั้งหรื อปรับแต่ง ค่าต่างๆ ของตัวเซอร์ กิตเบรกเกอร์ หรื ออุปกรณ์ประกอบของตัวเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตัวอย่างของ การนําไปใช้ งาน เช่น การใช้ งานในโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นต้ น ประเภทการใช้ งานของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (Utilization Category) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60947-2 แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ตามจุดมุ่งหมายในการ ทํางานร่ วมกันกับเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตวั อื่น (selectivity) ที่ตอ่ อนุกรมอยู่ทางด้ านโหลด ในขณะที่ เกิดกระแสลัดวงจรดังนี ้ ประเภท คุณสมบัติ A เป็ นเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ทํางานทันที โดยไม่จงใจให้ มีการหน่วงเวลา (short-time delay) ไม่เหมาะสําหรับการทํางานร่ วมกับอุปกรณ์ ป้องกันลัดวงจรตัวอื่นที่ต่อ อนุกรมอยู่ด้านโหลด ในขณะที่มีกระแสลัดวงจรเกิดขึ ้น ดังนันเซอร์ ้ กิตเบรกเกอร์ ช นิดนี ้จะไม่มีพิกดั กระแสทนช่วงเวลาสัน้ (short-time withstand current, Icw) B เป็ นเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ออกแบบให้ สามารถทํางานร่วมกับอุปกรณ์ป้องกันลัดวงจร ตัวอื่นที่ต่ออนุกรมอยู่ด้านโหลดในขณะที่มีกระแสลัดวงจรเกิดขึ ้น เซอร์ กิตเบรกเก อร์ ชนิดนี ้อาจสามารถปรับตังระยะการหน่ ้ วงเวลาได้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิดนี ้จะมี พิกดั กระแสทนช่วงเวลาสัน้ (short-time withstand current, Icw) ด้ วย หมายเหตุ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิ ด A อาจมี การหน่วงเวลา และสามารถทํางานร่ วมกับอุปกรณ์ ตวั อื ่นได้ในสภาวะที ่นอกเหนื อจากกรณี มีกระแสลัดวงจร (กระแสตํ่ ากว่ากระแสลัดวงจร, พิกดั Icw ตํ่ากว่าทีก่ ําหนดไว้)

ระยะการหน่ วงเวลา (Short-time delay) ปกติจะใช้ คา่ 0.05, 0.1, 0.25, 0.5 หรื อ 1 วินาที

จ-2

ภาคผนวก จ.

พิกัดกระแสทนช่ วงเวลาสัน้ (Short-time withstand current, Icw) หมายถึงค่า rms ที่เป็ นกระแสไฟสลับของกระแสลัดวงจรที่สมมุติให้ มีค่าคงที่ตลอดระยะการ หน่วงเวลา ค่าตํ่าสุดของพิกดั กระแสทนช่วงเวลาสั้นเป็ นดังนี ้ พิกัดกระแสใช้ งาน (In) In≤ 2500 A In>2500 A

ค่ าตํ่าสุดของพิกัดกระแสทนช่ วงเวลาสัน้ (Icw) 12 In หรื อ 5 kA (ใช้ คา่ ที่มากกว่า) 30 kA

พิกัดการตัดกระแสลัดวงจรสูงสุด Icu (Ultimate short-circuit breaking capacity) หมายถึงพิกดั การตัดกระแสลัดวงจรที่ไม่คํานึงถึงความสามารถในการรับกระแสใช้ งานปกติ อย่างต่อเนื่องภายหลังการทดสอบ พิกัดการตัดกระแสลัดวงจรใช้ งาน Ics (Service short-circuit breaking capacity) หมายถึงพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรที่คํานึงถึงความสามารถในการรับกระแสใช้ งานปกติอย่าง ต่อเนื่องภายหลังการทดสอบ โดยปกติจะกําหนดเป็ น % ของ Icu เช่น Ics = 75 % Icu อุณหภูมิใช้ งานและความชืน้ สัมพัทธ์ เช่นเดียวกับ IEC 60898 หมายเหตุ

สําหรับข้อกําหนดทัว่ ไปให้เป็ นไปตามมาตรฐาน EN 60947-1

ภาคผนวก ฉ.

ฉ-1

ภาคผนวก ฉ. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (ข้ อแนะนํา) ฉ.1. รางเดินสายโลหะ (Metal Wireways) ฉ.1.1 รางเดินสายโลหะมีลกั ษณะเป็ นรางทําจากแผ่นโลหะพับมีฝาปิ ด-เปิ ดได้ เพื่อใช้ สําหรับ เดินสายไฟฟ้า อาจจะมีช่องระบายอากาศด้ วยก็ได้ ฉ.1.2 วัสดุที่ใช้ ทํารางเดินสายมี 4 ชนิด คือ ฉ.1.2.1 แผ่นเหล็กผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิม และพ่นสีทบั เช่น แผ่นเหล็กผ่านกรรมวิธีล้าง ทําความสะอาดด้ วยนํ ้ายาล้ างไขมัน และ เคลือบฟอตเฟตด้ วยนํ ้ายา Zinc Phosphate หลังจาก นันจึ ้ งพ่นทับด้ วยสีฝนุ่ (Powder Paint) หรื อใช้ กรรมวิธีอื่นที่เทียบเท่า ฉ.1.2.2 แผ่นเหล็กชุบสังกะสีโดยวิธีทางไฟฟ้า ฉ.1.2.3 แผ่นเหล็กชุบสังกะสีแบบจุ่มร้ อน ฉ.1.2.4 แผ่นเหล็กชุบอะลูซิงก์ (Aluzinc) หมายเหตุ กรณี ทีต่ ิ ดตัง้ ในสถานทีเ่ ปี ยกหรื อชืน้ ให้ใช้วสั ดุตามข้อ ฉ.1.2.3 หรื อ ฉ.1.2.4

ฉ.1.3 ฉ.1.4

ความยาวแนะนําในการผลิตของรางเดินสายมีขนาด 2.4 หรื อ 3.0 เมตร ขนาดรางเดินสายโลหะที่แนะนําในการผลิตมีขนาดตามตารางที่ ฉ.1-1 ตารางที่ ฉ.1-1 ขนาดรางเดินสายโลหะที่แนะนําในการผลิต ขนาดความสูงxกว้ าง (มม.) ความหนาตํ่าสุด (มม.) 50 x 50 1.00 50 x 100 1.00 100 x 100 1.20 100 x 150 1.20 100 x 200 หรื อ 150 x 200 1.60 100 x 300 หรื อ 150 x 300 1.60

ฉ-2

ภาคผนวก ฉ.

ฉ.2 รางเคเบิล (Cable Trays) ฉ.2.1 รางเคเบิลแบบด้ านล่างทึบและแบบระบายอากาศ ฉ.2.2 รางเคเบิลมีลกั ษณะเป็ นรางเปิ ด แผ่นเหล็กพื ้น พับเป็ นลูกฟูก ฉ.2.2.1 วัสดุที่ใช้ ทํารางเคเบิลมี 4 ชนิด คือ ฉ.2.2.1.1 แผ่นเหล็กผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิม และพ่นสีทบั เช่น แผ่นเหล็กผ่านกรรมวิธี ล้ างทําความสะอาดด้ วยนํา้ ยาล้ างไขมัน และเคลือบฟอตเฟตด้ วยนํ ้ายา Zinc Phosphate หลังจากนันจึ ้ งพ่นทับด้ วยสีฝนุ่ (Powder Paint) หรื อใช้ กรรมวิธีอื่นที่เทียบเท่า ฉ.2.2.1.2 แผ่นเหล็กชุบสังกะสีโดยวิธีทางไฟฟ้า ฉ.2.2.1.3 แผ่นเหล็กชุบสังกะสีแบบจุ่มร้ อน ฉ.2.2.1.4 แผ่นเหล็กชุบอะลูซิงก์ (Aluzinc) หมายเหตุ กรณี ทีต่ ิ ดตัง้ ภายนอกอาคารหรื อสถานทีเ่ ปี ยกหรื อชืน้ ให้ใช้วสั ดุตามข้อ ฉ.2.2.1.3

ฉ.2.3 ความยาวแนะนําในการผลิตของรางเคเบิลมีขนาด 2.4 หรื อ 3.0 เมตร และความสูง ขนาด 150 มม. ฉ.3 รางเคเบิลแบบบันได (Cable Ladders) ฉ.3.1 รางเคเบิลแบบบันไดมีลกั ษณะเป็ นรางเปิ ด โดยมีบนั ได (Rung) ขอบมนไม่คมทุกๆ ระยะ 30 ซ.ม. หรื อน้ อยกว่า ฉ.3.2 วัสดุที่ใช้ ทํารางเคเบิลเป็ นแผ่นเหล็กชุบสังกะสีแบบจุ่มร้ อน (Hot Dip Galvanized) ฉ.3.3 ความยาวแนะนําในการผลิตของรางเคเบิลแบบบันไดมีขนาด 2.40 หรื อ 3.0 เมตร และความสูงรางมีขนาด 100 หรื อ 150 มม. ฉ.3.4 ขนาดรางเคเบิลแบบบันไดที่แนะนําในการผลิตมีขนาดตามตารางที่ ฉ.3-1 ตารางที่ ฉ.3-1 ขนาดของรางเคเบิลแบบบันไดที่แนะนําในการผลิต ขนาดความสูง x กว้ าง (มม.) ความแข็งแรงของรางเคเบิล ขนาดความสูงแนะนํา 100 หรื อ 150 มม. การขึ ้นรูปของแผ่นเหล็กทํารางเคเบิลแบบบันได ขนาดความกว้ างแนะนํา 150, 300, 450, 600, 750, 900 มม. ต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอ

ภาคผนวก ช.

ช-1

ภาคผนวก ช. ประเภทของเครื่องใช้ ไฟฟ้าที่เกี่ยวกับการป้องกันไฟดูด (IEC 60536) (ข้ อแนะนํา) ฉนวนมูลฐาน (Basic Insulation) ฉนวนที่จําเป็ นอันดับแรกสําหรับหุ้มส่วนที่มีไฟ เพื่อการป้องกันไฟฟ้าดูด ฉนวนเพิ่มเติม (Supplementary Insulation) ฉนวนที่แยกโดยอิสระเพิ่มเติมจากฉนวนมูลฐาน เพื่อให้ ยงั คงสามารถป้องกันไฟฟ้าดูด ในกรณีที่ ฉนวนมูลฐานเกิดชํารุดขึ ้นมา ฉนวนสองชัน้ (Double Insulation) ฉนวนที่ประกอบด้ วยฉนวนมูลฐานและฉนวนเพิ่มเติม ฉนวนเสริม (Reinforced Insulation) ฉนวนเนื ้อเดียวหรื อฉนวนหลายๆ ชั้น ที่สามารถป้องกันไฟฟ้าดูดได้ เทียบเท่ากับฉนวนสองชั ้น เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประเภท O

เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่มีเพียงฉนวนมูลฐาน และไม่สามารถที่จะต่อสายดิน เข้ ากับส่วนของเปลือกที่เป็ นโลหะได้ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประเภท OI เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่มีฉนวนมูลฐานเป็ นอย่างน้ อยและมีขวสํ ั ้ าหรับการต่อ สายดินที่เปลือกโลหะไว้ แล้ ว (สัญลักษณ์ ) แต่ใช้ สายไฟฟ้า และเต้ าเสียบ ที่ไม่มีสายดิน เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประเภท I เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่นอกเหนือจากมีฉนวนมูลฐานแล้ วยังมีการป้องกัน ไฟฟ้าดูดด้ วยการต่อสายดินจากส่วนที่เป็ นเปลือกโลหะให้ ลงดินเข้ า กับสายดินของการติดตังทางไฟฟ ้ ้า เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประเภท II เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ใช้ ฉนวนสองชัน้ หรื อฉนวนเสริ ม โดยไม่ต้องมีการ ต่อสายดิน เครื่ องใช้ ประเภทนี ้มักใช้ สญ ั ลักษณ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประเภท III เครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ าที่ ใ ช้ แรงดัน ไฟฟ้ าตํ่ า พิ เ ศษขั น้ ปลอดภั ย (Safety Extra-Low Voltage, SELV) ซึง่ มีแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับไม่เกิน 50 โวลต์ โดยจะต้ องจ่ า ยผ่ า นหม้ อแปลงนิ ร ภั ย ชนิ ด แยกขดลวด เครื่ องใช้ ประเภทนี ้ไม่ต้องมีสายดิน สัญลักษณ์ที่มกั ใช้ คือ

ภาคผนวก ซ.

ภาคผนวก ซ. ตารางเปรียบเทียบระหว่ าง NEMA EnclosureType และ IP Class Protection (IEC Standard) (ข้ อแนะนํา) NEMA Enclosure Type Number 1 2 3 3R 3S 4 and 4X 5 6 and 6P 12 and 12K 13

IEC Enclosure Classification Designation IP10 IP11 IP54 IP14 IP54 IP56 IP52 IP67 IP52 IP54

หมายเหตุ ตารางนีเ้ ป็ นการเปลี ย่ นเครื ่องห่อหุ้มจาก NEMA Design เป็ น IP Class Protection ตามการแบ่งกลุ่มของ IEC เท่านัน้ ไม่สามารถใช้เปลี ย่ นจาก IP Class Protection มาเป็ น NEMA Enclosure Type Number ได้

ซ-1

ภาคผนวก ฌ.

ฌ-1

ภาคผนวก ฌ. ดีมานด์ แฟกเตอร์ สาํ หรั บเครื่องปรับอากาศแบบส่ วนกลาง (Central) และโหลดของเครื่ องปรั บอากาศแต่ ละชนิด (ข้ อแนะนํา) ตารางที่ ฌ.1 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สาํ หรั บเครื่ องปรั บอากาศแบบส่ วนกลาง (Central) ดีมานด์ แฟกเตอร์ รายละเอียด ขนาดของโหลด ร้ อยละ 100 เครื่ องทําความเย็น (Chiller) โหลดสูงสุดของเครื่ องแรก เครื่ องที่เหลือถัดไป ร้ อยละ 80 เครื่ องเป่ าลมเย็น (Fancoil or AHU) 1-10 เครื่ องแรกของโหลดสูงสุดตามลําดับ ร้ อยละ 100 ร้ อยละ 80 เครื่ องที่เหลือถัดไป

1. 2. 3. 4.

ตารางที่ ฌ.2 แสดงโหลดของเครื่ องปรั บอากาศแต่ ละชนิด ประเภทของเครื่องปรั บอากาศ โหลดเครื่ องปรับอากาศแต่ ละชนิด (kW/ตัน) เครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type) 1.50 1.40 เครื่ องปรับอากาศแพคเกจระบายความร้ อนด้ วยอากาศ (Package Air Cooled) 1.00 เครื่ องปรับอากาศแพคเกจระบายความร้ อนด้ วยนํ ้า (Package Water Cooled) เครื่ องทํานํ ้าเย็นระบายความร้ อนด้ วยนํ ้า (Water Cooled Chiller) 4.1. Reciprocating Type ไม่เกิน 50 ตัน 1.00 มากกว่า 50 ตัน 0.95 4.2. Screw Type 0.75 4.3. Centrifugal Type ไม่เกิน 250 ตัน 0.75 มากกว่า 250 ตัน แต่ไม่เกิน 500 ตัน 0.70 มากกว่า 500 ตัน 0.67

ฌ-2

ภาคผนวก ฌ.

ตารางที่ ฌ.2 แสดงโหลดของเครื่ องปรั บอากาศแต่ ละชนิด (ต่ อ) โหลดเครื่ องปรับอากาศแต่ ละชนิด (kW/ตัน) ประเภทของเครื่ องปรั บอากาศ 5. เครื่ องทํานํ ้าเย็นระบายความร้ อนด้ วยอากาศ (Air Cooled Chiller) 5.1. Reciprocating Type 1.40 ไม่เกิน 50 ตัน 1.30 มากกว่า 50 ตัน 5.2. Screw Type หรื อ Centrifugal Type 1.40 ไม่เกิน 250 ตัน 1.20 มากกว่า 250 ตัน 6. Chilled Water Pump 0.04 Pump Head ไม่เกิน 50 ฟุตนํ ้า 0.08 Pump Head ระหว่าง 60-100 ฟุตนํ ้า 0.11 Pump Head ระหว่าง 110-150 ฟุตนํ ้า 7. Condenser Water Pump Pump Head ไม่เกิน 50 ฟุตนํ ้า 0.05 Pump Head ระหว่าง 60-100 ฟุตนํ ้า 0.10 Pump Head ระหว่าง 110-150 ฟุตนํ ้า 0.14 8. Fan Coil Unit 0.03 9. Air Handling Unit 0.15 10. Cooling Tower 0.03 หมายเหตุ ความเย็น 1 ตัน = 12,000 บี ทียู/ชัว่ โมง

ภาคผนวก ญ.

ญ-1

ภาคผนวก ญ. วิธีการหาขนาดสายดินของวงจรย่ อย (ข้ อแนะนํา) วิธีการหาขนาดสายดินของวงจรย่อยจะใช้ หลักการการหาค่า Earth fault loop impedance ของวงจร ย่อยที่พิจารณา ถ้ าค่า Earth fault loop impedance ของวงจรย่อยอยูใ่ นเกณฑ์ที่ทําให้ เซอร์ กิต เบรกเกอร์ ของวงจรย่อยนันทํ ้ างานภายในเวลาที่กําหนดก็แสดงว่าขนาดสายดินของ วงจรย่อยมี ความเหมาะสม ค่ า Earth fault loop impedance คือ ค่าอิมพีแดนซ์ของหม้ อแปลงจําหน่ายและสายเฟสไปถึง ณ จุดที่เกิดฟอลต์ รวมทั้งอิมพีแดนซ์ของสายดินที่กระแสฟอลต์ไหลกลับมาที่หม้ อแปลง ค่ า Maximum earth fault loop impedance คือ ค่าอิมพีแดนซ์สงู สุดของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ยงั คงทําให้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ทํางานได้ ภายในเวลาที่กําหนด ค่า Earth fault loop impedance ของวงจรมีความสําคัญในการเลือกขนาดของสาย-ดิน เพื่อให้ การทํางานของอุปกรณ์ป้องกันทํางานตามเวลาที่กําหนดคือ 0.1 วินาที ถึง 5 วินาที โดยที่กระแส ทํางานเป็ น 4.5 เท่าของขนาดเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60947-2 (Type B), กระแสทํางานเป็ น 5 เท่าของขนาดเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60898 (Type B) และ กระแสทํางานเป็ น 10 เท่าของขนาดเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ตามมาตรฐาน IEC 60898 และ IEC 60947-2 (Type C) ญ.1 วิธีการหา Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ แต่ ละขนาด ในการพิจารณาขนาดของสายดินจําเป็ นที่จะต้ องหาค่า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แต่ละขนาด จากนั้นก็จะทําการหาค่า Earth fault loop impedance ของวงจรที่มีการพิจารณาขนาดสายดิน สําหรับสมการในการหาค่า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แต่ละขนาดเป็ นดังนี ้ Zs = Uo/Ia โดยที่

Zs คือ Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ Uo คือ แรงดันของวงจรที่หม้ อแปลงจําหน่าย Ia คือ กระแสทํางานของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ภายในเวลาที่กําหนด (0.1 วินาที - 5 วินาที)

ค่า ของ Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ ไ ด้ แ สดงไว้ ใ น

ญ-2

ภาคผนวก ญ.

ตารางที่ ญ.1 ถึง ตารางที่ ญ.4 ตารางที่ ญ.1 แสดงค่ า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (IEC 60898 Type B) กระแสทํางานของ Maximum earth fault loop impedance ขนาดของ ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (โอห์ ม) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) 10 50 4.600 15 75 3.067 20 100 2.300 30 150 1.533 40 200 1.150 50 250 0.920 60 300 0.767 70 350 0.657 ตารางที่ ญ.2 แสดงค่ า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (IEC 60898 Type C) กระแสทํางานของ Maximum earth fault loop impedance ขนาดของ ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (โอห์ ม) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) 10 100 2.300 15 150 1.533 20 200 1.150 30 300 0.767 40 400 0.575 50 500 0.460 60 600 0.383 70 700 0.329

ภาคผนวก ญ.

ญ-3

ตารางที่ ญ.3 แสดงค่ า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (IEC 60947-2 Type B) กระแสทํางานของ Maximum earth fault loop impedance ขนาดของ ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (โอห์ ม) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) 10 45 5.111 15 67.5 3.407 20 90 2.556 30 135 1.704 40 180 1.278 50 225 1.022 60 270 0.852 70 315 0.730 ตารางที่ ญ.4 แสดงค่ า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ (IEC 60947-2 Type C) กระแสทํางานของ Maximum earth fault loop impedance ขนาดของ ของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ (โอห์ ม) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) 10 100 2.300 15 150 1.533 20 200 1.150 30 300 0.767 40 400 0.575 50 500 0.460 60 600 0.383 70 700 0.329

ญ.2 วิธีการหา Earth fault loop impedance ของวงจร การหา Earth fault loop impedance ของวงจรสําหรับเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แต่ละขนาดนั้น เพื่อ นําไปเปรี ยบเทียบกับค่า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กิต-เบรกเกอร์ ซี่งค่า ดังกล่าวได้ แสดงไว้ ในตารางที่ ญ.1 ถึง ตารางที่ ญ.4 ในกรณีที่คา่ Earth fault loop impedance

ญ-4

ภาคผนวก ญ.

ของวงจรสําหรับเซอร์ กิตเบรกเกอร์ น้อยกว่าค่า Maximum earth fault loop impedance ของ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แสดงว่าการเลือกขนาดของสาย-ดินมีความเหมาะสม แบบจําลองในการหาค่า Earth fault loop impedance ของวงจรสําหรับเซอร์ กิตเบรก-เกอร์ แต่ ละขนาดจะมีการพิจารณาอิมพีแดนซ์รวมของสายลําดับที่ ญ.2.1 ถึง ญ.2.4 ตามแบบจําลองดังนี ้ ญ.2.1 อิมพีแดนซ์ ของสายจําหน่ ายแรงตํ่า (คิดความยาวสายตัง้ แต่ 100-1000 เมตร) ค่าอิมพีแดนซ์ที่ใช้ ในการหา Earth fault loop impedance ของสายจําหน่ายแรงตํ่ามีดงั นี ้ สายอะลูมิเนียม สายอะลูมิเนียม สายอะลูมิเนียม สายอะลูมิเนียม

50 95 120 185

ตร.มม. ตร.มม. ตร.มม. ตร.มม.

ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ

0.616+j0.379 โอห์ม/ก.ม. 0.328+j0.356 โอห์ม/ก.ม. 0.256+j0.349 โอห์ม/ก.ม. 0.169+j0.334 โอห์ม/ก.ม.

ญ.2.2 อิมพีแดนซ์ ของสายเข้ ามิเตอร์ (คิดความยาวสายคงที่คือ 6 เมตร) ค่าอิมพีแดนซ์ที่ใช้ ในการหา Earth fault loop impedance ของสายเข้ ามิเตอร์ มีดงั นี ้ สายทองแดง สายทองแดง สายทองแดง

6 10 35

ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 3.316+j0.325 โอห์ม/ก.ม. ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 1.970+j0.309 โอห์ม/ก.ม. ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 0.565+j0.266 โอห์ม/ก.ม.

ญ.2.3 อิมพีแดนซ์ ของสายออกจากมิเตอร์ (คิดความยาวสายคงที่คือ 25 เมตร) ค่าอิมพีแดนซ์ที่ใช้ ในการหา Earth fault loop impedance ของสายออกจากมิเตอร์ มีดงั นี ้ สายทองแดง สายทองแดง สายทองแดง

ญ.2.4

4 10 35

ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 4.963+j0.341 โอห์ม/ก.ม. ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 1.970+j0.309 โอห์ม/ก.ม. ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 0.565+j0.266 โอห์ม/ก.ม.

อิมพีแดนซ์ ของสายวงจรย่ อย (คิดความยาวสายคงที่คือ 30 เมตร)

ค่าอิมพีแดนซ์ที่ใช้ ในการหา Earth fault loop impedance ของสายวงจรย่อยมีดงั นี ้ สายทองแดง 1.5 ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 13.027+j0.149 สายทองแดง 2.5 ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 7.978+j0.138 สายทองแดง 4 ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 4.963+j0.134 สายทองแดง 6 ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 3.316+j0.128 สายทองแดง 10 ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 1.970+j0.125 สายทองแดง 16 ตร.มม. ค่าอิมพีแดนซ์เท่ากับ 1.238+j0.119

โอห์ม/ก.ม. โอห์ม/ก.ม. โอห์ม/ก.ม. โอห์ม/ก.ม. โอห์ม/ก.ม. โอห์ม/ก.ม.

สําหรับแบบจําลองในการพิจารณาหาค่า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีที่ ทราบค่าความต้ านทานของสาย (คิดที่อณ ุ หภูมิแวดล้ อม 40 องศาเซลเซียส) และรี แอกแตนซ์ของ

ญ-5

ภาคผนวก ญ.

สาย สามารถที่จะหาค่า Earth fault loop impedance ของวงจรได้ ซึง่ จะยกตัวอย่างในการหา ค่า Earth fault loop impedance ของวงจร ดังนี ้ ตัวอย่ างการคํานวณหาค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 15 A ที่ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า 100 เมตร ขนาดสาย ค่ าอิมพีแดนซ์ ความยาว ค่ าอิมพีแดนซ์ ชนิดสาย (ตร.มม) (โอห์ ม/ก.ม.) (ก.ม.) (โอห์ ม) 1) สายจําหน่ายแรงตํ่า (AL) 50 0.616+j0.379 2x0.100 0.144650890 สายเข้ ามิเตอร์ (CU) 6 3.316+j0.325 2x0.0061) 0.039982662 สายออกจากมิเตอร์ (CU) 4 4.963+j0.341 2x0.0251) 0.248735050 2) สายเฟสวงจรย่อย (CU) 2.5 7.978+j0.138 1x0.030 0.239375803 2) สายดินวงจรย่อย (CU) 1.5 13.027+j0.149 1x0.030 0.390835563 ค่า Earth fault loop impedance ของวงจร

1.063579968

หมายเหตุ 1) คิ ดระยะสายเฟสและนิ วทรัล 2) คิ ดระยะเฉพาะสายเฟสหรื อสายดิ น

ค่าของ Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีที่ใช้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แต่ละขนาด ได้ แสดง ไว้ ในตารางที่ ญ.6 ถึง ตารางที่ ญ.11 ซึง่ ในหมายเหตุจะระบุคา่ Zs(critical) เพื่อตรวจสอบว่าขนาด ของสายดินมี ความเหมาะสมหรื อไม่ สําหรั บขนาดสายเมนและความยาวสายจํ าหน่ายแรงตํ่า แตกต่างกัน ในการพิจารณาว่าค่า Earth fault loop impedance ของวงจรว่ามีคา่ น้ อยเพียงพอที่จะทําให้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ ทํางานนั ้น จะพิจารณาเฉพาะเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ชนิดที่มีการใช้ งานกันมาก คือ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ Type C ซึง่ ค่า Maximum earth fault loop impedance ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ Type C มีคา่ ตํ่ากว่าของ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ Type B ถ้ าในกรณีที่คา่ Earth fault loop impedance ของ วงจรทําให้ เซอร์ กิตเบรกเกอร์ Type C ทํางานได้ แสดง ว่าเซอร์ กิตเบรกเกอร์ Type B ก็จะทํางานได้ เสมอเช่นกัน

ญ-6

ภาคผนวก ญ.

ตารางที่ ญ.6 แสดงค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 15 A ขนาดสาย จําหน่ ายแรงตํ่า (ตร.มม.) 50 95 120 185

100 1.0636 1.0157 1.0055 0.9938

200 1.2082 1.1126 1.0921 1.0687

ค่ า Earth fault loop impedance (Ohm) ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า (เมตร) 300 400 500 600 700 800 1.3529 1.4975 1.6422 1.7868 1.9315 2.0761 1.2094 1.3062 1.4030 1.4998 1.5966 1.6934 1.1786 1.2652 1.3518 1.4383 1.5249 1.6114 1.1435 1.2184 1.2933 1.3681 1.4430 1.5178

900 2.2208 1.7902 1.6980 1.5927

1000 2.3654 1.8871 1.7846 1.6676

หมายเหตุ Zs(critical) = 1.533 โอห์ม สายเข้ามิ เตอร์ ขนาด 6 ตร.มม ยาว 6 เมตร, สายออกจากมิ เตอร์ ขนาด 4 ตร.มม ยาว 25 เมตร ,สายเฟสวงจรย่อยขนาด 2.5 ตร.มม และสายดิ นวงจรย่อยขนาด 1.5 ตร.มม ยาว 30 เมตร ตารางที่ ญ.7 แสดงค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 20 A ขนาดสาย จําหน่ ายแรงตํ่า (ตร.มม.) 50 95 120 185

100 0.6558 0.6080 0.5977 0.5860

200 0.8004 0.7048 0.6843 0.6609

ค่ า Earth fault loop impedance (Ohm) ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า (เมตร) 300 400 500 600 700 800 0.9451 1.0897 1.2344 1.3790 1.5237 1.6684 0.8016 0.8984 0.9952 1.0920 1.1888 1.2856 0.7708 0.8574 0.9440 1.0305 1.1171 1.2037 0.7357 0.8106 0.8850 0.9603 1.0352 1.1101

900 1.8130 1.3825 1.2902 1.1849

1000 1.9577 1.4793 1.3768 1.2598

หมายเหตุ Zs(critical) = 1.150 โอห์ม สายเข้ามิ เตอร์ ขนาด 10 ตร.มม ยาว 6 เมตร, สายออกจากมิ เตอร์ ขนาด 10 ตร.มม ยาว 25 เมตร, สายเฟสวงจรย่อยขนาด 4 ตร.มม และสายดิ นวงจรย่อยขนาด 2.5 ตร.มม ยาว 30 เมตร ตารางที่ ญ.8 แสดงค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 30 A ขนาดสาย จําหน่ ายแรงตํ่า (ตร.มม.) 50 95 120 185

100 0.5160 0.4681 0.4579 0.4462

200 0.6606 0.5649 0.5445 0.5211

ค่ า Earth fault loop impedance (Ohm) ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า (เมตร) 300 400 500 600 700 800 0.8053 0.9499 1.0946 1.2392 1.3839 1.5285 0.6618 0.7586 0.8554 0.9522 1.0490 1.1458 0.6310 0.7176 0.8041 0.8907 0.9773 1.0638 0.5959 0.6708 0.7456 0.8205 0.8954 0.9702

900 1.6732 1.2426 1.1504 1.0451

1000 1.8178 1.3395 1.2370 1.1200

หมายเหตุ Zs(critical) = 0.767 โอห์ม สายเข้ามิ เตอร์ ขนาด 10 ตร.มม ยาว 6 เมตร, สายออกจากมิ เตอร์ ขนาด 10 ตร.มม ยาว 25 เมตร, สายเฟสวงจรย่อยขนาด 6 ตร.มม และสายดิ นวงจรย่อยขนาด 4 ตร.มม ยาว 30 เมตร

ญ-7

ภาคผนวก ญ.

ตารางที่ ญ.9 แสดงค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 40 A ขนาดสาย จําหน่ ายแรงตํ่า (ตร.มม.) 50 95 120 185

100 0.3915 0.3437 0.3334 0.3217

200 0.5362 0.4405 0.4200 0.3966

ค่ า Earth fault loop impedance (Ohm) ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า (เมตร) 300 400 500 600 700 800 0.6808 0.8255 1.9701 1.1148 1.2594 1.4041 0.5373 0.6341 0.7309 0.8278 0.9246 1.0214 0.5066 0.5931 0.6797 0.7663 0.8528 1.9394 0.4715 0.5463 0.6212 0.6961 0.7709 0.8458

900 1.5487 1.1182 1.0260 0.9207

1000 1.6934 1.2150 1.1125 0.9955

หมายเหตุ Zs(critical) = 0.575 โอห์ม สายเข้ามิ เตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 6 เมตร, สายออกจากมิ เตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 25 เมตร, สายเฟสวงจรย่อยขนาด 10 ตร.มม และสายดิ นวงจรย่อยขนาด 4 ตร.มม ยาว 30 เมตร ตารางที่ ญ.10 แสดงค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 50 A ขนาดสาย จําหน่ ายแรงตํ่า (ตร.มม.) 50 95 120 185

100 0.3202 0.2724 0.2621 0.2504

200 0.4649 0.3692 0.3487 0.3253

ค่ า Earth fault loop impedance (Ohm) ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า (เมตร) 300 400 500 600 700 800 0.6095 0.7542 0.8988 1.0435 1.1881 1.3328 0.4660 0.5628 0.6596 0.7565 0.8533 0.9501 0.4353 0.5218 0.6084 0.6950 0.7815 0.8681 0.4002 0.4750 0.5499 0.6248 0.6996 0.7745

900 1.4774 1.0469 0.9547 0.8494

1000 1.6221 1.1437 1.0412 0.9242

หมายเหตุ Zs(critical) = 0.460 โอห์ม สายเข้ ามิเตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 6 เมตร, สายออกจากมิเตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 25 เมตร, สายเฟสวงจรย่อยขนาด 16 ตร.มม และสายดินวงจรย่อยขนาด 6 ตร.มม ยาว 30 เมตร ตารางที่ ญ.11 แสดงค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 60 A ขนาดสาย จําหน่ ายแรงตํ่า (ตร.มม.) 50 95 120 185

100 0.3202 0.2724 0.2621 0.2504

200 0.4649 0.3692 0.3487 0.3253

ค่ า Earth fault loop impedance (Ohm) ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า (เมตร) 300 400 500 600 700 800 0.6095 0.7542 0.8988 1.0435 1.1881 1.3328 0.4660 0.5628 0.6596 0.7565 0.8533 0.9501 0.4353 0.5218 0.6084 0.6950 0.7815 0.8681 0.4002 0.4750 0.5499 0.6248 0.6996 0.7745

900 1.4774 1.0469 0.9547 0.8494

1000 1.6221 1.1437 1.0412 0.9242

หมายเหตุ Zs(critical) = 0.383 โอห์ม สายเข้ามิ เตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 6 เมตร, สายออกจากมิ เตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 25 เมตร, สายเฟสวงจรย่อยขนาด 16 ตร.มม และสายดิ นวงจรย่อยขนาด 6 ตร.มม ยาว 30 เมตร

ญ-8

ภาคผนวก ญ.

ตารางที่ ญ.12 แสดงค่ า Earth fault loop impedance ของวงจร ในกรณีท่ ใี ช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ 70 A ขนาดสาย จําหน่ ายแรงตํ่า (ตร.มม.) 50 95 120 185

100 0.3202 0.2724 0.2621 0.2504

200 0.4649 0.3692 0.3487 0.3253

ค่ า Earth fault loop impedance (Ohm) ความยาวสายจําหน่ ายแรงตํ่า (เมตร) 300 400 500 600 700 800 0.6095 0.7542 0.8988 1.0435 1.1881 1.3328 0.4660 0.5628 0.6596 0.7565 0.8533 0.9501 0.4353 0.5218 0.6084 0.6950 0.7815 0.8681 0.4002 0.4750 0.5499 0.6248 0.6996 0.7745

900 1.4774 1.0469 0.9547 0.8494

1000 1.6221 1.1437 1.0412 0.9242

หมายเหตุ Zs(critical) = 0.329 โอห์ม สายเข้ามิ เตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 6 เมตร, สายออกจากมิ เตอร์ ขนาด 35 ตร.มม ยาว 25 เมตร, สายเฟสวงจรย่อยขนาด 16 ตร.มม และสายดิ นวงจรย่อยขนาด 6 ตร.มม ยาว 30 เมตร

ค่า Earth fault loop impedance ของวงจรในตารางที่ ญ.6 ถึง ตารางที่ ญ.12 ถ้ าอยู่ในบริ เวณที่ แรเงาก็ให้ ใช้ ขนาดของสายดินตามตารางที่ 4-2 แต่ถ้าหากว่าอยู่นอกบริ เวณที่แรเงา ให้ ใช้ “ ขนาดของสายดินเท่ ากับขนาดของสายเฟส”

ฎ-1

ภาคผนวก ฎ.

ภาคผนวก ฎ. จํานวนสูงสุดของสายไฟฟ้าขนาดเดียวกันในท่ อร้ อยสาย (ข้ อแนะนํา) จํานวนสูงสุดของสายไฟฟ้าขนาดเดียวกัน มอก.11-2553 รหัสชนิด 60227 IEC 01 ที่ให้ ใช้ ในท่ อโลหะตาม มอก.770-2533 ขนาดสายไฟ ( mm2 )

จํานวนสายสูงสุดของสายไฟฟ้าตารางที่ 4 ในท่ อร้ อยสาย

1.5

8

14

22

37

-

-

-

-

-

-

-

-

2.5

5

10

15

25

39

-

-

-

-

-

-

-

4

4

7

11

19

30

-

-

-

-

-

-

-

6

3

5

9

15

23

37

-

-

-

-

-

-

10

1

3

5

9

14

22

37

-

-

-

-

-

16

1

2

4

6

10

16

27

42

-

-

-

-

25

1

1

2

4

6

10

17

27

34

-

-

-

35

1

1

1

3

5

8

14

21

27

33

-

-

50

-

1

1

1

3

6

10

15

19

24

38

-

70

-

-

1

1

3

4

7

12

15

18

29

42

95

-

-

1

1

1

3

5

8

11

13

21

30

120

-

-

-

1

1

2

4

7

9

11

17

25

150

-

-

-

1

1

1

3

5

7

9

14

20

185

-

-

-

1

1

1

3

4

6

7

11

16

240

-

-

-

-

1

1

1

3

4

5

8

12

300

-

-

-

-

-

1

1

2

3

4

7

10

400

-

-

-

-

-

1

1

1

2

3

5

8

เส้ นผ่าน ศูนย์กลางของ ท่อร้ อยสาย

15

20

25

32

40

50

65

80

90

100

125 150

ฎ-2

ภาคผนวก ฎ. จํานวนสูงสุดของสายไฟฟ้าขนาดเดียวกัน มอก.11-2553 รหัสชนิด NYY แกนเดี่ยว ที่ให้ ใช้ ในท่ อโลหะตาม มอก.770-2533

พืน้ ที่หน้ าตัดของสายไฟฟ้า (ตารางมิลลิเมตร)

จํานวนสูงสุดของสายไฟฟ้าขนาดเดียวกันในท่ อร้ อยสาย

1

1

1

3

5

8

12

21

33

-

-

-

-

1.5

1

1

2

4

7

11

19

30

-

-

-

-

2.5

1

1

2

4

7

10

17

26

33

-

-

-

4

1

1

1

3

6

9

15

23

29

36

-

-

6

-

1

1

3

5

8

13

21

26

33

-

-

10

-

1

1

2

4

6

11

17

22

27

-

-

16

-

1

1

1

3

5

10

15

19

23

36

-

25

-

1

1

1

3

4

8

12

15

19

29

-

35

-

-

1

1

1

3

6

10

12

15

24

35

50

-

-

1

1

1

3

5

8

11

13

21

31

70

-

-

-

1

1

2

4

7

8

11

17

24

95

-

-

-

1

1

1

3

5

7

8

13

19

120

-

-

-

1

1

1

3

4

6

7

11

17

150

-

-

-

-

1

1

1

3

4

5

9

13

185

-

-

-

-

1

1

1

3

4

5

7

11

240

-

-

-

-

-

1

1

2

3

4

6

9

300

-

-

-

-

-

1

1

1

2

3

5

7

400

-

-

-

-

-

-

1

1

1

2

4

6

500

-

-

-

-

-

-

1

1

1

1

3

4

เส้ นผ่ านศูนย์ กลางของ ท่ อร้ อยสาย (มม.)

15

20

25

32

40

50

65

80

90 100 125 150

ภาคผนวก ฏ.

ฏ-1

ภาคผนวก ฏ. Utilization Categories for Contactors and Motor-starters (ข้ อแนะนํา) 60947-4-1 © IEC Kind of current A.C.

TABLE I Utilization Categories for Contactors and Motor-starters

Utilization categories AC-1 AC-2 AC-3 AC-4 AC-5a AC-5b AC-6a AC-6b AC-7a3) AC-7b3) AC-8a AC-8b

D.C.

DC-1 DC-3 DC-5 DC-6

1)

2) 3)

Typical applications Non-inductive or slightly inductive loads, resistance furnaces Slip-ring motors: starting, switching off Squirrel-cage motors : starting, switching off motors during running1) Squirrel-cage motors : starting, plugging, inching Switching of electric discharge lamp controls Switching of incandescent lamps Switching of transformers Switching of capacitor banks Slightly inductive loads in household appliances and similar applications Motor-loads for household applications Hermetic refrigerant compressor motor2) control with manual resetting of overload releases Hermetic refrigerant compressor motor2) control with automatic resetting of overload releases Non-inductive or slightly inductive loads, resistance furnaces Shunt-motors : starting, plugging, inching Dynamic breaking of d.c. motors Series-motors : starting, plugging, inching Dynamic breaking of d.c. motors Switching of incandescent lamps

AC-3 category may be used for occasional inching (jogging) or plugging for limited time periods such as machine setup; during such limited time periods the number of such operations should not exceed five per minute or than ten in a 10-min period. Hermetic refrigerant compressor motor is a combination consisting of a compressor and a motor, both of which are enclose in the same housing, with no external shaft or shaft seals, the motor operating in the refrigerant. For AC-7a and AC-7b, see IEC 61095

ฐ-1

ภาคผนวก ฐ.

ภาคผนวก ฐ. แรงดันตก (ข้ อแนะนํา) แรงดันตกคือแรงดันไฟฟ้าที่สญ ู เสียไปในสายไฟฟ้าระหว่างทางที่กระแสไหล การหาค่าแรงดัน ตกจึงเป็ นการหาแรงดันไฟฟ้าที่ปลายทางเทียบกับต้ นทาง เขียนเป็ นวงจรสมมูลและเฟสเซอร์ ไดอะแกรมได้ ดงั นี ้ I

R

ES

XL EL

ES

Load

IZ

EL

θ

IR I

วงจรสมมูล 1 เฟส

เฟสเซอร์ ไดอะแกรม

เขียนเป็ นสมการได้ ดงั นี ้ ES = EL+I∠- θ (R + j XL) = EL + I( Cosθ - j Sinθ) ( R + j XL) = EL + I( R Cosθ+ XL Sinθ - j R Sinθ + j XLCosθ) = (EL+ I⋅R Cosθ + I⋅XL Sinθ) + j I( XL Cosθ- R Sinθ) สมการประกอบด้ วย Real part และ Imaginary part ซึง่ สวนที่เป็ น Imaginary part มีคา่ น้ อย มากเมื่อเทียบกับส่วนของ Real part ดังนั้นเพื่อการคํานวณง่ายขึ ้น จึงเขียนสมการเสียใหม่เป็ น ค่าโดยประมาณได้ ดงั นี ้ = EL+ I⋅R Cosθ + I⋅XL Sinθ ES แรงดันตก = ES-EL = I⋅R Cosθ + I⋅XL Sinθ

IXL

ฐ-2

ภาคผนวก ฐ.

1. แรงดันตกวงจร 3 เฟส ความยาวสาย (L) คิดจากต้ นทางจนถึงปลายทางเพียงเที่ยวเดียว โดยตั้งสมมติฐานว่าวงจรสมดุลกระแสไหลกลับเป็ นศูนย์ สําหรั บกระแสคูณด้ วย √3 เพื่อ เปลี่ยนเป็ น Line current จะได้ ดงั นี ้ VD =√3 ×I(R Cosθ + XL Sinθ)×L ทําเป็ นเปอร์ เซ็นต์ หารด้ วยระบบแรงดัน สําหรับระบบแรงดัน 230/400 V %VD =

VD × 100 400

2.แรงดันตกวงจร 1 เฟส โดยปกติแรงดันตกจะเกิดทั้งขาไปและกลับ ในสมการจึงต้ องคูณ ความยาวสายด้ วย 2 จะได้ ดงั นี ้ VD = 2 ×I(R Cosθ + XL Sinθ)×L ทําเป็ นเปอร์ เซ็นต์ หารด้ วยระบบแรงดัน สําหรับระบบแรงดัน 230/400 V %VD =

VD × 100 230

การคํานวณหาค่าแรงดันตกจะเป็ นการหาค่าสูงสุด ดังนั้นในการคํานวณจึงใช้ คา่ ความต้ านทาน กระแสสลับที่ อุณหภูมิพิกดั ใช้ งานของสายไฟฟ้าคือ 70OC สําหรับสายพีวีซี และ 90OC สําหรับ สาย XLPE ส่วนค่ารี แอกแตนซ์หรื อค่า XLของสายไฟฟ้าจะเปลี่ยนแปลงตามวิธีการวาง สายไฟฟ้าเช่นเดียวกับในการคํานวณกระแสลัดวงจร การคํานวณค่าแรงดันตกมีความยุ่งยากในการหาค่าอิมพีแดนซ์ของสายไฟฟ้า การใช้ วิธีจาก ตารางจึงสะดวกกว่า ตารางแรงดันตกต่อไปนี ้อ้ างอิงตาม BS 7671 และเพื่อให้ สะดวกในการใช้ งานจึงได้ กําหนดเป็ นค่าสูงสุด โดยการคํานวณค่าแรงตก ตั้งแต่ P.F. 85 % Lagging ถึง P.F 100 % แล้ วเลือกค่าที่ให้ แรงดันตกสูงสุด อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้ งานสามารถคํานวณได้ เองจาก BS 7671

ฐ-3

ภาคผนวก ฐ.

เงื่อนไขการคํานวณ - ระบบไฟฟ้า 3 เฟส แรงดันตกคิดเป็ น Line to Line แบบสมดุล - ขนาดสายไฟ ถึง 16 mm2 ให้ คดิ ค่า r อย่างเดียว ละเลยค่า x ซึง่ มีคา่ น้ อย - ขนาดสายไฟ ตั้งแต่ 25 mm2 ให้ คิดค่า r และ x เพื่อคํานวณ แรงดันตก ตาม Power Factor ของ Load - รูปแบบการติดตั้ง (กลุม่ การเดินสาย) เป็ นไปตามตารางที่ 5-47 ตารางที่ ฐ.1 แรงดันตกสําหรั บสายไฟฟ้า ฉนวน PVC แกนเดียว ที่ 70°C 1 เฟส AC ( mV / A / m ) ขนาดสาย ( mm2 ) 1.0 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

3 เฟส AC ( mV / A / m ) รู ปแบบการติดตัง้

กลุ่มที่ 1, 2 44 29 18 11 7.3 4.4 2.8 1.81 1.33 1.00 0.71 0.56 0.48 0.41 0.36 0.30 0.27 0.25 0.23

กลุ่มที่ 3 , 7 Touching Spaced 44 29 18 11 7.3 4.4 2.8 1.75 1.25 0.94 0.66 0.50 0.41 0.35 0.29 0.25 0.22 0.19 0.17

44 29 18 11 7.3 4.4 2.8 1.75 1.27 0.97 0.69 0.54 0.45 0.39 0.34 0.29 0.26 0.23 0.21

กลุ่มที่ 1,2

Trefoil

38 25 15 9.5 6.4 3.8 2.4 1.52 1.13 0.85 0.61 0.48 0.40 0.35 0.31 0.27 0.24 0.22 0.20

38 25 15 9.5 6.4 3.8 2.4 1.50 1.11 0.81 0.57 0.44 0.35 0.30 0.26 0.21 0.18 0.16 0.15

กลุ่มที่ 3 , 7 Flat Spaced 38 25 15 9.5 6.4 3.8 2.4 1.50 1.12 0.84 0.60 0.47 0.39 0.34 0.30 0.25 0.23 0.20 0.18

38 25 15 9.5 6.4 3.8 2.4 1.52 1.15 0.86 0.63 0.50 0.43 0.38 0.34 0.29 0.26 0.24 0.22

ฐ-4

ภาคผนวก ฐ.

ตารางที่ ฐ.2 แรงดันตกสําหรั บสายไฟฟ้า ฉนวน PVC หลายแกน ที่ 70°C ขนาดสาย ( mm2 ) 1.0 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400

1 เฟส AC ( mV / A / m ) ทุกกลุ่มการติดตัง้ 44 29 18 11 7.3 4.4 2.8 1.75 1.25 0.93 0.65 0.49 0.41 0.34 0.29 0.24 0.21 0.17

3 เฟส AC ( mV / A / m ) ทุกกลุ่มการติดตัง้ 40 27 16 10 6.8 4 2.5 1.60 1.15 0.86 0.60 0.44 0.36 0.31 0.25 0.22 0.18 0.16