ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้

ภัยพิบัติและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาใต้ ม.3
ภัยพิบัติและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาใต้ ม.3
 ID: 2729913
Language: Thai
School subject: CM
Grade/level: 9
Age: 15-15
Main content: ภัยพิบัติและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาใต้ ม.3
Other contents: ภัยพิบัติและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาใต้ ม.3

ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
 Add to my workbooks (0)
ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
 Download file pdf
ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
 Embed in my website or blog
ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
 Add to Google Classroom
ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
 Add to Microsoft Teams
ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้

jarjuratip1


ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้

What do you want to do?

ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
ภัย พิบัติ และแนวทางการจัดการของทวีปอเมริกาใต้
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

         แนวทางใน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  ยังมีปัญหาในบางพื้นที่  เนื่องจากพื้นฐานของประชากรส่วนใหญ่ในแต่ละประเทศ  ยังใช้ชีวิตเรียบง่าย   ขาดความรู้และวิทยาการที่ทันสมัยและเหมาะสม   ในการดำเนินการด้านต่างๆ  ทั้งการผลิต  การบริการ  และการจัดการด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมบางพื้นที่ยังมีการทำลายป่าไม้เป็นบริเวณกว้าง   เพื่อใช้พื้นที่ในการเพาะปลูก  เช่น  บริเวณป่าดิบลุ่มแม่น้ำแอมะซอนในบราซิล      แต่อย่างไรก็ตามได้มีความพยายามในการร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  เพื่อมิให้เกิดผลกระทบต่อสภาพอากาศของโลก เช่น การประชุมร่วมกันที่บราซิล และเป็นโครงการต่อเนื่องไปยังการประชุมที่สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในเวลาต่อมาด้วย

ภัยพิบัติและแนวทางการแก้ปั ญหา
ของทวีปอเมริกาใต้

แผ่นดินไหว อุทกภัย

เกิดที่บริเวณชายฝั่ งตะวันตก เกิดที่บริเวณที่ราบและเนิ นเขา
ของทวีป เช่น เปรู ชิลี เอกวาดอร์ พื้นที่ราบลุ่มริมชายฝั่ ง บริเวณปากแม่น้ำ
ผลกระทบ: ทำให้มีผู้เสียชีวิต ผลกระทบ: สิ่ งก่อสร้างได้รับความเสียหาย

ระบบเศรษฐกิจเสี ยหาย ดินโคลนถล่มตามมา

แนวทางแก้ไข

ภูเขาไฟปะทุ สึนามิ & แผ่นดินถล่ม – ฝึ กซ้อมอพยพหนี ภัย
– จัดตั้งศูนย์ป้ องกันภัย
เกิดจากการปะทุของหินหนื ด เกิดจากแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในทะเล พิบัติ
ที่หลอมเหลวอยู่ภายใต้ภูเขาไฟ ผลกระทบ: คนเสียชีวิต บ้านเรือนเสียหาย – ขอความช่วยเหลือจาก
นานาชาติ
แบ่งภูเขาได้ 3 ประเภท – อพยพประชาชนไปใน
ที่ปลอดภัย
– ภูเขาไฟสงบ เกิดจากฝนตกหนั กติดต่อกัน การตัดต้นไม้
– ภูเขาไฟมีพลัง ผลกระทบ: ป่ าไม้และสิ่ งปลูกสร้างเสียหาย ชนากานต์ 28
– ภูเขาไฟไม่มีพลัง