แบบฝึกหัด บัญชี ต้นทุน 1 พร้อม เฉลย บทที่ 2

แบบฝึกหัด บัญชี ต้นทุน 1 พร้อม เฉลย บทที่ 2
หน้าแรก
วิชาการบัญชีต้นทุน 1

แบบฝึกหัด บัญชี ต้นทุน 1 พร้อม เฉลย บทที่ 2

แบบฝึกหัด บัญชี ต้นทุน 1 พร้อม เฉลย บทที่ 2
เนื้อหาโดยสรุป
แบบฝึกหัด บัญชี ต้นทุน 1 พร้อม เฉลย บทที่ 2
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด บัญชี ต้นทุน 1 พร้อม เฉลย บทที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด บัญชี ต้นทุน 1 พร้อม เฉลย บทที่ 2
เฉลยการบ้าน
 
เแลยแบบฝึกหัด เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 1 วัตถุของการบัญชีต้นทุน

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 2 ต้นทุนและการจำแนกประเภทต้นทุน

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 3 งบการเงินของกิจการผลิตสินค้าและการคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 4 ระบบต้นทุนจ่ายจริง

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5 ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน และระบบต้นทุนปกติ

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 6 บัญชีแยกประเภทโรงงาน

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 7 การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 8 การปันส่วนต้นทุนแผนกบริการให้แผนกผลิต เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 9 การบัญชีต้นทุนช่วง

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 10 เศษวัตถุ ของเสีย และสินค้ามีตำหนิ

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 11 ระบบบัญชีต้นทุนมาตรฐาน

     

การบัญชีตนทุน:รศ.ศรีสุดาธีระกาญจน1 - 3ขอ11.บริษัทกองพลอยจํากัด11.1ตนทุนขั้นตนประกอบดวย:วัตถุทางตรง60,000บาทแรงงานทางตรง80,000บาทรวม140,000บาท11.2ตนทุนแปลงสภาพประกอบดวย:แรงงานทางตรง80,000บาทาใชจายการผลิต-าเสื่อมราคาอาคารโรงงาน50,000-แรงงานทางออม5,000-เงินเดือนหัวหนาคนงาน30,00085,000บาท165,000บาท11.3ตนทุนการผลิตประกอบดวย:วัตถุทางตรง60,000บาทแรงงานทางตรง80,000บาทาใชจายการผลิต(จากขอ11.2)85,000บาทรวม225,000บาท11.4ตนทุนตามงวดเวลาประกอบดวย:าโฆษณา200,000บาทาใชจายสํานักงาน40,000บาทาเชาอาคารสํานักงาน25,000บาท

แผนการจัดการเรยี นรู้ม่งุ เนน้ สมรรถนะ

วิชาการบัญชีตน้ ทนุ 1 รหัส 30201 - 2003
(ทฤษฎี 2 ปฏบิ ตั ิ 2 หนว่ ยกิต 3)

หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู พุทธศกั ราช 2563
ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ สาขาวชิ าการบญั ชี
สาขางานการบัญชี

จัดทำโดย
นางประไพศรี วงศป์ รีดี

วิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร

แบบคำขออนมุ ัติใช้แผนการจดั การเรียนรู้ม่งุ เน้นสมรรถนะ

แผนการจัดการเรียนรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะและบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง/
คณุ ลกั ษณะ 3 D

รายวิชาการบญั ชีต้นทนุ 1 รหสั วิชา 30201 - 2003 2-2-3

ลงชอื่ ..................................
(นางประไพศรี วงศป์ รีดี)

ครู อนั ดบั คศ. 2 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ
ผ้จู ดั ทำ

ความเห็นหัวหนา้ แผนกวิชาการบญั ชี ความเห็นหวั หน้างานพัฒนาหลักสูตรฯ
………………………………….. ………………………………………….

(นางประไพศรี วงศ์ปรดี ี) ( นายคมุ ดวง พรมอินทร์)
หัวหน้าแผนกวิชาการบญั ชี หัวหนา้ งานพัฒนาหลักสูตรฯ

ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ
…………………………………………

(นายทนิ กร พรหมอนิ ทร์)
รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ

ความเห็นผอู้ ำนวยการวิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน

O อนมุ ัติ O ไมอ่ นุมัติ

......................................
(นางวรรณภา พ่วงกลุ )
ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั เทคนิคสวา่ งแดนดิน

คำนำ

แผนการสอนวชิ า “การบญั ชีตน้ ทุน 1 ” รหัสวชิ า 30201-2003 จัดทำขนึ้ เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางใน
การจดั การเรียนการสอน วิชาการบญั ชีต้นทนุ 1 ตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู (ปวส.)
พทุ ธศักราช 2563 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา โดยจดั การเรยี นการสอนทงั้ หมด 18
สัปดาห์ สัปดาหล์ ะ 4 ช่วั โมง เนือ้ หาภายในแบง่ ออกเปน็ 6 หนว่ ย ประกอบด้วยเน้อื หาเกี่ยวกบั ความรู้
เกี่ยวกับบัญชีตน้ ทนุ , ระบบบัญชตี ้นทนุ , การบัญชเี กีย่ วกบั วตั ถุดบิ , การบัญชีเก่ียวกบั ค่าแรง,การบัญชี
เก่ยี วกับคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ และการบัญชตี น้ ทนุ งานสัง่ ทำ

สำหรับแผนการสอนรายวิชาน้ี ผู้จัดทำได้ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจและเวลาในการศึกษาค้นคว้า
ทดลอง เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน และการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียง

ท้ายที่สุดนี้ ผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ท่ีสร้างแหล่งความรู้ และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วน
สำคัญที่ทำให้แผนการสอนวิชาการบัญชีต้นทุน 1 เล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อย และหากผู้ใช้พบ
ขอ้ บกพรอ่ งหรือมีขอ้ เสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจ้งผูจ้ ดั ทำทราบดว้ ย จักขอบคุณย่ิง

ลงชอื่ .......................................
(นางประไพศรี วงศ์ปรีดี)

สารบัญ ง

ปก หนา้
แบบคำขออนมุ ัติ ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
หลกั สตู รรายวิชา ง
กำหนดการเรยี นรู้ ช
ตารางวเิ คราะห์ระดับ พุทธิพิสัย ทกั ษะพสิ ยั จิตพิสัย ซ
หน่วยการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะประจำหน่วย ฌ
แผนการเรยี นรู้ ญ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกบั บัญชีตน้ ทนุ 1
ใบความรู้ 5
ใบทดสอบ 13
ใบเฉลยแบบทดสอบ 15
ใบมอบหมายงาน 16
17
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 ระบบบัญชีตน้ ทุน 21
ใบความรู้ 30
ใบทดสอบ 32
ใบเฉลยแบบทดสอบ 33
ใบมอบหมายงาน 34
39
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การบญั ชเี ก่ียวกับวตั ถดุ ิบ 45
ใบความรู้ 47
ใบทดสอบ 48
ใบเฉลยแบบทดสอบ 49
ใบมอบหมายงาน 53
58
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 การบัญชีเกย่ี วกบั ค่าแรง 60
ใบความรู้ 61
ใบทดสอบ
ใบเฉลยแบบทดสอบ
ใบมอบหมายงาน

สารบญั (ต่อ) จ

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 การบัญชเี กย่ี วกบั ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ 62
ใบความรู้ 66
ใบทดสอบ 72
ใบเฉลยแบบทดสอบ 74
ใบมอบหมายงาน 75
76
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 การบัญชีต้นทนุ งานสัง่ ทำ 80
ใบความรู้ 89
ใบทดสอบ 91
ใบเฉลยแบบทดสอบ 92
ใบมอบหมายงาน 93

เอกสารอา้ งอิง

หลกั สูตรรายวิชา

วิชาการบัญชตี ้นทุน 1 (Cost Accounting 1) รหัส 30201-2003
ทฤษฎี 2 ปฏบิ ตั ิ 2 หนว่ ยกิต 3

หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชน้ั สงู พทุ ธศักราช 2563
ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชาการบญั ชี

วชิ าบังคบั ก่อน : หลักการบัญชีเบอ้ื งตน้ 2
จดุ ประสงค์รายวิชา เพอ่ื ให้

1. เข้าใจเก่ยี วกบั วตั ถปุ ระสงค์ แนวคิดเก่ยี วกับบัญชีต้นทุน การจำแนกประเภทตน้ ทุน และวงจร
ระบบบญั ชตี ้นทนุ

2. มีทักษะในการบันทกึ บัญชตี น้ ทนุ การผลติ การปันส่วนต้นทุน ตน้ ทุนงานสั่งทำ ของเสยี ของมี
ตำหนิ เศษซาก และตน้ ทนุ ฐานกิจกรรม ตามหลักการบัญชที ่ีรับรองทว่ั ไป

3. มคี ุณลกั ษณะนสิ ยั ที่พงึ ประสงค์ และมีเจตคติที่ดี ในการประกอบอาชีพ
สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลักการบัญชีตน้ ทนุ
2. ปฏบิ ัตงิ านตามกระบวนการบัญชตี น้ ทนุ งานสั่งทำ ตามหลกั การบญั ชีทร่ี บั รองทว่ั ไป
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบตั เิ กย่ี วกับวัตถุประสงค์ แนวคดิ เกีย่ วกับบัญชตี น้ ทนุ การจำแนกประเภทตน้ ทุน
ระบบบญั ชีตน้ ทุน การบนั ทึกบัญชวี ัตถดุ บิ ค่าแรงงาน ค่าใชจ้ ่ายการผลิต บัญชีต้นทนุ งานสั่งทำ วธิ กี าร
บญั ชีเกี่ยวกับของเสยี ของมตี ำหนิ เศษซาก และบัญชตี ้นทุนฐานกิจกรรม

กำหนดการเรยี นรู้

หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ จำนวนชว่ั โมง สัปดาหท์ ี่
12 1-3
1 ความรทู้ ่วั ไปเก่ยี วกบั บัญชตี ้นทนุ 12 4-6
12 7-9
2 ระบบบัญชีตน้ ทุน 12 10-12
12 13-15
3 การบัญชีเกย่ี วกับวตั ถุดบิ 8 16-17
4 18
4 การบญั ชเี กย่ี วกับค่าแรง 72

5 การบญั ชีเกีย่ วกับคา่ ใช้จ่ายในการผลติ

6 การบญั ชตี ้นทุนงานสงั่ ทำ

สอบปลายภาค

รวม

ตารางวเิ คราะห์ระดบั พุทธิพิสยั ทักษะพสิ ัย จติ พสิ ัย

รหัสวิชา 30201– 2003 ช่อื วิชา การบัญชีตน้ ทนุ 1 ท-ป-น 2-2-3

หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสูง ประเภทวชิ า บริหารธรุ กิจ

สาขาวิชา การบัญชี สาขางาน การบญั ชี

ระดับพฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงค์

หน่วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ พทุ ธิพสิ ยั ทกั ษะพิสยั จิตพิสยั เวลา

ท่ี 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 (ชม.)

1 ความรู้ท่วั ไปเกี่ยวกับบญั ชตี น้ ทนุ ✓ ✓ ✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 12

2 ระบบบัญชีตน้ ทนุ ✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 12

3 การบัญชเี กย่ี วกบั วัตถดุ ิบ ✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 12

4 การบัญชีเก่ียวกบั คา่ แรง ✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 12

5 การบัญชเี ก่ยี วกับคา่ ใชจ้ า่ ย ✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 12
ในการผลติ

6 การบญั ชีตน้ ทนุ งานสัง่ ทำ ✓✓✓ ✓✓✓ ✓✓✓ 8

68

นอ้ มนำหลักปรัชญาของ พุทธิพิสัย ทกั ษะพสิ ัย จิตพิสัย
เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏบิ ตั ิ 1 = ความรู้ 1 = เลียนแบบ 1 = รับรู้
2 = ความเขา้ ใจ 2 = ทำได้ตามแบบ 2 = ตอบสนอง
3 = การนำไปใช้ 3 = ทำได้ถูกต้องแมน่ ยำ 3 = เหน็ คุณค่า
4 = การวิเคราะห์ 4 = ทำไดต้ อ่ เนือ่ งประสานกนั 4 = จัดระบบคุณคา่
5 = การสังเคราะห์ 5 = ทำไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรมชาติ 5 = พัฒนาเปน็ ลักษณะนิสยั
6 = การประเมินคา่

93

เอกสารอ้างองิ ซ

กชกร เฉลิมกาญจนา. (2557). การบัญชีบริหาร (การบัญชตี น้ ทุน 2). พิมพ์ครัง้ ท่ี 5
กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

จันทนา สาขากร และ ศลิ ปพร ศรจี นั่ เพชร. (2556). การบัญชีขั้นต้น. พิมพ์ครงั้ ท่ี 1
กรงุ เทพมหานคร : ทีพีเอ็น เพรส.

ดวงมณี โกมารทัต. (2559). การบญั ชีต้นทุน. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรงุ เทพฯ :
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

ประภากรณ์ เกยี รตกิ ลุ วฒั นา. (2558). การบญั ชตี ้นทุน. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ :
จูน พับลชิ ชิง่ .

ศศวิ ิมล มีอาพล. (2558). การบัญชีเพ่อื การจัดการ. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 23 กรงุ เทพมหานคร :
อินโฟไมน่ิง.

สภาวิชาชพี การบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2561). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน.
ค้นเมอ่ื 30 พฤษภาคม 2561, จาก http://www.fap.or.th/

สมนึก เอ้ือจริ ะพงษ์พันธ์. (2557). การบญั ชีต้นทนุ . พมิ พ์คร้ังที่ 7 กรงุ เทพมหานคร :
แมคกรอ-ฮลิ .

รชต สวนสวสั ดิ์ เอกสารประกอบการสอนการบัญชีต้นทุน 1 ,คณะวทิ ยาการจัดการมหาวิทยาลยั
ราชภฏั อุดรธานี 2560

หนว่ ยกา

รหสั วิชา 30201-2003 ช่ือวชิ า กา
หลกั สูตรประกาศน

ชอื่ หน่วย ความรู้

1. ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั บญั ชตี น้ ทนุ 1. อธบิ ายลักษณะทัว่ ไปของ ตน้
2. อธิบายวัตถปุ ระสงค์ของบัญช
1. ลกั ษณะท่วั ไปของตน้ ทุน 3. จำแนกประเภทของตน้ ทนุ ได
2. วัตถปุ ระสงคข์ องบัญชี ตน้ ทุน 4. บนั ทกึ สนิ ค้าคงเหลือได้
3. การจำแนกประเภทของตน้ ทนุ 5. อธบิ ายความหมายและความส
4. สินคา้ คงเหลือ
5. ความสัมพันธ์ระหวา่ งการบัญชีการเงนิ การบัญชกี ารเงิน และการบัญช
6. จัดทำงบการเงนิ ของกิจการอ
และการบญั ชตี ้นทุน
6. งบการเงนิ 1. อธิบายความหมายของระบบ
ตา่ งๆ ได้
2. ระบบบัญชีตน้ ทนุ
2. อธิบายความหมายของวงจรต
1. ความหมายของระบบบญั ชีตน้ ทุน 3. บนั ทึกบญั ชีตามวงจรตน้ ทุนได
2. ประเภทของระบบบญั ชตี น้ ทุน
3. วงจรต้นทนุ
4. ระบบการสะสมต้นทนุ

1

ารเรียนร้แู ละสมรรถนะประจำหนว่ ย

ารบญั ชีตน้ ทนุ 1 หน่วยกติ 3 (ท-ป-น 2-2-3 4 ช่วั โมง)
นียบัตรวชิ าชีพชัน้ สงู ประเภทวชิ า บรหิ ารธรุ กจิ

สาขาวิชา การบญั ชี

สมรรถนะ คณุ ลักษณะทีพ่ ึ่งประสงค์
ทกั ษะ

นทุนได้ บอกความรู้ของบญั ชีต้นทนุ ได้ ความมมี นษุ ยสัมพันธ์
ชตี ้นทนุ ได้ ความมวี ินยั
ด้ บอกความหมายของระบบบญั ชี ความรับผิดชอบ
ต้นทนุ ได้ ความเชื่อม่นั ในตนเอง
สมั พันธ์ของ ความสนใจใฝร่ ู้
ชีต้นทุนได้ ความรกั สามัคคี
อุตสาหกรรมได้
ความกตญั ญูกตเวที
บบัญชีต้นทุนประเภท

ตน้ ทนุ การผลติ ได้
ด้

หนว่ ยกา

รหัสวิชา 30201-2003 ชื่อวชิ า กา
หลกั สูตรประกาศ

ชอื่ หน่วย ความรู้

2.(ต่อ) 4. อธบิ ายความหมายและความส
บญั ชแี ยกประเภททั่วไปและบ
5. การบนั ทึกบัญชีตามวงจรต้นทนุ ประเภทโรงงานได้
6. บญั ชแี ยกประเภทโรงงาน
5. บนั ทึกบญั ชเี กี่ยวกับการผลิตใน
3. การบญั ชีเกี่ยวกับวัตถดุ ิบ และสำนักงานแยกจากกนั ได้

1. ความหมายของวัตถดุ ิบ 1. อธิบายความหมายของวัตถุด
2. ต้นทนุ ในการจัดหาวตั ถุดบิ 2. คำนวณต้นทุนในการจัดหาวตั
3. การควบคุมวตั ถุดิบ 3. อธบิ ายวธิ คี วบคุมวตั ถดุ ิบ โดย
4. การคำนวณตน้ ทนุ วัตถดุ บิ เบกิ ใชแ้ ละ 4. คำนวณตน้ ทุนวตั ถดุ ิบเบิกใช้แ

ตน้ ทุนวัตถุดิบคงเหลือ ปลายงวดโดยวธิ ีตา่ งๆ ได้
5. การตรี าคาวัตถดุ บิ คงเหลือวิธรี าคาทุนหรือ 5. ตรี าคาวัตถดุ ิบคงเหลือวิธีราค

มลู คา่ สทุ ธทิ ่ีจะได้รับทตี่ ่ำกว่า มลู คา่ สุทธิ ทจี่ ะได้รบั ท่ีต่ำกว่า

2

ารเรยี นรู้และสมรรถนะประจำหน่วย

ารบัญชีต้นทนุ 1 หนว่ ยกติ 3 (ท-ป-น 2-2-3 4 ชว่ั โมง)
ศนียบตั รวชิ าชพี ประเภทวิชา บรหิ ารธุรกิจ

สาขาวิชา การบัญชี

สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะที่พ่ึงประสงค์
ทักษะ

สมั พันธร์ ะหว่าง ความมมี นษุ ยสมั พนั ธ์
บญั ชแี ยก ความมีวินัย
ความรับผดิ ชอบ
นกรณที โี่ รงงาน ความเชือ่ ม่ันในตนเอง
ความสนใจใฝร่ ู้
ดิบได้ บอกความหมายและวตั ถดุ ิบ ความรกั สามคั คี
ตถดุ ิบได้ ในการผลติ ได้
ยใชแ้ บบฟอร์มต่างๆ ได้ ความกตัญญูกตเวที
และวัตถุดบิ คงเหลือ

คาทนุ หรอื
าได้

หน่วยกา

รหสั วิชา 30201-2003 ช่ือวชิ า กา
หลักสตู รประกาศ

ชือ่ หน่วย ความรู้

3.(ต่อ)

6. วิธีการบนั ทึกบัญชเี กยี่ วกับวัตถุดบิ 6. บันทกึ รายการเกีย่ วกบั วตั ถดุ บิ

7. การบนั ทกึ บัญชกี รณี วัตถุดบิ คงเหลือทีต่ รวจนบั ได้

ไมต่ รงกับยอดตามบญั ชี

4. การบัญชเี กี่ยวกับค่าแรง

1. ความหมายของคา่ แรง 1. อธิบายความหมายของค่าแรง
2. การควบคุมเกี่ยวกบั คา่ แรง เกีย่ วกับค่าแรงได้
3. การคำนวณต้นทนุ ค่าแรง
4. การวิเคราะห์และจำแนกประเภทของคา่ แรง 2. คำนวณต้นทนุ คา่ แรงได้
5. การบันทกึ บัญชเี กี่ยวกับค่าแรง 3. วเิ คราะห์และจำแนกประเภท
6. เงินพิเศษต่างๆ และ สวสั ดิการ 4. บนั ทกึ บญั ชีเก่ยี วกบั คา่ แรงได
5. อธบิ ายเงินพิเศษต่างๆ และ ส

บันทึกบัญชีได้

3

ารเรยี นร้แู ละสมรรถนะประจำหนว่ ย

ารบญั ชีต้นทนุ 1 หน่วยกติ 3 (ท-ป-น 2-2-3 4 ชัว่ โมง)
ศนยี บตั รวิชาชีพ ประเภทวชิ า บรหิ ารธรุ กิจ

สาขาวชิ า การบญั ชี

สมรรถนะ คณุ ลักษณะทพี่ ่ึงประสงค์
ทกั ษะ

บในสมดุ รายวันท่ัวไปได้

งและการควบคมุ บอกความหมายและจำแนก ความมีมนุษยสมั พันธ์
คา่ แรงเพอ่ื ทำบญั ชีได้ ความมวี ินยั
ทของค่าแรงได้ ความรบั ผิดชอบ
ด้ ความเช่อื มนั่ ในตนเอง
สวสั ดกิ าร และ ความสนใจใฝร่ ู้
ความรกั สามัคคี

ความกตญั ญกู ตเวที

ช่อื หน่วย หนว่ ยกา
รหสั วิชา 30201-2003 ชอื่ วิชา กา

หลกั สตู รประกาศ

ความรู้

1. อธบิ ายความหมายและลักษณ
ในการผลติ ได้

2. อธิบายลักษณะการเกดิ ค่าใชจ้
3. บนั ทกึ บญั ชีค่าใชจ้ า่ ยในการผล
4. คำนวณอตั ราค่าใชจ้ ่ายในการผ
5. คำนวณและบนั ทกึ บญั ชี เก่ยี ว

การผลติ คดิ เขา้ งานได้
6. ปันสว่ นคา่ ใช้จา่ ยของแผนกบร

4

ารเรยี นรู้และสมรรถนะประจำหนว่ ย

ารบญั ชีต้นทนุ 1 หน่วยกติ 3 (ท-ป-น 2-2-3 4 ชัว่ โมง)
ศนียบัตรวชิ าชพี ประเภทวิชา บริหารธุรกจิ

สาขาวิชา การบญั ชี

สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะท่พี ึ่งประสงค์
ทักษะ

ณะของคา่ ใช้จา่ ย บอกความหมายของคา่ ใชจ้ ่ายใน
การผลติ ได้
จ่ายในการผลติ จริงได้
ลติ ทเี่ กดิ ข้นึ จริงได้ ความมีมนษุ ยสัมพนั ธ์
ผลติ คิดเข้างานได้ ความมวี นิ ยั
วกบั คา่ ใชจ้ า่ ยใน ความรบั ผิดชอบ
ความเช่ือมั่นในตนเอง
ริการให้แผนกผลติ ได้ ความสนใจใฝร่ ู้
ความรกั สามัคคี

ความกตัญญกู ตเวที

หน่วยกา

รหสั วิชา 30201-2003 ชื่อวชิ า กา
หลักสตู รประกา

ชอ่ื หน่วย ความรู้

6. การบัญชีต้นทุนงานสง่ั ทำ 1. อธิบายลกั ษณะของต้นทุนงาน
2. บันทกึ บัญชีตามวงจรตน้ ทุนง
1. ลักษณะของบัญชตี น้ ทนุ งานสง่ั ทำ 3. อธบิ ายความหมายของเศษวสั
2. การบนั ทกึ บญั ชตี ามระบบตน้ ทนุ งานสงั่ ทำ
3. การบัญชเี ก่ียวกับเศษวัสดุ และสนิ ค้ามตี ำหนไิ ด้
4. การบัญชีเกยี่ วกบั ของเสีย 4. บนั ทึกบัญชเี ก่ียวกบั เศษวสั ดุข
5. การบญั ชีเก่ยี วกบั สนิ ค้ามีตำหนิ
และสนิ ค้ามีตำหนิได้

5

ารเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจำหนว่ ย

ารบัญชตี น้ ทุน 1 หนว่ ยกติ 3 (ท-ป-น 2-2-3 4 ชั่วโมง)
ศนยี บตั รวชิ าชีพ ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ

สาขาวชิ า การบัญชี

สมรรถนะ คณุ ลักษณะทพี่ ึ่งประสงค์
ทกั ษะ

นสัง่ ทำได้ บอกลกั ษณะของบญั ชตี น้ ทุนส่งั ความมมี นุษยสัมพนั ธ์
งานสง่ั ทำได้ ทำได้ ความมีวินัย
สดุของเสยี ความรับผดิ ชอบ
ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง
ของเสยี ความสนใจใฝร่ ู้
ความรักสามคั คี

ความกตัญญูกตเวที

1

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 1

ชือ่ หน่วย ความร้ทู ่ัวไปเกย่ี วกบั บัญชตี น้ ทุน รวม 12 ชวั่ โมง
สอนครง้ั ท่ี 1-3

เรอ่ื ง ความรทู้ ว่ั ไปเกยี่ วกบั บัญชตี น้ ทุน จำนวน 12 ชวั่ โมง

1. สาระสำคญั

การบัญชตี ้นทุน (Cost Accounting) นนั้ เกิดขึ้นควบค่ไู ปกับการพฒั นาและการขยายตวั ของกจิ การ

อุตสาหกรรมและการพฒั นาเทคโนโลยกี ารผลิต ซ่งึ จดุ เริม่ ต้นของการบญั ชตี น้ ทุนเริ่มจากระบวนการผลติ

ในโรงงานโดยวศิ วกรอตุ สาหกรรม เปน็ ผู้เลือกกระบวนการผลติ ทเ่ี หมาะสมและมีประสทิ ธิภาพว่าจะใช้

ปัจจยั การผลติ อนั ได้แก่ วตั ถุดบิ แรงงาน และเคร่อื งจักรในการผลิตอยา่ งไร จำนวนเทา่ ใด หากว่ามี

ทางเลือกหลาย ๆ ทางในการผลิต วศิ วกรจะพจิ ารณาไปท่ีตน้ ทุนแต่ละทางเลือกว่าแตกต่างกันมากนอ้ ย

เพยี งใด การพิจารณาตน้ ทุนดังกลา่ วนี้จะดทู ปี่ ระสิทธภิ าพด้านการผลิตมากกว่ามลู ค่าต้นทุนที่เป็นตัวเงิน

เช่น คำนวณหาจำนวนวตั ถุดบิ หรือชั่วโมงแรงงานในการผลติ สนิ ค้าหน่งึ หนว่ ย เพ่อื ให้เป็นมาตรฐานของ

กิจการ

2. สมรรถนะประจำหนว่ ย

บอกความรู้ของบัญชตี น้ ทุนได้

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (มาตรฐานการเรยี นรู้)

3.1 ดา้ นความรู้

3.1.1 อธบิ ายลักษณะทัว่ ไปของตน้ ทุนได้

3.1.2 อธบิ ายวตั ถุประสงคข์ องบัญชีตน้ ทนุ ได้

3.1.3 จำแนกประเภทของตน้ ทุนได้

3.1.4 บนั ทึกวตั ถดุ ิบคงเหลอื ได้

3.1.5 อธบิ ายความหมายและความสัมพันธ์ของการบญั ชีการเงนิ และการบัญชตี ้นทนุ ได้

3.1.6 จดั ทำงบการเงินของกิจการอตุ สาหกรรมได้

3.2 ดา้ นทักษะ

3.2.1 บอกความรู้ของบญั ชีต้นทนุ ได้

3.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์

3.3.1 นักศึกษาเห็นความสำคัญและเข้าใจถึงเหตผุ ลของการทำบญั ชี

3.3.2 นักศึกษามีความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ที่

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ 2

ชอื่ หนว่ ย ความรูท้ ั่วไปเกย่ี วกับบญั ชตี น้ ทุน หน่วยที่ 1
รวม 12 ช่วั โมง
เร่อื ง ความร้ทู ั่วไปเกีย่ วกับบัญชตี ้นทนุ สอนครง้ั ท่ี 1-3
จำนวน 12 ช่วั โมง
3.4 การประยุกต์ 3D และน้อมนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
3.4.1 ผู้เรียนมีการทำเป็นขน้ั ตอน การทำตามลำดบั ขน้ั
3.4.2 ผเู้ รยี นมวี นิ ยั มีความประหยัด
3.4.3 ผ้สู อนสอดแทรกปรชั ญาเกีย่ วกับความประหยดั อดออม

4. เนื้อหาสาระการเรยี นรู้

4.1 ลกั ษณะทว่ั ไปของตน้ ทนุ
4.2 วัตถุประสงค์ของบัญชตี ้นทุน
4.3 การจำแนกประเภทของต้นทุน
4.4 สนิ คา้ คงเหลือ
4.5 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการบญั ชกี ารเงินและการบญั ชตี ้นทุน
4.6 งบการเงิน

5 กจิ กรรมการเรียนการสอน

5.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น(M)
นำเข้าสู่บทเรยี นโดยกล่าวถึงบัญชตี น้ ทุน

5.2 ขนั้ การจัดเรยี นรู้(I)
5.2.1 ทำแบบประเมินผลก่อนการเรยี น
5.2.2 ผสู้ อนและผูเ้ รยี นรว่ มกนั อภิปรายเร่ืองเก่ยี วกบั บัญชตี น้ ทุน
5.2.3 ผู้เรียนศกึ ษาใบความรู้

5.3 ข้นั สรุป(A)
5.3.1 แบ่งกลุ่มผูเ้ รยี นมารายงานหนา้ ชั้นเรียน

5.4 การวดั ผลและประเมนิ ผล(P)
5.4.1 การสงั เกต
 ความตงั้ ใจและสนใจของผ้เู รียน
 ความรว่ มมือในการอภปิ ราย
 การแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล

3

แผนการจัดการเรียนรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1

ช่อื หน่วย ความรทู้ วั่ ไปเก่ียวกบั บัญชีต้นทุน รวม 12 ชว่ั โมง
สอนคร้ังท่ี 1-3

เรอ่ื ง ความรูท้ ่ัวไปเกีย่ วกบั บัญชีต้นทนุ จำนวน 12 ชั่วโมง

5.4.2 การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ
 กจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรยี นรู้

5.4.3 การทดสอบด้วยวาจาและข้อเขยี น
 ตรวจแบบทดสอบ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60
 ตง้ั คำถามใหต้ อบและอธบิ าย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

6. ส่อื การการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้

6.1 สอ่ื ส่ิงพมิ พ์
หนงั สอื เรยี นวิชาการบัญชตี น้ ทนุ 1 : ของสำนกั พิมพ์เอมพันธ์
เอกสารประกอบการสอนการบญั ชตี ้นทนุ 1 : ของรชต สายสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

อุดรธานี

7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)

7.1 ใบความรู้
7.2 ใบทดสอบ
7.3 ใบสั่งงาน

8. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธก์ ับวชิ าอน่ื

8.1 วชิ าภาษาไทย เกี่ยวกบั การใชภ้ าษาด้านการพูด การอา่ น และการเขียน
8.2 วชิ าคณติ ศาสตร์ เกยี่ วกบั การคำนวณ
8.3 วชิ าภาษาองั กฤษ ด้านคำศัพทท์ างบัญชี

9. การวัดผลและประเมนิ ผล

9.1 วธิ ีการ ดำเนินการวดั ผลในชว่ งเวลา

(1) กอ่ นเรยี น โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรยี น

(2) ระหว่างเรยี น โดยการถามตอบและการสังเกตการณป์ ฏบิ ัตงิ าน

(3) หลังเสร็จสิน้ การเรียน โดยทำแบบทดสอบ

4

แผนการจดั การเรยี นรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

ชอื่ หน่วย ความรทู้ ่วั ไปเก่ยี วกบั บัญชตี ้นทุน รวม 12 ช่ัวโมง
สอนครัง้ ที่ 1-3

เรื่อง ความร้ทู ว่ั ไปเกย่ี วกับบัญชตี น้ ทนุ จำนวน 12 ชั่วโมง

9.2 เกณฑ์การประเมิน

(1) ผู้เรยี นมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80

(2) ผูเ้ รียนมีคะแนนจากแบบทดสอบหลงั เรียนร้อยละ 80

(3) ผู้เรยี นบนั ทึกบญั ชีการซื้อขายสนิ คา้ สมบรู ณ์และถกู ต้องทุกครั้ง

10. บนั ทกึ หลงั การเรยี นรู้

10.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้

1. เนือ้ หาสอดคล้องกับจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

2. สามารถนำไปใชป้ ฏิบัติการสอนได้ครบตามกระบวนการเรียนการสอน

3. ส่อื การสอนเหมาะสมดี

10.2 ผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น

1. นกั ศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจใฝร่ ู้ เข้าใจในบทเรยี นรว่ มกัน อภิปราย ตอบคำถาม

ในกลมุ่ และรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็

2. นักศกึ ษากระตอื รือรน้ และรับผิดชอบในการทำงานกลุม่ เพื่อใหง้ านสำเร็จทนั เวลา

ท่กี ำหนด

10.3 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรู้

1. สอนเน้ือหาไดค้ รบตามหลกั สูตร

2. แผนการสอนและวิธกี ารสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทำใหผ้ ้สู อนสอนได้อย่างมนั่ ใจ

3. สอนไดท้ นั ตามเวลาทกี่ ำหนด

………………………………………………
ผูบ้ นั ทกึ การสอน

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผ่นท่ี 1/8 5
ช่ือวิชา : การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหสั วิชา 3201-2003

งาน : ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกับบัญชตี น้ ทนุ

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

1. อธิบายลกั ษณะทั่วไปของต้นทนุ ได้
2. อธบิ ายวตั ถปุ ระสงค์ของบญั ชตี ้นทุนได้
3. จำแนกประเภทของต้นทนุ ได้
4. บนั ทึกสินคา้ คงเหลอื ได้
5. อธิบายความหมายและความสมั พนั ธ์ของการบญั ชีการเงินและการบญั ชีตน้ ทนุ ได้
6. จัดทำงบการเงินของกจิ การอุตสาหกรรมได้

เน้ือหาสาระ
1. ลกั ษณะทั่วไปของต้นทุน

ตน้ ทุน (Cost) หมายถึงมลู คา่ ของทรัพยากรทสี่ ญู เสยี ไป เพอ่ื ใหไ้ ดส้ นิ คา้ หรือบริการ โดยมลู คา่ น้นั จะตอ้ งสามารถ
วัดไดเ้ ปน็ หน่วยเงินตรา ซึ่งเปน็ ลักษณะของการลดลงในสนิ ทรัพย์ หรอื เพิ่มขึน้ ในหนี้สิน ตน้ ทุนทเ่ี กดิ ข้นึ อาจจะให้
ประโยชนใ์ นปัจจุบนั หรอื ในอนาคตก็ได้ เมื่อตน้ ทนุ ใดท่เี กดิ ขึน้ และกจิ การได้ใชป้ ระโยชนไ์ ปท้ังสน้ิ แล้ว ตน้ ทนุ นนั้ จะถือ
เป็นคา่ ใช้จ่าย (Expense) ดงั นน้ั ค่าใชจ้ า่ ยจึงหมายถงึ ตน้ ทนุ ทไี่ ด้ให้ประโยชน์และกิจการไดใ้ ชป้ ระโยชน์ทง้ั หมดไปแลว้
ในขณะน้นั และสำหรับต้นทนุ ท่ีกจิ การสญู เสียไปแต่จะใหป้ ระโยชน์แกก่ จิ การในอนาคต เรยี กว่า สินทรพั ย์ (Assets)

ตน้ ทนุ มมี ากมายหลายชนดิ ขนึ้ อย่กู ับวัตถปุ ระสงคก์ ารนำไปใช้ การจดั แบง่ ประเภทต้นทนุ จะชว่ ยให้
กิจการสามารถนาขอ้ มลู ดงั กลา่ วไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนม์ ากยิ่งขน้ึ การจดั แบ่งประเภทต้นทนุ ตามแต่ลักษณะ และ
วัตถปุ ระสงค์การนำไปใช้ สามารถแบ่งได้คือ ตน้ ทุนการผลติ และตน้ ทนุ ท่ไี ม่เกยี่ วข้องกับการผลติ ตน้ ทุนในงบการเงนิ
ต้นทนุ ตามพฤตกิ รรม ตน้ ทุนเพื่อการวางแผนและควบคุม และต้นทนุ เพอ่ื การตัดสินใจ

2. วัตถุประสงค์ของบัญชีต้นทุน

การบญั ชตี น้ ทนุ (Cost Accounting) เนื่องจาการบัญชีตน้ ทนุ เปน็ วธิ ีการทางบัญชีท่ีทาหน้าทรี่ วบรวมขอ้ มลู
ทางด้านตน้ ทุนของธุรกจิ ประเภทธุรกิจการผลติ โดยมีวัตถปุ ระสงคพ์ ้นื ฐานท่ีสำคญั สรปุ ได้ดงั น้ี

2.1 เพือ่ ให้ทราบถงึ ต้นทุนการผลติ ตลอดจนต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold) ซงึ่ จะนำไปหกั ออกจากรายได้
ในงบกำไรขาดทนุ และจะช่วยใหผ้ บู้ รหิ ารไดท้ ราบผลการดำเนินงานของธรุ กิจ

2.2 เพอื่ ใช้สนิ คา้ ในการตีราคาคงเหลือ (Inventory Evaluation) ในธุรกิจอตุ สาหกรรมการผลิตสินค้าคงเหลอื ที่
จะปรากฏในงบแสดงฐานะการเงนิ จะประกอบด้วย วตั ถุดิบ งานระหว่างผลิต และสนิ คา้ สำเรจ็ รปู ซ่ึงการแสดงมลู คา่ ของ
สินคา้ คงเหลือเหล่านีไ้ ด้อย่างถูกตอ้ งหรอื ใกล้เคียงความเป็นจริงมากท่สี ดุ จำเป็นต้องอาศัยวิธกี ารทางบญั ชีตน้ ทุน

2.3 เพือ่ ให้ขอ้ มูลเก่ียวกบั การวางแผนและควบคมุ (Planning and Control) ซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ บู้ รหิ ารสามารถ
ดำเนนิ ธรุ กิจไปอยา่ งมที ศิ ทางและบรรลเุ ปา้ หมายตามความต้องการของธุรกจิ

2.4 เพ่อื ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการวเิ คราะห์ปัญหาเพอ่ื การตัดสินใจ (Decision Making) การดำเนนิ ธรุ กจิ
ผบู้ รหิ ารมกั จะประสบกับปญั หาทจ่ี ะต้องทำการแก้ไขอยตู่ ลอดเวลา เชน่ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกับการรบั ใบสง่ั ซือ้ พิเศษ การ
ปิดโรงงานชวั่ คราว การเพม่ิ -ลดรายการผลิต เป็นตน้

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผ่นท่ี 2/8 6
ชื่อวิชา : การบัญชตี ้นทุน 1 รหสั วชิ า 3201-2003

งาน : ความรทู้ วั่ ไปเกีย่ วกับบญั ชีต้นทุน

3. การจำแนกประเภทของต้นทนุ

3.1 การจำแนกตน้ ทนุ การผลติ และต้นทนุ ที่ไม่เก่ียวขอ้ งกับการผลติ
3.1.1 ตน้ ทนุ การผลติ (Manufacturing cost) หมายถึงตน้ ทุนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลติ สินค้า ไดแ้ ก่
(1) วัตถดุ ิบทางตรง (Direct Materials) หมายถึง วัตถุดิบ (Raw Material) ทีเ่ ป็นสว่ นประกอบหลกั

ของการผลติ สินคา้ สำเรจ็ รปู และสามารถวดั มลู คา่ ของวัตถดุ ิบทใ่ี ช้ในการผลติ สนิ ค้าสำเร็จรูปแตล่ ะหน่วยได้
(2) คา่ แรงงานทางตรง (Direct labor) หมายถงึ แรงงานหลกั ทใี่ ชใ้ นการผลติ สนิ คา้ โดยตรง และ

สามารถวดั จานวนช่วั โมงท่ีใช้ในการผลติ สินคา้ แตล่ ะหน่วยไดไ้ ม่ยาก
(3) ค่าใช้จ่ายการบริหาร (Administrative Expense) หมายถงึ คา่ ใชจ้ ่ายทเี่ กดิ ขึน้ ในการบริหารกิจการ

โดยรวม ซึ่งเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กดิ ขึน้ ในสำนกั งาน เชน่ เงินเดือนสำนกั งาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าประกนั ภยั ค่าสอบบญั ชี
คา่ ภาษี คา่ เสอื่ มราคาสินทรพั ย์ที่ใชใ้ นสำนักงาน เป็นตน้

3.1.2 ตน้ ทนุ ท่ีไมเ่ กย่ี วขอ้ งกับการผลติ (Non-Manufacturing Costs) ตน้ ทนุ ท่ีไมเ่ ก่ยี วข้องกับการผลติ เปน็
ต้นทุนท่ีเกิดข้นึ นอกเหนือจากการผลติ สนิ คา้ เชน่ คา่ ใชจ้ ่ายการดำเนินงาน (Operating Expenses)

3.2 การจำแนกต้นทนุ ในงบการเงนิ สามารถจำแนกออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
3.2.1 ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์ หมายถึง ต้นทนุ ท่ีใชใ้ นการผลติ สินค้าให้เป็นสนิ คา้ สำเร็จรปู ประกอบด้วย
(1) วตั ถดุ ิบทางตรง
(2) คา่ แรงทางตรง
(3) คา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ (Manufacturing Overhead)
3.2.2 ตน้ ทนุ ตามงวดเวลา (Period Costs) หมายถึงตน้ ทนุ ท่ไี มเ่ ก่ียวขอ้ งกับการผลติ สินค้า เปน็ ตน้ ทนุ ทเ่ี กิดขึน้ ใน

รอบปีบญั ชี เช่น เงินเดือนฝ่ายขาย และฝ่ายบรหิ าร คา่ ใชจ้ า่ ยในการขายและบรหิ าร ค่าโฆษณา
3.3. การจำแนกต้นทนุ ตามพฤตกิ รรม จำแนกออกได้เปน็ 4 ประเภทคอื
3.3.1 ต้นทนุ คงที่ (Fixed Costs) หมายถงึ ตน้ ทนุ ทีไ่ ม่เปลย่ี นแปลงไปตามกิจกรรมหรือกำลังการผลติ
3.3.2 ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) หมายถึงต้นทนุ ท่เี ปล่ียนแปลงเป็นสดั สว่ นโดยตรงตามระดบั กิจกรรม

หรอื กำลงั การผลติ
3.3.3 ตน้ ทุนผสมหรอื ตน้ ทุนกึ่งผันแปร (Mixed Cost / Semi variable Cost) หมายถึง ตน้ ทุนผสมระหว่าง

ต้นทุนคงทกี่ ับต้นทุนผนั แปร
3.3.4 ตน้ ทนุ กึ่งคงทหี่ รือตน้ ทุนขนั้ (Semi Fixed Cost/ Step Cost) หมายถึงตน้ ทนุ ทค่ี งท่ใี นช่วงระดบั

กิจกรรมช่วงหนง่ึ แตถ่ ้าระดับกิจกรรมเปลีย่ นไปอกี ระดบั หนง่ึ ตน้ ทนุ ก็จะเปลยี่ นไปตามระดับกจิ กรรมหนง่ึ กำลังการผลติ
เปล่ยี นไป ตน้ ทนุ กงึ่ คงที่จะมลี กั ษณะเหมือนขน้ั บนั ได

3.4 การจำแนกต้นทนุ เพือ่ การวางแผนและควบคุม แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คือ
3.4.1 ต้นทุนทางตรง (Direct Cost) หมายถงึ ตน้ ทนุ ทสี่ ามารถจดั สรรเป็นตน้ ทุนการผลติ ไดง้ า่ ยและชัดเจน

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
แผน่ ที่ 3/8 7
ชื่อวิชา : การบัญชตี น้ ทุน 1 รหัสวิชา 3201-2003

งาน : ความรู้ท่วั ไปเกย่ี วกบั บัญชตี น้ ทนุ

3.4.2 ต้นทนุ ทางอ้อม (Indirect Cost) หมายถึง ตน้ ทนุ ทไี่ มส่ ามารถจัดสรรเปน็ ตน้ ทุนการผลิตไดง้ า่ ยและ
ชดั เจน ซึ่งปกติจะต้องใชว้ ธิ ีการปันสว่ น หรอื จดั สรรต้นทุนทางอ้อมให้หน่วยวดั ต้นทนุ ตวั อยา่ งเช่น โรงงานผลิตเส้ือผา้
สำเรจ็ รูปมกี ารแบ่งแผนกต่างๆ เชน่ แผนกตัด แผนกเยบ็ แผนกตกแตง่

3.4.3 ตน้ ทุนท่คี วบคุมได้ (Controllable Cost) หมายถึง ต้นทนุ ทส่ี ามารถระบไุ ดว้ ่าแผนกใด หรือ หนว่ ยงาน
ใดเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบโดยตรง และผบู้ ริหารหนว่ ยงานน้นั มอี ำนาจตดั สนิ ใจเพ่ิมหรือลดต้นทุนในหนว่ ยงานน้ันได้ ตัวอยา่ งเชน่
แผนกผลิต ผจู้ ัดการฝ่ายผลติ มอี ำนาจตัดสินใจเกย่ี วกบั วัสดสุ ิน้ เปลอื งในแผนก หรอื คา่ ล่วงเวลาของพนักงานในแผนก

3.3.4 ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Non controllable Cost) หมายถงึ ต้นทุนที่หัวหนา้ แผนกหรอื ผูจ้ ดั การ
แผนกไมม่ ีอำนาจตดั สนิ ใจ ลด หรอื เพม่ิ ต้นทุนประเภทน้ี เพราะต้นทนุ เหล่าน้ีอยภู่ ายใตอ้ ำนาจการตดั สนิ ใจของผู้บริหาร
ระดับสูง ตัวอยา่ ง เช่น ค่าเชา่ โรงงาน ค่าเสอื่ มราคาโรงงาน ค่าสาธารณูปโภคโรงงาน

3.5 การจำแนกตน้ ทนุ เพือ่ การตดั สนิ ใจ สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภทคือ
3.5.1 ตน้ ทุนที่เกย่ี วกับการตดั สินใจ หมายถงึ ตน้ ทนุ ท่ีผบู้ ริหารจะต้องเลือกตดั สนิ ใจในทางเลือกใดทางเลอื ก

หนงึ่ ทีใ่ หป้ ระโยชน์สูงสดุ ต่อกจิ การ ต้นทุนที่เก่ยี วกับการตดั สินใจแบ่งเปน็ 3 ประเภทคือ
(1) ตน้ ทนุ คา่ เสยี โอกาส (Opportunity Cost) หมายถึงผลตอบแทนท่ีกิจการต้องสญู เสยี ไปจากการ

ตัดสินใจเลือกทางเลอื กอ่นื เชน่ กจิ การมีอาคารสำนักงาน 1 คหู าในย่านธุรกจิ โดยกิจการมที างเลือกอยู่ 2 ทางคอื
ทางเลือกที่ 1 กิจการใหเ้ ช่าทาธุรกิจจะไดร้ ับค่าเชา่ ปีละ 360,000 บาท
ทางเลอื กที่ 2 กิจการนำไปใชท้ ำธุรกจิ โดยเป็นคลังสนิ ค้าสำหรบั รองรบั สินคา้ ท่ีผลติ เสร็จพร้อมที่จะ

จำหนา่ ย โดยคาดวา่ จะทำให้ลดตน้ ทนุ การผลติ ลงปลี ะ 500,000 บาท
ในกรณีเลือกทางเลือกที่ 2 กท็ ำให้กิจการเสียโอกาสที่จะไดร้ บั คา่ เช่าอาคารปลี ะ 360,000 บาท

(2) ต้นทนุ สว่ นแตกตา่ ง (Differential Cost) หมายถึง ต้นทุนทเ่ี ปล่ยี นแปลงเพมิ่ ข้ึนหรือลดลง
อนั เนื่องจากผลการตดั สินใจเลือกทางเลอื กใดทางเลือกหน่ึง เชน่ ผบู้ ริหารกาลังตดั สินใจยกเลกิ รถยนตเ์ ก่า เนอื่ งจากเสยี
ค่าใช้จ่ายในการซอ่ มแซมปีละ 50,000 บาท ทำใหก้ ิจการประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายลง 50,000 บาท

(3) ต้นทนุ ทหี่ ลกี เล่ียงไมไ่ ด้ (Avoidable Cost) หมายถงึ ต้นทนุ ทปี่ ระหยัดได้ ถ้ายกเลกิ กจิ กรรมใด
กิจกรรมหน่ึง เชน่ กจิ กรรมยุบสาขาปดิ โรงงานในต่างจังหวดั สามารถประหยดั ต้นทนุ วตั ถดุ ิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง
และคา่ ใช้จ่ายผลติ ได้

3.5.2 ตน้ ทนุ ท่ไี มเ่ ก่ียวกบั การตดั สินใจ หมายถึง ตน้ ทุนท่ไี มม่ ีผลตอ่ การตดั สินใจของฝา่ ยบรหิ าร ไม่ว่ากจิ การ
จะตดั สนิ ใจเลือกทางเลอื กใดทางเลือกหน่ึง แบง่ เปน็ 2 ประเภทคอื

(1) ต้นทนุ หลีกเลยี่ งไมไ่ ด้ (Unavoidable Cost) หมายถึง ตน้ ทนุ ทไี่ มส่ ง่ ผลกระทบตอ่ การตัดสนิ ใจของ
ผูบ้ รหิ าร เว้นแตว่ ่าผู้บรหิ ารจะตดั สินใจขายกจิ การไป

(2) ตน้ ทุนจม (Sank Cost) หมายถึง ต้นทนุ ท่เี กดิ ขึ้นแล้วในอดตี ไมส่ ง่ ผลกระทบต่อการตัดสนิ ใจของ
ผบู้ รหิ ารในปัจจบุ นั ซ่งึ ไมส่ ามารถเปลี่ยนแปลงใหเ้ พม่ิ ขึ้นหรือลดลงได้

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผ่นที่ 4/8 8
ช่ือวิชา : การบัญชีต้นทนุ 1 รหัสวชิ า 3201-2003

งาน : ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกับบญั ชีต้นทุน

4. สนิ ค้าคงเหลือ

ลกั ษณะของสนิ คา้ คงเหลอื สาหรับธุรกจิ การผลิตนั้น จะมมี ากกวา่ สินคา้ คงเหลือสาหรับกิจการซอ้ื ขายสนิ คา้ กลา่ วคอื
สินค้าคงเหลอื ของกิจการซอื้ ขายสนิ ค้าจะมสี ินคา้ ชนดิ เดยี ว คือสนิ คา้ สำเรจ็ รปู แตธ่ รุ กิจการผลติ จะมีสนิ คา้ คงเหลือ 4
ชนดิ คือ สินคา้ สำเร็จรปู งานระหวา่ งทำ วตั ถุดิบ และวัสดุโรงงาน ดงั นี้

4.1 สนิ ค้าสำเรจ็ รปู (Finished Goods Inventory) คือหน่วยของสินคา้ ท่ผี ลติ สำเรจ็ แล้วแตย่ ังไม่ได้ขายใหแ้ กล่ กู คา้
4.2 งานระหวา่ งทำ (Work-in-Process Inventory) หมายถงึ หนว่ ยของสินคา้ ท่ีเขา้ สู่กระบวนการผลติ แลว้ แตย่ งั
ไมเ่ สร็จ
4.3 วัตถุดบิ (Raw Materials Inventory) หมายถงึ วตั ถุดิบทกี่ จิ การมีอยู่และยังไมไ่ ดน้ ำใชไ้ ปในการผลติ สินค้า
4.4 วสั ดุโรงงาน (Factory Supplies Inventory) หมายถงึ สิง่ ของท่นี ำมาใช้ในการผลติ สนิ ค้า มีมูลคา่ ไม่มาก และ
ใชใ้ นปริมาณนอ้ ย ถอื เปน็ วตั ถุดบิ ทางออ้ ม

5. ความหมายและความสัมพนั ธข์ องการบัญชีการเงนิ และการบัญชตี ้นทุน

การบัญชตี ้นทุนเป็นการบัญชที ่เี กย่ี วขอ้ งกับฐานข้อมูลด้านต้นทนุ (Cost data base) ทีส่ นบั สนุนท้งั บญั ชีบริหารและ
บญั ชีการเงนิ คือ ข้อมลู ดา้ นตน้ ทนุ จำเป็นทงั้ ตอ่ การจดั ทำงบการเงนิ เพอื่ เสนอบุคคลภายนอก และจำเปน็ ต่อการทำขอ้ มลู
ไปใช้ในด้านการบรหิ ารและจดั การ

บัญชี บัญชี บัญชี
บรหิ าร ต้นทนุ การเงนิ

ภาพที่ 1 แสดงความสมั พันธข์ องการบญั ชีต้นทนุ กบั การบัญชกี ารเงนิ และการบัญชเี พื่อการจดั การ
การบญั ชีการเงิน (Financial Accounting) เป็นบัญชีทจ่ี ดั ทำขน้ึ เพอื่ รวบรวมข้อมลู ทางการเงินของธุรกิจท่ี
เกดิ ขน้ึ แลว้ โดยบันทึกตามมาตรฐานการบัญชี
การบัญชบี รหิ าร หรือ การบัญชี เพอื่ การจดั การ (Managerial Accounting) เปน็ การจดั ทำบญั ชีเพ่อื รวบรวม
ข้อมลู เสนอตอ่ ผู้ใช้ข้อมูล

6. การทำงบการเงนิ ของกิจการอตุ สาหกรรม

จดุ ประสงค์ของธรุ กจิ อุตสาหกรรมคือการจดั ทางบการเงนิ เพอื่ ให้ผู้บริหาร ผู้ที่เกี่ยวขอ้ งได้ทราบถึง ตน้ ทนุ สินค้าท่ี
ผลติ ตน้ ทุนผลิตสนิ คา้ ตอ่ หนว่ ย ผลการดาเนินงาน และฐานะการเงินของกิจการ งบการเงินของธรุ กจิ อุตสาหกรรม
ประกอบด้วย

6.1 งบตน้ ทนุ การผลติ (Cost Of Goods Manufactured Statement)

6.2 งบกำไรขาดทนุ (Income Statement)

6.3 งบแสดงฐานะการเงิน (Balance Statement)

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผน่ ที่ 5/8 9
ช่อื วิชา : การบัญชีต้นทนุ 1 รหัสวชิ า 3201-2003

งาน : ความรทู้ ั่วไปเก่ยี วกบั บัญชีตน้ ทุน

ตวั อย่างงบการเงนิ ของธุรกิจอตุ สาหกรรม
บริษัท xxx จำกดั
งบตน้ ทุนผลติ

สาหรบั งวด 1 ปี สิน้ สดุ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1

วัตถุดบิ ทางตรงใช้ไป : xx (หนว่ ย : บาท)
วตั ถุดิบคงเหลอื ต้นงวด xx
ซอ้ื วัตถดุ ิบ xx -
บวก ค่าขนส่งเขา้ xx -
รวม xx -
หกั ส่งคืนวัตถุดิบ
ส่วนลดรบั xx -
ซือ้ วัตถุดิบสุทธิ -
วตั ถุดบิ ท่มี เี พ่อื ใช้ในการผลติ -
หกั วัตถุดบิ คงเหลอื ปลายงวด
xx -
หัก วัตถุดิบทางอ้อม xx xx -
วตั ถุดิบทางตรงใช้ไปในการผลติ xx xx -
คา่ แรงงานทางตรง xx xx -
ค่าใช้จ่ายในการผลติ : xx xx -
วตั ถุดบิ ทางออ้ ม xx xx -
คา่ แรงทางออ้ ม xx xx -
วสั ดุโรงงานใช้ไป xx
เงินเดือนผู้ควบคมุ งาน xx -
คา่ สาธารณูปโภคโรงงาน -
คา่ เส่ือมราคาเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ -
คา่ ประกนั ภยั -
ค่าใช้จา่ ยผลติ อื่นๆ -
ต้นทุนการผลิตทัง้ สน้ิ -
บวก งานระหว่างทำตน้ งวด -
- xx -
หัก งานระวา่ งทาปลายงวด
ตน้ ทุนสินค้าสำเร็จรปู xx -
xx -
xx -
xx -
xx -

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผ่นที่ 6/8 10
ชื่อวิชา : การบัญชตี ้นทนุ 1 รหสั วิชา 3201-2003

งาน : ความรูท้ ัว่ ไปเกี่ยวกบั บญั ชตี น้ ทนุ

บรษิ ัท xxx จำกดั
งบกำไรขาดทุน
สาหรับงวด 1 ปี สน้ิ สุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1

ขาย xx (หน่วย : บาท)
หัก ต้นทุนขาย xx xx -
สินค้าสำเรจ็ รูปคงเหลอื ต้นงวด
บวก ตน้ ทุนสินคา้ สำเรจ็ รูป xx -
สินค้าสำเรจ็ รปู ท่ีมีไวเ้ พอ่ื ขาย xx - xx -
หกั สินค้าสำเร็จรูปคงเหลอื ปลายงวด
xx -
กำไรขั้นต้น xx -
หกั คา่ ใช้จา่ ยในการดาเนินงาน : xx -
คา่ ใช้จา่ ยในการขาย xx -
ค่าใช้จ่ายบริหาร
-
กำไรสทุ ธิจากการดำเนินงาน - xx -
รายไดแ้ ละคา่ ใช้จา่ ยอ่ืนๆ :
xx -
ดอกเบย้ี จ่าย
กำไรสุทธิ xx -
xx -
บรษิ ัท xxx จำกัด
งบแสดงฐานะการเงิน (หนว่ ย :บาท)
สาหรับงวด 1 ปี สน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x1

สินทรัพย์ xx - xx -
สนิ ทรัพย์หมุนเวียน xx -
xx -
เงินสด xx -
หลักทรัพย์ในความต้องการตลาด xx - xx -
ลูกหนี้ (สทุ ธ)ิ xx -
สินคา้ คงเหลือ :

สินค้าสำเร็จรูป
งานระหว่างทำ
วัตถุดบิ

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผน่ ที่ 7/8 11
ชือ่ วิชา : การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหสั วชิ า 3201-2003

งาน : ความรู้ทัว่ ไปเกย่ี วกับบญั ชตี น้ ทุน

บริษทั xxx จำกัด
งบแสดงฐานะการเงิน
สาหรับงวด 1 ปี ส้ินสดุ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1

(หนว่ ย :บาท)

วัตถุดิบ xx - xx -
คา่ เบย้ี ประกนั จ่ายล่วงหนา้ xx - xx -
xx - xx -
รวมสินทรพั ยห์ มุนเวียน xx -
สินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวยี น xx -

ท่ีดิน xx -
อาคาร xx -
หกั ค่าเส่อื มราคาสะสม xxx -
เครือ่ งจกั ร
หกั ค่าเสอ่ื มราคาสะสม xx - xx -
xx - xx -
รวมสินทรัพยไ์ มห่ มนุ เวียน xx - xx -
รวมสินทรัพย์ xx - xx -

หน้ีสนิ และสว่ นของผถู้ ือหุ้น xx - xx -
หนสี้ ินหมุนเวียน xx - xxx -

เจา้ หน้ี xx -
คา่ แรงงานคา้ งจ่าย xx -
ภาษเี งินได้ค้างจา่ ย
หน้ีสินระยะยาวถงึ กำหนดชำระคืนภายใน 1 ปี

รวมหน้ีสนิ หมนุ เวียน
หนีส้ ินไม่หมนุ เวยี น

เงินกู้จำนอง
ตัว๋ เงินจ่ายระยะยาว

รวมหน้ีสินไม่หมุนเวียน
รวมหนี้สิน

สว่ นของผู้ถอื หุ้น
หนุ้ สามญั
กำไรสะสม
รวมสว่ นของผถู้ ือห้นุ

รวมหนี้สินและส่วนของผถู้ ือหุ้น

สาขาวิชา : การบญั ชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ท่ี 8/8 12
ช่ือวิชา : การบัญชีต้นทนุ 1 รหัสวชิ า 3201-2003

งาน : ความรูท้ ัว่ ไปเกี่ยวกบั บญั ชตี ้นทุน

คำศพั ทท์ า้ ยบททีค่ วรทราบ

Cost Accounting = การบญั ชตี น้ ทนุ Conversion Cost = ต้นทุนแปลงสภาพ
Cost Management = การบรหิ ารตน้ ทนุ Cost Of Goods Sold = ต้นทุนขาย
Managerial Accounting = การบัญชเี พื่อการจัดการ Period Cost = ต้นทนุ ตามงวดเวลา
Manufacturing Cost = ต้นทุนการผลิต Fixed Cost = ต้นทุนคงท่ี
Direct Materials = วตั ถดุ บิ ทางตรง Variable Cost = ตน้ ทุนผนั แปร
Direct Labor = คา่ แรงงานทางตรง Mixed Cost = ต้นทุนผสม
Manufacturing Overhead = คา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ Semi Mixed Cost = ตน้ ทุนกง่ึ คงที่
Indirect Materials = วัตถุดบิ ทางอ้อม
Indirect Labor = ค่าแรงทางออ้ ม Direct Cost = ตน้ ทนุ ทางตรง
Operating Expense = คา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงาน Indirect Cost = ต้นทุนทางออ้ ม
Selling Expense = คา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย Controllable Cost = ตน้ ทนุ ควบคมุ ได้
Administrative Expense = คา่ ใช้จ่ายในการบรหิ าร Non-Controllable Cost = ต้นทนุ ควบคุมไมไ่ ด้
Prime Cost = ต้นทุนขนั้ ตน้ Opportunity Cost = ตน้ ทุนค่าเสยี โอกาส
Differential Cost = ตน้ ทุนส่วนแตกตา่ ง Sunk Cost = ต้นทุนจม
Avoidable Cost = ตน้ ทุนทหี่ ลกี เลี่ยงไมไ่ ด้ Periodic Cost Accumulation System = ระบบสะสม
Job Order Cost System = ระบบตน้ ทนุ งานสงั่ ทำ ต้นทนุ แบบส้ินงวด
Variable Costing System = ระบบตน้ ทุนผนั แปร Perpetual Cost Accumulation System = ระบบ
Activity-based Costing = ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม สะสมต้นทนุ แบบต่อเนือ่ ง
Absorption Costing System = ระบบต้นทุนเต็ม

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบทดสอบ หนา้ ท่ี
13
ชอ่ื วิชา : การบัญชตี น้ ทุน 1 รหัสวิชา 3201-2003

งาน : ความรู้ท่วั ไปเกย่ี วกับบญั ชตี น้ ทนุ แผ่นท่ี 1/2

คำช้แี จง จงเลอื กคำตอบทถ่ี ูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดยี ว แล้วทำเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคำตอบ

สาขาวิชา : การบัญชี ใบทดสอบ หนา้ ที่
แผน่ ที่ 2/2 14
ชอ่ื วิชา : การบัญชีต้นทนุ 1 รหสั วชิ า 3201-2003

งาน : ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกับบญั ชตี น้ ทุน

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบเฉลยใบทดสอบ

ชอ่ื วิชา : การบัญชตี น้ ทุน 1 รหสั วิชา 3201-2003 หนา้ ท่ี
แผน่ ที่ 1/1 15
งาน : ความร้ทู ั่วไปเกย่ี วกับบัญชตี ้นทนุ

สาขาวิชา : การบัญชี ใบมอบหมายงาน

ชือ่ วิชา : การบัญชตี ้นทุน 1 รหสั วิชา 3201-2003 หนา้ ที่
แผ่นที่ 1/1 16
งาน : ความรทู้ ั่วไปเก่ียวกบั บัญชีต้นทนุ

จดุ ประสงคก์ ารมอบงาน
1. เพื่อใหผ้ เู้ รียนรูจ้ ักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
2. เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนได้ค้นควา้ หาความรเู้ พ่ิมเติม
3. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเอง

แนวทางการปฏิบัตงิ าน

ครมู อบหมายงาน นกั เรยี นค้นคว้า นกั เรียนนำเสนอ นักเรียนสง่ ผลงาน
เปน็ การบ้าน งานตนเอง ครูใหค้ ะแนน

แหลง่ ค้นควา้
หนังสือเรียน ตำราเรียน

คำถาม/ปัญหา
1. ในการค้นควา้ งานนักเรยี นพบปัญหาอะไรบ้าง
2. นกั เรียนแกป้ ัญหาอย่างไร
3. นกั เรียนไดอ้ ะไรจากการไปค้นควา้ งาน

กำหนดเวลาสง่ งาน
กอ่ นครสู อนคาบต่อไป

17

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุง่ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 2

ชอ่ื หนว่ ย ระบบบัญชีตน้ ทุน รวม 12 ช่ัวโมง
สอนครัง้ ที่ 4-6

เรอ่ื ง ระบบบัญชตี น้ ทุน จำนวน 12 ชั่วโมง

1. สาระสำคัญ

การสะสมต้นทนุ และการจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับต้นทนุ การผลิตสนิ ค้า นับเป็นงานทมี่ ีความสำคญั และ
ตอ้ งใช้เวลาอยา่ งมาก โดยทวั่ ไปการสะสมขอ้ มูลตน้ ทุนจะถูกเกบ็ รวบรวมตามข้นั ตอนหรือวธิ กี ารทก่ี ำหนด
ไว้ ข้อมลู เกย่ี วกบั การสะสมต้นทนุ หรอื การคิดตน้ ทุนของผลติ ภัณฑน์ ับวา่ เปน็ ข้อมลู พื้นฐานทีฝ่ า่ ยบรหิ าร
จำเป็นตอ้ งทำความเข้าใจและคำนวณหาตน้ ทุนของผลิตภัณฑ์

2. สมรรถนะประจำหน่วย

บอกความหมายของระบบบญั ชตี ้นทุนได้

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (มาตรฐานการเรยี นรู้)

3.1 ดา้ นความรู้
3.1.1 อธบิ ายความหมายของระบบบัญชีตน้ ทนุ ประเภทตา่ งๆ ได้
3.1.2 อธิบายความหมายของวงจรต้นทนุ การผลิตได้
3.1.3 บันทึกบัญชีตามวงจรต้นทุนได้
3.1.4 อธิบายความหมายและความสัมพันธ์ระหวา่ งบัญชีแยกประเภททวั่ ไปและบญั ชี
แยกประเภทโรงงานได้
3.1.5 บนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกับการผลิตในกรณที ี่โรงงานและสำนักงานแยกจากกนั ได้
3.1.6 อธิบายความหมายและความสัมพันธ์ระหวา่ งบัญชแี ยกประเภททวั่ ไปและบญั ชี
แยกประเภทโรงงานได้
3.1.7 บันทึกบัญชเี กี่ยวกับการผลิตในกรณที ่โี รงงานและสำนักงานแยกจากกันได้

3.2 ดา้ นทกั ษะ
3.2.1 บอกวิธีการบันทกึ บญั ชีตามวงจรตน้ ทุนได้

3.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
3.3.1 นกั ศึกษาเหน็ ความสำคญั และเข้าใจถงึ เหตุผลของการทำบญั ชี
3.3.2 นกั ศกึ ษามคี วามรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี

3.4 การประยุกต์ 3D และน้อมนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3.4.1 ผู้เรยี นมีการทำเป็นขนั้ ตอน การทำตามลำดับข้นั
3.4.2 ผู้เรยี นมวี นิ ยั มีความประหยดั
3.4.3 ผูส้ อนสอดแทรกปรัชญาเกีย่ วกับความประหยัดอดออม

18

แผนการจัดการเรียนรมู้ ่งุ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 2

ชือ่ หนว่ ย ระบบบัญชีต้นทนุ รวม 12 ชวั่ โมง
สอนครง้ั ที่ 4-6

เรอ่ื ง ระบบบัญชตี ้นทุน จำนวน 12 ชั่วโมง

4. เน้ือหาสาระการเรยี นรู้

4.1 ความหมายของระบบบัญชตี น้ ทนุ
4.2 ประเภทของระบบบัญชีตน้ ทุน
4.3 วงจรต้นทุน
4.4 ระบบการสะสมต้นทนุ
4.5 การบันทกึ บัญชีตามวงจรตน้ ทุน
4.6 บัญชีแยกประเภทโรงงาน

5 กจิ กรรมการเรียนการสอน

5.1 ขัน้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น(M)
นำเขา้ สูบ่ ทเรียนโดยกลา่ วถงึ ระบบบัญชีต้นทนุ

5.2 ขั้นการจดั เรียนรู้(I)
5.2.1 ทำแบบประเมินผลก่อนการเรยี น
5.2.2 ผูส้ อนและผูเ้ รยี นรว่ มกนั อภิปรายเร่ืองเกย่ี วกบั ระบบบัญชตี ้นทุน
5.2.3 ผ้เู รยี นศึกษาใบความรู้

5.3 ขัน้ สรปุ (A)

5.3.1 แบง่ กลุ่มผเู้ รียนมารายงานหนา้ ชนั้ เรียน
5.4 การวดั ผลและประเมนิ ผล(P)

5.4.1 การสังเกต
 ความตง้ั ใจและสนใจของผู้เรยี น
 ความร่วมมอื ในการอภิปราย
 การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตผุ ล

5.4.2 การตรวจผลงานภาคปฏบิ ตั ิ
 กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลงั การเรียนรู้

5.4.3 การทดสอบด้วยวาจาและข้อเขยี น
 ตรวจแบบทดสอบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
 ตั้งคำถามใหต้ อบและอธิบาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

19

แผนการจัดการเรยี นรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 2

ช่ือหนว่ ย ระบบบญั ชตี ้นทุน รวม 12 ชัว่ โมง
สอนคร้งั ท่ี 4-6

เร่อื ง ระบบบัญชตี ้นทนุ จำนวน 12 ชว่ั โมง

6. สื่อการการเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้

6.1 สอ่ื สิ่งพมิ พ์

หนังสอื เรียนวชิ าการบญั ชตี น้ ทนุ 1 : ของสำนกั พิมพ์เอมพนั ธ์

เอกสารประกอบการสอนการบัญชีต้นทุน 1 : ของรชต สายสวัสดิ์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั

อุดรธานี

7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)

7.1 ใบความรู้
7.2 ใบทดสอบ

7.3 ใบสัง่ งาน

8. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กบั วิชาอ่นื

8.1 วชิ าภาษาไทย เก่ียวกบั การใช้ภาษาด้านการพูด การอา่ น และการเขยี น

8.2 วชิ าคณิตศาสตร์ เกีย่ วกบั การคำนวณ

8.3 วชิ าภาษาอังกฤษ ด้านคำศัพทท์ างบัญชี

9. การวดั ผลและประเมนิ ผล

9.1 วธิ กี าร ดำเนินการวดั ผลในช่วงเวลา

(1) กอ่ นเรยี น โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน

(2) ระหวา่ งเรียน โดยการถามตอบและการสงั เกตการณ์ปฏบิ ตั งิ าน

(3) หลังเสร็จสน้ิ การเรียน โดยทำแบบทดสอบ

9.2 เกณฑ์การประเมนิ

(1) ผเู้ รยี นมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80

(2) ผู้เรียนมีคะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียนรอ้ ยละ 80

(3) ผูเ้ รียนบนั ทึกบญั ชกี ารซ้ือขายสนิ ค้าสมบูรณแ์ ละถกู ต้องทกุ คร้ัง

20

แผนการจดั การเรียนรมู้ ่งุ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 2

ช่ือหนว่ ย ระบบบญั ชตี ้นทนุ รวม 12 ชั่วโมง
สอนครง้ั ท่ี 4-6

เรือ่ ง ระบบบญั ชีตน้ ทุน จำนวน 12 ช่ัวโมง

10. บนั ทกึ หลงั การเรียนรู้

10.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้

1. เน้อื หาสอดคลอ้ งกับจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

2. สามารถนำไปใช้ปฏิบัตกิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรียนการสอน

3. ส่อื การสอนเหมาะสมดี

10.2 ผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น

1. นกั ศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจใฝร่ ู้ เขา้ ใจในบทเรียนร่วมกัน อภปิ ราย ตอบคำถาม

ในกลมุ่ และร่วมกันแสดงความคิดเหน็

2. นักศึกษากระตือรือร้นและรับผิดชอบในการทำงานกลมุ่ เพ่ือให้งานสำเร็จทนั เวลา

ท่ีกำหนด

10.3 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู้

1. สอนเนื้อหาไดค้ รบตามหลักสตู ร

2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลุมเน้อื หาการสอนทำใหผ้ ้สู อนสอนได้อยา่ งม่ันใจ

3. สอนได้ทนั ตามเวลาทกี่ ำหนด

………………………………………………
ผบู้ นั ทึกการสอน

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ที่ 1/9 21
ชอ่ื วิชา : การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหสั วิชา 3201-2003

งาน : ระบบบญั ชตี ้นทุน

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1. อธิบายความหมายของระบบบัญชีตน้ ทนุ ประเภทต่างๆ ได้
2. อธิบายความหมายของวงจรตน้ ทุนการผลติ ได้
3. บนั ทึกบญั ชีตามวงจรตน้ ทุนได้
4. อธิบายความหมายและความสมั พันธ์ระหว่างบัญชแี ยกประเภททว่ั ไปและบญั ชีแยกประเภทโรงงานได้
5. บันทกึ บญั ชเี กย่ี วกบั การผลติ ในกรณที ่ีโรงงานและสำนักงานแยกจากกันได้
6. อธิบายความหมายและความสมั พนั ธ์ระหว่างบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไปและบญั ชีแยกประเภทโรงงานได้
7. บันทึกบัญชเี กี่ยวกับการผลิตในกรณที ่โี รงงานและสำนกั งานแยกจากกนั ได้

เน้อื หาสาระ

1. ความหมายของระบบบัญชีตน้ ทุน

ระบบบัญชี หมายถึง ระบบการจดั เกบ็ ข้อมลู ทางการเงนิ อนั ประกอบด้วยแบบฟอร์มหรือเอกสารต่าง ๆ บันทกึ
ทางการบัญชี รายงาน ตลอดจนวธิ กี ารและอปุ กรณต์ ่างๆ ทนี่ ำมาใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกับการดำเนินงานและ
การเงินใหแ้ กฝ่ ่ายจดั การ เพ่ือชว่ ยให้ฝ่ายจัดการสามารถปฏิบตั หิ น้าทอ่ี ันอยู่ในความรบั ผดิ ชอบของตนใหล้ ุล่วงไปด้วยดี
และเพื่อเสนอข้อมูลแก่บุคคลภายนอก ผู้มีสว่ นเกยี่ วข้องในกจิ การ เช่น ผูถ้ อื หุ้น เจา้ หนี้

ระบบบัญชีต้นทุน (Cost System) หมายถงึ ระบบการจัดเก็บขอ้ มลู ทางดา้ นตน้ ทุนโดยอาศยั แบบฟอรม์ หรือ
เอกสารต่าง ๆ บนั ทกึ ทางดา้ นตน้ ทุน รายงาน เพอ่ื เสนอตอ่ ผู้บรหิ ารเป็นข้อมลู ในการบริหารภายใน เชน่ เพื่อควบคุม
ตน้ ทนุ วางแผนและตดั สินใจทางดา้ นการตลาดในกิจการขนาดใหญ่

2. ประเภทของระบบบัญชีต้นทนุ

ระบบต้นทนุ งานสง่ั ทำ ระบบนเี้ หมาะท่จี ะใชใ้ นกรณที ผี่ ลติ ภณั ฑ์มีความหลากหลายและมีลักษณะแตกต่างกัน
ตามความต้องการของลูกค้าลกั ษณะการผลติ แบบน้ี จะสามารถแยกตน้ ทนุ วัตถุดิบทางตรง คา่ แรงงานทางตรงและ
คา่ ใช้จา่ ยการผลิตของผลิตภณั ฑแ์ ตล่ ะชนดิ ได้ เม่อื งานชนิ้ ใดผลติ เสรจ็ กส็ ามารถทราบต้นทนุ ของงานชิ้นนน้ั ได้ทนั ที การ
รวบรวมต้นทนุ สำหรบั งานส่งั ทำนจ้ี ะใชร้ ะบบตน้ ทุนปกติ นัน่ คือ จะบนั ทกึ ต้นทนุ วตั ถดุ ิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง
แตค่ า่ ใช้จา่ ยการผลติ จะคำนวณตามอตั ราท่กี ำหนดขน้ึ ลว่ งหนา้ ตัวอยา่ งของธรุ กจิ ที่ใช้ระบบนี้ ได้แก่ กจิ การรับเหมา
กอ่ สรา้ ง กิจการผลติ เฟอรน์ ิเจอร์ โรงพิมพ์ รวมทั้งกิจการใหบ้ ริการ เช่น สำนักงานตรวจสอบบญั ชี สำนกั งานทนายความ
อซู่ อ่ มรถ เป็นต้น

ระบบตน้ ทุนชว่ งการผลิต เป็นระบบท่ีใช้ในกรณที กี่ ระบวนการผลติ เปน็ การผลิต ผลิตภัณฑ์ทมี่ ีลกั ษณะเหมือน ๆ
กัน ผลติ คร้ังละมาก ๆ เพอื่ ไวจ้ ำหน่าย การผลิตจะดำเนินไปอย่างสม่ำเสมอต่อเน่ือง การรวบรวมต้นทุนกจ็ ะกระทำ
ระหว่างท่ีการผลติ ดำเนนิ อยู่ ถ้าการผลิตต้องผ่านหลายแผนกการรวบรวมตน้ ทุนก็จะรวบรวมไวส้ ำหรบั แตล่ ะแผนก และ
โอนต่อไปยังแผนกถัดไปเร่อื ย ๆ จนถงึ แผนกสุดทา้ ย ต้นทุนรวมในแผนกสุดท้ายกจ็ ะเปน็ ทร่ี วมต้นทนุ ของทุก ๆ แผนกไว้
ดว้ ยกนั ตวั อย่าง ของผลติ ภัณฑ์ทใี่ ช้ระบบน้ี ได้แก่ ปนู ซเี มนต์ น้ำมัน นำ้ ตาล กระดาษ นำ้ อัดลม เป็นตน้

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผ่นท่ี 2/9 22
ชือ่ วิชา : การบัญชีตน้ ทนุ 1 รหัสวชิ า 3201-2003

งาน : ระบบบญั ชีตน้ ทนุ

ระบบตน้ ทนุ ทั้งสองมขี ้อแตกตา่ งโดยสรุปดังน้คี อื

รายการ ระบบต้นทุนงานส่ังทำ ระบบต้นทนุ ช่วงการผลติ

1. ลกั ษณะสนิ ค้า • มคี วามหลากหลายแตกตา่ งกัน • มลี กั ษณะเหมือน ๆ กัน
2. กระบวนการผลิต
3. การสะสมขอ้ มลู ต้นทุน • ผลิตตามคำสั่งแตล่ ะครงั้ ไปตาม • ผลิตตอ่ เนือ่ งกันไป คราวละเป็น
4. ตน้ ทุนตอ่ หน่วย จำนวนทล่ี กู ค้าต้องการ จำนวนมากเพอ่ื จำหน่ายท่ัวไป
5. การรายงานต้นทนุ
• แยกแต่ละงานสำหรับจำนวนท่ี • แยกแต่ละแผนกผลติ แล้วนำทุก
กำหนดไว้ แผนกมารวมกนั

• ต้นทนุ รวมแตล่ ะงานหารดว้ ย • ตน้ ทุนของแต่ละแผนก หารดว้ ย
จำนวนหนว่ ยของงานนนั้ หน่วยเทยี บสำเรจ็ รูปในแผนก
คำนวณเม่อื งานเสรจ็ นน้ั คำนวณตอนสน้ิ งวด

• แยกตามงานแตล่ ะช้นิ • แยกตามแผนกผลิต

รูปภาพที่ 1 ระบบบัญชตี น้ ทนุ งานสงั่ ทำ

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หน้าท่ี
แผน่ ที่ 3/9 23
ช่ือวิชา : การบัญชีต้นทุน 1 รหสั วิชา 3201-2003

งาน : ระบบบัญชีต้นทุน

รูปภาพท่ี 2 ระบบบัญชตี น้ ชว่ งการผลติ

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผน่ ท่ี 4/9 24
ชือ่ วิชา : การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหสั วิชา 3201-2003

งาน : ระบบบญั ชีตน้ ทุน

3. วงจรต้นทุน(Cost Flows)

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ที่ 5/9 25
ชอื่ วิชา : การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหัสวชิ า 3201-2003

งาน : ระบบบัญชตี น้ ทุน

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ท่ี
แผน่ ที่ 6/9 26
ชอื่ วิชา : การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหัสวชิ า 3201-2003

งาน : ระบบบัญชตี น้ ทุน

สาขาวิชา : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผน่ ที่ 7/9 27
ช่ือวิชา : การบัญชีตน้ ทนุ 1 รหัสวิชา 3201-2003

งาน : ระบบบัญชีตน้ ทนุ

4. ระบบการสะสมตน้ ทนุ (Cost accumulation systems)
ในกจิ การที่ทำการผลติ สนิ ค้าไม่ว่าจะเป็นกิจการขนาดเลก็ หรือขนาดกลางกต็ าม เรามักจะพบวา่ เอกสาร

ประกอบการลงบัญชีและรายการค้าต่าง ๆ จะมจี ำนวนมากนับเปน็ พัน ๆ รายการในแตล่ ะเดือนไม่ว่าจะเป็นเอกสารท่ี
เกี่ยวกบั ใบส่ังซื้อ ใบกำกับสินค้า เชค็ ใบสำคญั จ่าย ใบเสรจ็ รับเงนิ เป็นตน้ แต่ถา้ เป็นกิจการที่ผลิตขนาดใหญ่ จำนวน
เอกสารประกอบการลงบัญชแี ละรายการค้าต่าง ๆ มกั จะมีจำนวนมากถงึ หนงึ่ หมืน่ รายการในแตล่ ะเดอื น ดังนั้นระบบการ
สะสมต้นทุนจะมคี วามยงุ่ ยากมากน้อยเพยี งใด ก็จะขึน้ อยู่กบั จำนวนของเอกสารและรายการค้าน่ันเอง อกี ปจั จยั หนง่ึ ทจ่ี ะ
ส่งผลกระทบต่อการเลือกใช้ระบบการสะสมต้นทนุ กค็ อื ความพร้อมและความมปี ระสิทธภิ าพของพนกั งานบัญชีทจี่ ะ
ปฏบิ ตั ิงานตามระบบบัญชที ีว่ างไวด้ ีมากนอ้ ยเพยี งไร

การสะสมและการจำแนกขอ้ มูลเกย่ี วกับตน้ ทุนการผลิตสิตคา้ นับเปน็ งานทีม่ คี วามสำคัญและต้องใช้เวลาอย่าง
มาก โดยทั่วไปในทุก ๆ กจิ การการสะสมขอ้ มลู ของตน้ ทุนจะถูกเก็บรวบรวมตามข้ันตอนหรือวธิ กี ารทก่ี ำหนดไว้ ต้นทนุ ที่
เก่ียวกับการผลติ สนิ คา้ ทั้งหมด กจ็ ะถกู จำแนกออกเปน็ หมวดหมู่ตา่ ง ๆ ตามท่ฝี ่ายบรหิ ารต้องการ

ข้อมลู ทางดา้ นตน้ ทุนทแี่ สดงในลักษณะของ “ต้นทนุ รวม” (Total cost) จะมคี วามสำคญั น้อยมากตอ่ การใช้
เป็นข้อมลู เพือ่ การบรหิ าร จึงมักจะแสดงรายละเอยี ดเกยี่ วกบั ตน้ ทุนรวมเหล่านน้ั ใหม้ คี วามชดั เจนย่งิ ขน้ึ เชน่ เปน็ ต้นทนุ ที่
ประกอบด้วยต้นทุนอะไรบา้ ง ณ ระดับกิจกรรมใด เปน็ ต้น ดว้ ยเหตนุ ี้การแสดงต้นทุนจงึ แสดงเปน็ ตน้ ทุนตอ่ หนว่ ย (Unit
cost) ต้นทนุ ตอ่ ครั้ง (Cost per time) ตน้ ทนุ ต่อช่วั โมง (Cost per hour) ต้นทนุ ต่อตัน (Cost per ton) เปน็ ต้น ซึ่ง
ขอ้ มูลทางดา้ นต้นทนุ จะถกู นำมาคำนวณหาตน้ ทุนของสนิ ค้าหรือผลติ ภัณฑใ์ ด ๆ ใน 2 ระบบ คือ ระบบการสะสมต้นทนุ
แบบสนิ้ งวด (Periodic cost accumulation system) หรอื ระบบการสะสมแบบต่อเนอื่ ง (Perpetual cost
accumulation system)

4.1 ระบบการสะสมต้นทนุ แบบสนิ้ งวด (Periodic cost accumulation system) เปน็ ระบบการคดิ ต้นทุน
โดยจะทราบต้นทุนของสินค้าคงเหลือได้ ก็ตอ่ เมือ่ มีการตรวจนับและคำนวณต้นทุนของวตั ถุดบิ ทางตรงทีเ่ หลือ และทใ่ี ชใ้ น
การผลิต ต้นทนุ ของงานระหว่างผลติ และตน้ ทุนของสนิ ค้าสำเรจ็ รูป ซึ่งเป็นวธิ กี ารทจี่ ะใชเ้ มือ่ ตอ้ งการทราบข้อมลู เกยี่ วกบั
ตน้ ทนุ การผลติ สนิ คา้ ประกอบดว้ ยวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง คา่ ใช้จ่ายการผลติ ในวันสิ้นงวด

4.2 ระบบการสะสมตน้ ทุนแบบตอ่ เนอื่ ง (Perpetual cost accumulation system) เป็นระบบการคดิ ตน้ ทุน
ที่จะแสดงตน้ ทนุ ของวตั ถุดบิ ทางตรงคงเหลือ งานระหว่างผลติ สินค้าสำเรจ็ รปู คงเหลอื ตน้ ทนุ ทีผ่ ลติ สนิ คา้ ระหวา่ งงวด
ตลอดจนตน้ ทุนขาย ไดต้ ลอดเวลาท่ตี อ้ งการโดยใช้วิธกี ารทางบัญชี ในการแสดงข้อมลู เกยี่ วกบั ตน้ ทนุ เหลา่ น้ี มักใช้ใน
กิจการขนาดลางจนถงึ กิจการขนาดใหญ่

สาขาวชิ า : การบญั ชี ใบความรู้ หน้าที่
แผ่นท่ี 8/9 28
ชือ่ วิชา : การบัญชีตน้ ทุน 1 รหัสวิชา 3201-2003

งาน : ระบบบัญชีต้นทุน

5. การบันทกึ บัญชีตามวงจรตน้ ทนุ
การบนั ทกึ บัญชีตน้ ทนุ การผลติ ของผลิตภัณฑจ์ ะแยกบญั ชีออกตามลกั ษณะของต้นทุน คือ วตั ถุดบิ ทางตรง แรงงาน

ทางตรง และค่าใช้จา่ ยการผลติ หากในการผลิตน้ันจำเป็นจะตอ้ งใช้วัตถุดบิ หลายชนดิ จะแยกบญั ชีวตั ถุดิบออกตามชนดิ
หรอื แรงงานทางตรงหากมีการผลติ ในหลายแผนกหลาย หนว่ ยงานจะบนั ทึกแรงงานทางตรงของแต่ละหน่วยออกจากกนั
เชน่ เดยี วกบั คา่ ใช้จ่ายการผลติ เชน่ แรงงานทางอ้อม ค่าเช่า ค่าประกนั ภยั ค่าบำรงุ รักษา คา่ เส่อื มราคา ค่าภาษที รพั ยส์ นิ
เป็นต้น เพราะฉะนัน้ การบันทกึ บญั ชจี ำเป็นตอ้ งใชบ้ ญั ชีคุมยอดสำหรบั รายการท่ีเกดิ ขึ้น บญั ชีคุมยอดท่ใี ชอ่ ยู่เป็นประจำ
สำหรับบนั ทกึ ต้นทุน คือ

5.1 บัญชีวัตถดุ ิบ ใชบ้ ันทกึ รับเข้าและเบกิ วตั ถุดบิ ทางตรงไปใชโ้ ดยมีบญั ชีแยกประเภทยอ่ ยหรือบตั รวัตถดุ ิบสำหรับ
วตั ถดุ ิบแตล่ ะชนดิ

5.2 บัญชคี า่ แรง ใช้บนั ทกึ คา่ แรงท่ีคนงานแต่ละคนทำงานให้กบั กจิ การ โดยคำนวณคา่ แรงจากบตั รลงเวลาหรอื สมดุ
บันทกึ การทำงาน และจะเครดิตออกเมื่อโอนตน้ ทนุ ค่าแรงเขา้ บัญชีงานระหว่างทำ

5.3 บัญชคี า่ ใช้จ่ายการผลิต สำหรับบนั ทกึ ค่าทีใ่ ช้จ่ายในการผลติ ปกติเมอ่ื เกิดรายจา่ ยขนึ้ จะบันทกึ ไว้ในบัญชี
ค่าใชจ้ ่ายประเภทนัน้ แลว้ โอนมาเข้าบัญชคี า่ ใช้จ่ายการผลิตภายหลงั

5.4 บญั ชีค่าใช้จ่ายการผลิตคดิ เข้างาน สำหรบั บันทึกการโอนค่าใชจ้ ่ายการผลิตเข้าการผลติ โดยปกตมิ กั มีการ
กำหนดเกณฑห์ รอื อตั ราในการโอนไว้ล่วงหนา้ ซ่งึ อาจมียอดไมเ่ ท่ากบั บัญชีคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ ทีเ่ กิดขน้ึ จริงจนกวา่ จะมกี าร
โอนปิดบัญชี

5.5 บญั ชีงานระหว่างทำ ใช้เปน็ ท่รี วมตน้ ทุนของผลติ ภณั ฑ์ทกี่ ำลงั ดำเนินการผลิต บญั ชีนี้จงึ รบั โอนต้นทุนมาจาก
บัญชวี ัตถุดบิ บัญชคี ่าแรงและบญั ชคี า่ ใชจ้ ่ายการผลติ คิดเขา้ งาน

5.6 บญั ชสี ินค้าสำเร็จรูป เปน็ บญั ชที ่รี วบรวมตน้ ทนุ ของสนิ ค้าทผ่ี ลติ สำเรจ็ และยงั ไมไ่ ดจ้ ำหน่าย โดยรบั โอนต้นทนุ
มาจากบญั ชงี านระหว่างทำ และจะเครดิตออกเม่อื ไดจ้ ่ายหรอื ขายสนิ คา้ ออกไป

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบความรู้ หนา้ ที่
แผ่นท่ี 9/9 29
ชอ่ื วิชา : การบัญชีตน้ ทุน 1 รหสั วชิ า 3201-2003

งาน : ระบบบญั ชตี ้นทุน

6. บญั ชีแยกประเภทโรงงาน
การบนั ทกึ บญั ชีเกี่ยวกับกิจการการผลติ และการดำเนินงานทัว่ ไปรวมอยูใ่ นสมดุ บญั ชชี ุดเดยี วกบั อาจจะไมส่ ะดวก อกี

ทง้ั ยังคำนวณต้นทนุ สนิ คา้ ทผี่ ลติ ไดล้ า่ ช้า ซ่ึงจะส่งส่งกระทบตอ่ การควบคมุ และติดตามผลการดำเนินการของโรงงาน
ตลอดจนการใชข้ ้อมลู เพ่ือการตดั สนิ ใจในปญั หาตา่ งๆ เกยี่ วกบั การผลิตเพื่อขจดั ปญั หาดังกล่าวจึงมีการแยกการบนั ทึก
บญั ชอี อกเป็นสองชุดคือสมดุ แยกประเภทท่วั ไป ไวท้ ส่ี ำนักงานเพื่อบนั ทึกรายการเกีย่ วกับการดำเนนิ งานทัว่ ไป และ สมุด
แยกประเภทโรงงาน ไวท้ ่ีแผนบัญชีตน้ ทนุ ของโรงงาน เพ่อื บนั ทกึ รายงานเก่ียวกบั การผลติ

6.1 ข้อดีของการแยกบนั ทกึ รายการเกีย่ วกบั การผลติ ไว้ทโ่ี รงงาน
6.1.1 การบนั ทกึ บัญชีการผลติ และคำนวณต้นทุนสนิ คา้ ทผ่ี ลติ ไปด้วยความสะดวกและรวดเรว็
6.1.2 การแบง่ งานบัญชีระหวา่ งสำนักงานและโรงงานทำใหม้ ีการตรวจสอบการบันทกึ บญั ชรี ะหวา่ งกัน
6.1.3 ฝา่ ยบริหารสามารถนำขอ้ มลู บญั ชี และรายงานผลการปฏิบตั งิ านทแ่ี ผนกบนั ชีตน้ ทุน จดั ทำขนึ้ ไป

วางแผน ควบคุม และตดั สนิ ใจปัญหาทง้ั ทีเ่ กดิ เปน็ ปกติประจำวัน และ ปญั หาพิเศษทีต่ ้องตดั สินใจไดอ้ ย่างรวดเร็ว
6.2 การบนั ทึกบญั ชีกรณที ่ีใชส้ มดุ แยกประเภทโรงงาน
การบนั ทึกบญั ชีแยกออกเป็น 2 ชดุ นน้ั มไิ ดห้ มายความวา่ การการบันทกึ รายงานต่างๆ ของสำนักงานและ

โรงงานจะแยกกันโดยเดด็ ขาด เพราะระหวา่ งสำนกั งานและโรงงานยังตอ้ งมีรายการทมี่ ีความสมั พนั ธก์ ัน เชน่ สำนกั งาน
โอนสนิ ทรพั ยใ์ หโ้ รงงาน สำนักงานจ่ายคา่ แรงงานใหค้ นงานในโรงงาน หรอื จ่ายค่าใชจ้ ่ายการผลติ ใหส้ ำนกั งาน จะตง้ั พัก
รายงานทีต่ อ้ งบนั ทกึ ในสมุดบญั ชขี องโรงงาน หรือรายงานท่มี ีความสมั พนั ธ์กบั โรงงาน ไวใ้ นบญั ชีทมี่ ีช่ือวา่ “ บญั ชีแยก
ประเภทโรงงาน” โรงงาน จะต้งั พกั รายการท่ีตอ้ งบนั ทกึ ในสมดุ บญั ชีของสำนักงาน หรอื รายการทม่ี คี วามสัมพนั ธ์กบั
สำนักงานไวใ้ นบญั ชีทมี่ ีชื่อว่า “ บญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป” หรือแยกประเภทสำนักงานบญั ชีทัง้ สองเปน็ บัญชีระหวา่ งกนั
คิดเป็นบัญชีทีเ่ กดิ ข้ึนจากเหตุการณ์ทางบัญชีเดยี วกัน แตบ่ นั ทึกดา้ นตรงกนั ข้าม กล่าวคือ หากสำนักงานบันทกึ รายการ
เครดติ บญั ชแี ยกประเภทโรงงาน จากรายการเดยี วกันนท้ี างด้านโรงงานก็จะบันทึกเดบติ บญั ชีแยกประเภททั่วไป ดงั นนั้
ยอดคงเหลือของสองบัญชีนี้จะเทา่ กนั แต่จะอยู่ด้านตรงกันข้ามกัน และเม่อื ใดทกี่ จิ การปดิ งาน และในสมุดแยกประเภท
โรงงานท่โี รงงานมาจดั ทำงบทดลองรวมโดยตดั บญั ชีกันออกไป

สาขาวิชา : การบัญชี ใบทดสอบ หน้าที่
30
ชือ่ วิชา : การบัญชีต้นทนุ 1 รหัสวิชา 3201-2003

งาน : ระบบบัญชตี น้ ทนุ แผ่นที่ 1/2

คำชแ้ี จง จงเลอื กคำตอบทถี่ กู ตอ้ งทส่ี ุดเพียงคำตอบเดยี ว แลว้ ทำเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคำตอบ

สาขาวชิ า : การบัญชี ใบทดสอบ หนา้ ท่ี
แผ่นท่ี 2/2 31
ช่ือวิชา : การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหสั วชิ า 3201-2003

งาน : ระบบบญั ชีต้นทนุ