เฉลย งาน เครื่องยนต์ แก๊ส โซ่ ลี น 2101 2001

เนื้อหาครอบคลุมในเรื่องหลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะและ 2 จังหวะ โครงสร้างของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบหล่อลื่น ระบบระบายอากาศ และระบบควบคุมมลภาวะ

หนังสือ "งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน" เล่มนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาครอบคลุมในเรื่องหลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ และ 2 จังหวะ โครงสร้างของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระบบเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบระบายอากาศ และระบบความคุมมลภาวะ และในภาคผนวก ยังได้บรรจุเนื้อหาของเครื่องยนต์แก๊สโซลีนแบบ VVTI นอกจากนี้ยังได้บรรจุความรู้ทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ไว้ตรงตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ.2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ โดยในเล่มได้อธิบายเนื้อหาอย่างละเอียด เป็นลำดับขั้น พร้อมมีตัวอย่าง และข้อควรจำ รวมทั้งมีแบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อทบทวนความรู้ให้กับผู้เรียน

บทที่ 1 ประวัติเครื่องยนต์
บทที่ 2 โครงสร้างและการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
บทที่ 3 ประเภทของเครื่องยนต์
บทที่ 4 โครงสร้างและชิ้นส่วนของเครื่องยนต์
บทที่ 5 ระบบจุดระเบิด
บทที่ 6 ระบบเชื้อเพลิง
บทที่ 7 ระบบหล่อลื่นและสารหล่อลื่น
บทที่ 8 ระบบระบายความร้อน
บทที่ 9 ระบบไอเสีย
บทที่ 10 ระบบควบคุมมลภาวะและการกำจัดไอเสียของรถยนต์
บทที่ 11 การวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
บทที่ 12 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

หนังสือ "งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน" เล่มนี้มีเนื้อหาครอบคลุมหลักการทำงานเบื้องต้นของเครื่องยนต์และเทคโนโลยีใหม่ๆ สำหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน จึงเหมาะที่จะใช้เพื่อศึกษาหาความรู้ทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติได้เป็นอย่างดี เนื่องจากอาจารย์ที่จัดทำหนังสือเล่มนี้มีความรู้และประสบการณ์เป็นอย่างดีในด้านการสอนวิชาเครื่องยนต์แก๊สโซลีนโดยตรง อีกทั้งยังมีความอุตสาหะที่จะจัดทำหนังสือเล่มนี้ให้เป็นประโยชน์สำหรับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจโดยทั่วไปนายศุภร บุญเนาว์- ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา

ง(าGนaเsคoรliื่อnงeยEนnตgแ์ inกe๊สโJซoลb)นี รหสั วชิ า 20101-2001 หมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชพี กล่มุ สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งยนต์ หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พุทธศักราช 2562 สำ� นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ เรียบเรยี งโดย ผศ. น.อ. รามจิตติ ฤทธิศร วท.บ. (ทอ.วิศวกรรมเครอ่ื งกล) M.SC. (Thermal Power)

(งGาaนsเoคlรiือ่nงeยEนnตg์แinกส๊eโJซoลbนี ) ISBN 978-616-495-058-0 จัดพมิ พ์และจัดจ�ำหนา่ ยโดย.... บริษัทวังอักษร จำ� กดั 69/3 ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงวดั อรณุ เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพฯ 10600 โทร. 0-2472-3293-5 โทรสาร 0-2891-0742 Mobile : 08-8585-1521 e-Mail : [email protected] Facebook : ส�ำนักพมิ พ์ วงั อักษร http://www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 พ.ศ. 2562 จำ� นวน 3,000 เลม่ สงวนลขิ สทิ ธ์ิตามพระราชบัญญตั ลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยบรษิ ทั วงั อักษร จ�ำกัด ห้ามนำ� สว่ นใดสว่ นหน่ึงของหนงั สอื เลม่ น้ี ไปทำ� ซำ้� ดดั แปลงหรอื เผยแพร่ต่อสาธารณชน ไม่วา่ รูปแบบใด ๆ นอกจากไดร้ ับอนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากทางส�ำนกั พิมพ์เท่าน้ัน ชือ่ และเครอื่ งหมายการคา้ อื่น ๆ ท่ีอา้ งอิงในหนงั สือฉบบั น้ี เปน็ สทิ ธิโดยชอบดว้ ยกฎหมายของเจ้าของแต่ละราย โดยบริษทั วงั อกั ษร จำ� กดั มิได้อา้ งความเป็นเจา้ ของแตอ่ ยา่ งใด

ง(าGนaเsคoรliอ่ื nงeยEนnตg์แinกeส๊ โJซoลb)นี รหสั วิชา 20101-2001 จุดประสงค์รายวิชา เพอ่ื ให้ 1. เขา้ ใจเกีย่ วกับโครงสรา้ งและหลกั การทำ� งานของเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลีน 2. สามารถใชเ้ ครื่องมืออุปกรณ์ช่างยนต์ไดถ้ ูกตอ้ งตามขั้นตอน 3. สามารถถอด ประกอบ ตรวจสภาพชน้ิ ส่วน ปรบั แตง่ และบ�ำรงุ รกั ษาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4. มีกิจนิสัยท่ีดีในการท�ำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรูเ้ กีย่ วกบั โครงสรา้ งและหลักการทำ� งานของเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน 2. ถอด ประกอบช้ินส่วนเครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี ตามคู่มอื 3. ตรวจสภาพช้ินส่วนเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี ตามคูม่ อื 4. ปรับแต่งเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลนี ตามคมู่ อื 5. บำ� รุงรกั ษาช้ินส่วนเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี ตามคมู่ อื คำ� อธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั ความปลอดภยั ในการทำ� งาน การใชเ้ ครอ่ื งมอื อปุ กรณช์ า่ งยนต์ หลกั การ ท�ำงาน การถอดประกอบ ตรวจสภาพช้นิ สว่ นระบบน้ำ� มนั เชือ้ เพลงิ ระบบจดุ ระเบิด ระบบหลอ่ ล่นื ระบบระบายความร้อน ระบบไอดี ระบบไอเสีย การสตาร์ทเครอ่ื งยนต์ การปรบั แต่งและการบ�ำรุงรักษา เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน

ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะรายวิชา วิชา งานเครอื่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี รหสั วิชา 20101 - 2001 ท–ป–น 1-6-3 จำ� นวน 7 คาบ/สัปดาห์ รวม 126 คาบ สมรรถนะรายวิชา แสดงความ ู้รเ ่ีกยว ักบโครงส ้ราง แ ล ะ ห ัล ก ก า ร �ท ำ ง า น ข อ ง หนว่ ยท่ี เค ื่รองยนต์แก๊สโซ ีลน ถอด ประกอบช้ินส่วนเค ่ืรองยนต์ แ ๊กสโซ ีลนตาม ู่คมือ ตรวจสภาพ ิ้ชนส่วนเค ่ืรองยนต์ แ ๊กสโซลีนตาม ู่คมือ ป ัรบแต่งเคร่ืองยนต์แก๊สโซ ีลน ตามคู่ ืมอ บ�ำรุงรักษา ้ิชนส่วนเค ่ืรองยนต์ แก๊สโซ ีลนตาม ู่คมือ 1. ความปลอดภยั ในการท�ำงาน   2. การทำ� งานของเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน    3. ระบบไอดี ไอเสีย และเชอื้ เพลงิ    4. ระบบจา่ ยนำ้� มันเชอ้ื เพลงิ    5. ระบบหล่อลืน่ เคร่ืองยนต์    6. ระบบระบายความร้อนของเครือ่ งยนต์    7. ระบบไฟฟ้ารถยนต์    8. ระบบตดิ เคร่อื งยนตแ์ ละระบบอัดประจุ    9. ระบบไฟฟ้าจดุ ระเบดิ    10. การตรวจสอบชน้ิ สว่ นตา่ ง ๆ ของเครอ่ื งยนต์    11. การปรบั แตง่ เครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน   12. การบำ� รุงรักษาเครอ่ื งยนต์ 

คำ� น�ำ วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน รหัสวิชา 20101-2001 จัดอยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะประเภทวชิ าอุตสาหกรรมสาขาวชิ าช่างยนต์ตามหลักสตู รประกาศนียบตั ร วชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562 สำ� นกั งานคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) ผเู้ ขยี นไดบ้ รหิ ารสาระการเรยี นรู้ แบง่ ออกเปน็ 12 หนว่ ยการเรยี น ไดจ้ ัดแผนการจัดการเรียนร/ู้ แผนการสอนที่มงุ่ เน้นฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบรู ณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะ รายวิชา ค�ำอธิบายรายวิชาในแต่ละบทเรียนมุ่งให้ความส�ำคัญส่วนที่เป็นความรู้ ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ และสว่ นทเ่ี ปน็ ทกั ษะประสบการณ์ เรง่ พฒั นาบทบาทของผเู้ รยี นเปน็ ผจู้ ดั การแสวงหาความรู้ (Explorer) เปน็ ผสู้ อนตนเองไดส้ ร้างองคค์ วามรู้ใหม่ และบทบาทของผสู้ อนเปลี่ยนจากผู้ให้ความรู้ มาเปน็ ผจู้ ดั การชแี้ นะ (Teacher Roles)จดั สง่ิ แวดลอ้ มเออื้ อำ� นวยตอ่ ความสนใจเรยี นรู้ และเปน็ ผรู้ ว่ ม เรยี นรู้ (Co-investigator) จดั หอ้ งเรยี นเปน็ สถานทที่ ำ� งานรว่ มกนั (Learning Context) จดั กลมุ่ เรยี นรู้ ใหร้ จู้ กั ท�ำงานรว่ มกัน (Grouping) ฝึกความใจกว้าง มุ่งสรา้ งสรรคค์ นร่นุ ใหม่ สอนความสามารถที่นำ� ไป ท�ำงานได้ (Competency) สอนความรัก ความเมตตา (Compassion) ความเช่ือมั่น ความซ่ือสัตย์ (Trust) เปา้ หมายอาชีพอันยังประโยชน์ (Productive Career) และชีวิตที่มีศักด์ิศรี (Noble Life) เหนอื ส่ิงอน่ื ใด เป็นคนดที ้ังกาย วาจา ใจ มคี ุณธรรม จรรยาบรรณทางธรุ กจิ และวชิ าชพี สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (Vocational Qualification System) สอดคลอ้ งตามมาตรฐานอาชพี (Occupational Standard) สรา้ งภูมคิ มุ้ กัน เพมิ่ ขีดความสามารถใน การแขง่ ขันของประเทศ กำ� ลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการวิเคราะห์หน้าทกี่ ารงาน (Functional Analysis) เพือ่ ให้เกิดผลส�ำเรจ็ ใน ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมทุกสาขาอาชพี เป็นการเตรียมความพรอ้ มของผเู้ รยี นเข้าสู่สนามการแขง่ ขันใน ประชาคมอาเซยี น ขอขอบคุณ ท่านอาจารย์ผู้สอน ผู้ประสาทวิชาความรู้ เอกสาร หนังสือที่ใช้ประกอบใน การเรียบเรียงไว้ ณ โอกาสนี้ ผศ. น.อ. รามจิตติ ฤทธศิ ร

บทที่ 1 ความปลอดภยั ในการท�ำงาน สารบญั สาเหตุของการเกดิ อุบตั เิ หต ุ 1 สาเหตุของอบุ ตั เิ หตุ 2 ทฤษฎีโดมโิ นของการเกดิ อบุ ัติเหตุ 3 การปอ้ งกันอุบตั ิเหต ุ 5 การใชแ้ ละการบ�ำรงุ รักษาเคร่ืองมอื ขนาดเล็ก 7 การใช้เครอื่ งมอื ขบั เคล่ือนด้วยกำ� ลังไฟฟ้า 12 การใชเ้ ครอ่ื งจกั ร 13 อปุ กรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายจากอปุ กรณ์การถา่ ยทอดกำ� ลงั 14 การใช้เครื่องเจยี ระไน 15 สีและสัญลกั ษณค์ วามปลอดภัย 15 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 16 บทท่ี 2 การท�ำงานของเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน 21 เคร่อื งยนตส์ ันดาปภายใน 23 ชนดิ ของเครอ่ื งยนตล์ ูกสูบ 24 ช่วงชกั ของลกู สูบในกระบอกสูบ 25 การเปลีย่ นการเคลื่อนท่แี บบสลับเป็นการเคล่อื นที่แบบหมุน 26 การทำ� งานของเคร่อื งยนต ์ 27 ล้ินของเครอ่ื งยนต ์ 28 การทำ� งานของล้ิน 30 เครอ่ื งยนต์หลายสบู 31 ระบบสนับสนุนการทำ� งานของเคร่อื งยนต์ 32 ประเภทของเคร่ืองยนตต์ ามลกั ษณะกระบอกสบู และต�ำแหน่งตดิ ต้ัง 32 ตำ� แหนง่ ในการวางเครอ่ื งยนต์ 36 ประสิทธภิ าพเชงิ ความร้อน เชงิ กล และเชงิ ปรมิ าตร 38 การขจดั และอตั ราส่วนกำ� ลังอัดของกระบอกสบู 40 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ 41 ใบงานท่ี 2.1 การเคลอ่ื นย้ายเครอ่ื งยนต์ออกจากตัวรถ 42 บทที่ 3 ระบบไอดี ไอเสยี และเชอื้ เพลงิ 45 ระบบไอด ี 48 ระบบไอเสยี 49 ระบบเชอ้ื เพลงิ 53 ระบบจา่ ยนำ�้ มันเชื้อเพลงิ 55 เครอ่ื งแสดงในระบบเช้ือเพลิง 56 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทักษะ 62 ใบงานที่ 3.1 การเปลี่ยนปะเกน็ ฝาครอบล้นิ 65 บทท่ี 4 ระบบจ่ายนำ้� มนั เช้อื เพลงิ 68 คณุ สมบัตขิ องน้�ำมันเบนซนิ 72 การเผาไหม ้ 74 74

คา่ ออกเทน 77 ส่วนประกอบของระบบเชือ้ เพลิงแก๊สโซลนี 78 ชนิดและหลักการท�ำงานพน้ื ฐานของคาร์บูเรเตอร์ 84 หลกั การทำ� งานของหัวฉีดเช้อื เพลงิ 89 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 97 ใบงานท่ี 4.1 การถอดลกู สบู และกา้ นสบู ออกจากเสอื้ สูบ 100 ใบงานท่ี 4.2 การถอดประกอบลน้ิ จากฝาสูบ 103 บทท่ี 5 ระบบหลอ่ ล่นื เครอื่ งยนต ์ 105 หน้าทขี่ องระบบหลอ่ ล่ืน 106 น�ำ้ มนั หลอ่ ลืน่ 107 ส่วนประกอบน้ำ� มนั หล่อล่ืน 109 เครอื่ งแสดงในระบบหล่อลน่ื 114 ปัญหาที่เกดิ ขึ้นกบั ระบบหลอ่ ลน่ื 116 การบรกิ ารระบบหล่อลื่น 118 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 121 ใบงานที่ 5.1 การใส่แหวนลกู สบู 124 บทท่ี 6 ระบบระบายความรอ้ นของเครอ่ื งยนต์ 127 ระบบระบายความร้อน 128 สว่ นประกอบและการท�ำงานของระบบระบายความรอ้ น 130 ส่วนประกอบอน่ื ๆ ของระบบระบายความรอ้ น 138 เครือ่ งแสดงในระบบหลอ่ ล่นื 140 ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ กบั ระบบหลอ่ เย็น 142 การบริการระบบระบายความร้อน 143 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 146 ใบงานท่ี 6.1 การเปล่ยี นน้ำ� มนั เคร่อื ง 149 ใบงานที่ 6.2 การเปล่ียนปะเกน็ อา่ งนำ้� มันเครอ่ื ง 152 บทท่ี 7 ระบบไฟฟ้ารถยนต์ 155 ระบบไฟฟ้ารถยนต์ 156 สว่ นประกอบและการทำ� งานของระบบไฟฟา้ รถยนต์ 157 ทฤษฎีไฟฟ้าเบ้ืองต้น 164 กฎของโอหม์ 165 การดแู ลรักษาแบตเตอรี ่ 165 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 169 ใบงานที่ 7.1 การประกอบฝาสูบ 172 บทท่ี 8 ระบบติดเครอ่ื งยนตแ์ ละระบบอดั ประจ ุ 175 การทำ� งานของระบบตดิ เครอ่ื งยนต ์ 176 สว่ นประกอบของระบบตดิ เครอื่ งยนต ์ 178 ระบบอดั ประจุไฟฟา้ 179 ปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึนกับระบบอัดประจุ 186 การแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดข้นึ กับระบบอัดประจุ 187

แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 188 ใบงานที่ 8.1 การปรับระยะกระเด่อื งกดลิ้น 191 บทที่ 9 ระบบไฟฟ้าจุดระเบิด 194 หน้าที่ของระบบไฟฟา้ จุดระเบดิ 195 พน้ื ฐานการท�ำงานของระบบไฟฟ้าจุดระเบดิ เบ้อื งต้น 196 ระบบจดุ ระเบิดทางกล 197 ระบบจุดระเบิดอเิ ล็กทรอนิกส์ 203 ระบบจุดระเบิดแบบไรจ้ านจ่าย 205 ลำ� ดบั การจดุ ระเบิด 207 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 208 ใบงานที่ 9.1 การถอดใสห่ ัวเทยี นและการตรวจสอบ 211 214 บทท่ี 10 การตรวจสอบชิน้ สว่ นต่างๆ ของเครือ่ งยนต์ 215 การตรวจสอบระบบก�ำลงั อดั 222 การตรวจสอบระบบระบายความร้อน 229 การตรวจสอบระบบจุดระเบดิ 235 การตรวจสอบระบบตดิ เครอ่ื งยนต์ 239 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 243 ใบงานท่ี 10.1 การตง้ั ล้ินไอดแี ละไอเสีย 245 ใบงานที่ 10.2 การตรวจความโก่งของฝาสบู 249 250 บทท่ี 11 การปรบั แตง่ เครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี 251 กลไกการเผาไหม ้ 255 การปรบั แต่งเพือ่ แกป้ ญั หาข้อขดั ข้อง 257 การปรับแตง่ เครื่องยนต์เพื่อเพมิ่ สมรรถนะของเครื่องยนต์ 263 วิธกี ารปรบั แต่งเคร่อื งยนต์ 267 การปรับแตง่ เคร่ืองยนตใ์ นการใชแ้ กส๊ โซฮอล ์ 270 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ 273 ใบงานที่ 11.1 การวดั กำ� ลังอัดของเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลนี 275 279 บทที่ 12 การบำ� รุงรกั ษาเคร่ืองยนต ์ 286 รายการท่ีตรวจสอบ 289 การบำ� รุงรกั ษาเคร่อื งยนตใ์ นสว่ นประกอบหลัก 292 วงรอบในการปฏบิ ตั ิ 294 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ 297 ใบงานท่ี 12.1 งานตรวจสภาพและบ�ำรงุ รักษาเคร่ืองยนต์เลก็ แกส๊ โซลนี 307 ค�ำถามเพ่ือการทบทวน คำ� ศัพท ์ บรรณานุกรม

1 ความปลอดภัยในการท�ำ งาน จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม (Behavioral Objectives) หลังจากศึกษาจบบทเรยี นนแ้ี ลว้ นักศกึ ษาจะมีความสามารถดงั นี้ 1. บอกสาเหตขุ องการเกิดอบุ ัติเหตุได้ 2. อธบิ ายทฤษฎโี ดมโิ นของการเกิดอุบตั ิเหตไุ ด้ 3. ระบุวธิ กี ารป้องกนั อบุ ัติเหตไุ ด้ 4. ปฏิบัติการใชเ้ ครอ่ื งจักรและเครื่องมือชนดิ ตา่ งๆ ในการปฏิบตั ิงานได้ อย่างระมดั ระวังและถกู วธิ ี 5. ปฏิบตั ิการบำ�รุงรักษาเครอ่ื งจกั รและเคร่อื งมอื ชนดิ ต่างๆ ได้ 6. อธบิ ายเกี่ยวกับสีและสญั ลกั ษณค์ วามปลอดภัยได้

1 ความปลอดภัยในการท�ำ งาน ในการปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องจักรตา่ ง ๆ ในงานอุตสาหกรรมนัน้ ส่ิงที่ต้องค�ำนงึ ถึง เสมอ คอื ความปลอดภยั ซงึ่ หากการปอ้ งกันไมร่ ดั กมุ เพียงพอ ก็มคี วามเส่ียงสงู ในการท่จี ะไดร้ บั อนั ตราย จากการท�ำงาน ผลที่ตามมาก่อให้เกิดความเสียหายท้งั ผปู้ ฏิบัตงิ าน วัตถดุ ิบ และเครื่องจกั รในการผลิต อุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดข้ึนจากเคร่ืองมือเคร่ืองจักรน้ัน โดยส่วนใหญ่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจในเรือ่ งของเครอื่ งมอื เครอื่ งใช้ และความประมาทของผูป้ ฏิบตั งิ านเอง ความปลอดภัยในการท�ำงาน คือ สภาพท่ีปลอดภัยจากอุบัติเหตุต่าง ๆ ที่เกิดแก่ชีวิตหรือ ทรัพย์สิน ในขณะท่ีปฏิบัติงาน ดังน้ัน ความปลอดภัยในการท�ำงานนั้น คือสภาวะซึ่งท�ำงานได้โดย ปราศจาก “อบุ ัติเหต”ุ ในการท�ำงาน อบุ ตั เิ หตุ คือ เหตุการณท์ เี่ กิดข้ึนอยา่ งไม่คาดหมาย และเมอื่ เกิดขึ้นแล้วจะมผี ลกระทบกระเทือน ต่อการท�ำงาน ท�ำใหท้ รัพยส์ ินเสยี หาย หรอื บุคคลได้รับบาดเจบ็ สาเหตขุ องการเกดิ อบุ ัติเหตุ ก่อนท่จี ะไดศ้ ึกษาถึงสาเหตุของอุบัตเิ หตุและการปอ้ งกัน ตอ้ งทราบค�ำจ�ำกัดความของค�ำต่างๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกนั ดังน้ี ภัย (Hazard) หมายถึง สภาพการณ์ซง่ึ มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกดิ การบาดเจ็บต่อบุคคลหรือความ เสียหายตอ่ ทรัพย์สิน หรือกระทบกระเทือนต่อขดี ความสามารถในการปฏิบตั ิงานระดับปกติของบุคคล

งานเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน 3 อันตราย (Danger) หมายถงึ ระดับความรุนแรงท่ีเปน็ ผลเน่อื งมาจากภยั อันตรายจากภยั อาจ จะมีระดบั สงู ข้ึนหรือตำ่� ลงกไ็ ด้ ขึ้นอยู่กับมาตรการในการป้องกนั เช่น การท�ำงานบนทส่ี ูง สภาพการณ์ เชน่ นถี้ อื ได้วา่ เปน็ ภยั ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กิดการบาดเจ็บถึงตายได้หากมีการพลดั ตกลงมา ในกรณีนถ้ี อื ได้วา่ มีอันตรายอย่รู ะดับหน่งึ หากแตร่ ะดับอันตรายจะลดน้อยลงถา้ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานใช้ สายนริ ภยั (Harness) ขณะท�ำงาน เพราะโอกาสของการพลดั ตกและกอ่ ให้เกิดความบาดเจบ็ จะ ลดน้อยลง ความเสยี หาย (Damage) เป็นความรนุ แรงของการบาดเจ็บหรือความสญู เสยี ทางด้านกายภาพ หรือความเสียหายท่ีเกิดขึ้นตอ่ การปฏิบตั งิ าน หรือความเสยี หายทางดา้ นการเงนิ ทีเ่ กดิ ข้ึน เน่ืองจากขาด การควบคุมภัย ความปลอดภัย (Safety) โดยท่ัวไปหมายถึง “การปราศจากภยั ” ซง่ึ ในทางปฏิบตั ิเป็นไปไม่ ได้ท่จี ะขจดั ภัยทกุ ชนิดให้หมดไปโดยสน้ิ เชงิ ความปลอดภยั จงึ ให้หมายรวมถึงการปราศจากอันตรายที่มี โอกาสจะเกดิ ข้นึ ด้วย อุบัตเิ หตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ โดยมิไดว้ างแผนไว้ลว่ งหน้า ซึ่งกอ่ ใหเ้ กิด ความบาดเจ็บ พกิ าร หรือตาย และท�ำใหท้ รพั ยส์ นิ ไดร้ ับความเสียหาย ในเชงิ วิศวกรรมความปลอดภัยนน้ั นอกจากความหมายขา้ งต้นแลว้ อบุ ตั เิ หตยุ งั มีความหมายวา่ “เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ แล้ว จะมผี ลกระทบ กระเทอื นต่อกระบวนการผลติ ระดบั ปกติ ท�ำใหเ้ กิดความลา่ ช้า หยุด ชะงกั หรอื เสียเวลา แมจ้ ะไม่กอ่ ให้ เกดิ การบาดเจ็บ พิการ กต็ าม” สาเหตขุ องอบุ ัตเิ หตุ H.W. Heinrich เป็นบุคคลหนึง่ ทีไ่ ดศ้ กึ ษาถึงสาเหตุทกี่ ่อให้เกิดอบุ ัตเิ หตุอยา่ งจริงจงั ในโรงงาน อตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ ในปี ค.ศ. 1920 ผลจากการศึกษาวจิ ัย สรุปสาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตุท่ีส�ำคัญมี 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1. สาเหตุท่เี กดิ จากคน (Human Causes) มีจ�ำนวนสูงสดุ ถงึ รอ้ ยละ 88 ของการเกดิ อุบตั ิเหตทุ ัง้ ปวง สาเหตจุ ากคนเกดิ จากการท�ำงานทไ่ี ม่ถกู ตอ้ ง ความรเู้ ทา่ ไมถ่ ึงการณ์ ความพล้งั เผลอ ความประมาท การมนี ิสยั ชอบเสี่ยงในการท�ำงาน เปน็ ตน้ 2. สาเหตุทเี่ กิดจากความผิดพลาดของเครอ่ื งจักร (Mechanical Failure) มีจ�ำนวนเพียง ร้อยละ 10 ของการเกิดอุบตั เิ หตุทกุ ครั้ง ตวั อยา่ งเชน่ ไมม่ เี ครอ่ื งปอ้ งกนั สว่ นทีเ่ ปน็ อันตรายของเครือ่ งจักร เครอ่ื งจักร เครอ่ื งมอื หรอื อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ช�ำรดุ บกพร่อง รวมถึงผงั โรงงานไมเ่ หมาะสมสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานไม่ปลอดภยั เป็นต้น

4 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน 3. สาเหตทุ ี่เกิดจากดวงชะตา (Acts of God) มจี �ำนวนเพียงรอ้ ยละ 2 ท่สี าเหตเุ กดิ ข้ึนโดย ธรรมชาตินอกเหนือการควบคุมได้ เชน่ พายุ น้ำ� ท่วม ฟ้าผ่าเปน็ ตน้ สาเหตขุ องอุบัตเิ หตทุ ีเ่ กิดขน้ึ 3 ประการนัน้ สามารถสรุปเป็นสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดอบุ ตั เิ หตุ ในโรงงานได้ 2 ประการคอื 1. การกระทำ� ทไี่ มป่ ลอดภัย (Unsafe Acts) เป็นสาเหตใุ หญ่ที่กอ่ ใหเ้ กดิ อุบตั เิ หตุ คดิ เปน็ จ�ำนวนรอ้ ยละ 85 ของการเกดิ อุบัติเหตุทง้ั หมด 2. สภาพการณท์ ีไ่ มป่ ลอดภยั (Unsafe Conditions) เปน็ สาเหตุรองคิดเป็นจ�ำนวนร้อยละ 15 เทา่ น้ัน สาเหตจุ ากการกระท�ำท่ีไมป่ ลอดภัย ได้แก่ - การท�ำงานไม่ถูกวธิ ี หรอื ไม่ถกู ขั้นตอน - การมีทัศนคตทิ ่ไี ม่ถูกตอ้ งเชน่ อุบัติเหตุเปน็ เรือ่ งของเคราะหก์ รรม แก้ไขปอ้ งกนั ไมไ่ ด้ - ความไมเ่ อาใจใสใ่ นการท�ำงาน - ความประมาท พลัง้ เผลอ เหม่อลอย - การมีนสิ ยั ชอบเสย่ี ง - การไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บของความปลอดภัยในการท�ำงาน - การท�ำงานโดยไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) - แต่งกายไมเ่ หมาะสม - การถอดเครื่องก�ำบังส่วนอันตรายของเครื่องจักรออกด้วยความรู้สึกร�ำคาญ ท�ำงาน ไม่สะดวก หรอื ถอดออกเพือ่ ซ่อมแซมแล้วไมใ่ ส่คืน - การใชเ้ ครอื่ งมือ หรืออปุ กรณต์ ่าง ๆ ไมเ่ หมาะกบั งานเช่น การใชข้ วดแกว้ ตอกตะปูแทน การใช้ค้อน - การหยอกลอ้ กนั ระหว่างท�ำงาน - การท�ำงานโดยทีร่ า่ งกายและจติ ใจไม่พร้อมหรือผดิ ปกติ เชน่ ไมส่ บาย เมาคา้ ง มปี ญั หา ครอบครัว เปน็ ต้น สาเหตจุ ากสภาพการณท์ ่ไี ม่ปลอดภัย ไดแ้ ก่ - ส่วนที่เป็นอันตราย (ส่วนที่เคล่ือนไหว) ของเคร่ืองจักรไม่มีเคร่ืองก�ำบังหรืออุปกรณ์ ปอ้ งกันอันตราย - การวางผังโรงงานท่ไี ม่ถกู ต้อง - ความไมเ่ ป็นระเบยี บเรียบร้อยและสกปรกในการจัดเกบ็ วัสดุสิง่ ของ - พ้นื โรงงานขรขุ ระ เปน็ หลมุ บ่อ

งานเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี 5 - สภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานทไี่ มป่ ลอดภยั หรอื ไมถ่ กู สขุ อนามยั เชน่ แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ เสยี งดงั เกินควร ความรอ้ นสูง ฝุน่ ละออง ไอระเหยของสารเคมที เ่ี ปน็ พษิ เปน็ ตน้ - เครอ่ื งจกั รกล เครื่องมอื หรืออปุ กรณช์ �ำรดุ บกพร่อง ขาดการซ่อมแซมหรือบ�ำรงุ รกั ษา อย่างเหมาะสม - ระบบไฟฟ้า หรืออปุ กรณ์ไฟฟา้ ช�ำรดุ บกพรอ่ ง เปน็ ต้น ทฤษฎโี ดมโิ นของการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ ทฤษฎีโดมิโนของการเกิดอุบัติเหตุ สามารถเชื่อมโยงได้กับปรัชญาความปลอดภัย ของ H.W. Heinrich เกี่ยวกบั สาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตไุ ด้ ทฤษฎีโดมโิ น กลา่ วว่า การบาดเจบ็ และความเสียหาย ต่าง ๆ เป็นผลท่ีสืบเนื่องโดยตรงมาจากอุบัติเหตุ และอุบัติเหตุเป็นผลมาจากการกระท�ำที่ไม่ปลอดภัย หรือสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภยั ซึ่งเปรียบได้เหมือนตัวโดมิโนทเ่ี รียงกนั อยู่ 5 ตวั ใกล้กนั เม่อื ตัวท่หี นึง่ ลม้ ย่อมมีผลท�ำให้ตัวโดมโิ นถัดไปลม้ ตามกนั ไปด้วย ตวั โดมโิ นท้ังห้าตัว ดังรปู ท่ี 1.1 ได้แก่ 1. สภาพแวดลอ้ มหรอื ภมู หิ ลงั ของบคุ คล (Social Environment or Background) 2. ความบกพร่องผดิ ปกตขิ องบุคคล (Defects of Person) 3. การกระท�ำหรือสภาพการณท์ ี่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Acts/Unsafe Conditions) 4. อุบตั เิ หตุ (Accident) 5. การบาดเจ็บหรือเสยี หาย (Injury/Damages) รปู ท่ี 1.1 ตัวโดมโิ นท่ที ำ� ใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุ

6 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน สภาพแวดลอ้ มของสงั คมหรอื ภมู หิ ลงั ของคนใดคนหนงึ่ เชน่ สภาพครอบครวั ฐานะความเปน็ อยู่ การศึกษาอบรม ก่อให้เกิดความบกพร่องผิดปกติของคนน้ัน ทัศนคติต่อความปลอดภัยที่ไม่ถูกต้อง ชอบเส่ยี ง มักงา่ ย กอ่ ใหเ้ กดิ การกระท�ำทีไ่ ม่ปลอดภยั หรือสภาพการณท์ ี่ไมป่ ลอดภัย ซง่ึ จะท�ำก่อใหเ้ กิด อุบัติเหตแุ ละท�ำให้เกดิ การบาดเจบ็ หรือความสูญเสยี ตามมา ทฤษฎีโดมิโนนี้ มีผู้เรยี กช่อื ใหมเ่ ปน็ “ลกู โซ่ ของอุบตั ิเหตุ (Accident Chain)” ตามทฤษฎีโดมิโน หรือลูกโซ่ของอุบัติเหตุ เม่ือโดมิโนตัวท่ี 1 ล้ม ตัวถัดไปก็ล้มตาม ดังน้ัน การป้องกันอุบัติเหตุตามทฤษฎีโดนิโนนั้น หากไม่ให้โดมิโนตัวที่ 4 ล้ม (ไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ) ก็ต้องเอา โดมิโนตัวที่ 3 ออก (ก�ำจัดการกระท�ำหรือสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย) การบาดเจ็บหรือความเสียหาย ก็จะไมเ่ กิดขน้ึ ดังรูปท่ี 1.2 รปู ท่ี 1.2 ดึงตวั โดมโิ นตวั ท่ี 3 ออกจะไม่มผี ลกระทบตัวโดมิโนตวั ที่ 4 และ 5 การปอ้ งกันอบุ ตั เิ หตตุ ามทฤษฎีโดมโิ นหรือลูกโซ่อุบตั เิ หตุ กค็ ือ การตัดลกู โซอ่ ุบัติเหตุ โดยก�ำจัด การกระท�ำหรือสภาพการณ์ทีไ่ ม่ปลอดภยั ออกไปอุบัตเิ หตุก็ไมเ่ กิดขนึ้ สว่ นการทีจ่ ะแก้ไขป้องกนั ที่โดมโิ น ตวั ท่ี 1 (สภาพแวดลอ้ มของสังคมหรือภมู หิ ลังของบคุ คล) หรอื ตัวท่ี 2 (ความบกพรอ่ งผิดปกติของบุคคล) เป็นเร่ืองท่ีแก้ไขได้ยากกว่า เพราะเปน็ ส่งิ ที่เกิดขึน้ และปลูกฝังเป็นคุณสมบัตสิ ว่ นบคุ คลแล้ว อบุ ตั เิ หตทุ เี่ กดิ ขน้ึ ทกุ ครงั้ มใิ ชเ่ กดิ จากโชคชะตาหรอื เคราะหก์ รรมทเี่ หนอื การควบคมุ แตเ่ กดิ จาก สาเหตุทแ่ี ก้ไขและป้องกันได้ สาเหตขุ องอบุ ัตเิ หตุที่ส�ำคัญ ไดแ้ ก่การกระท�ำท่ไี ม่ปลอดภยั (Unsafe Acts) และสภาพการณท์ ไ่ี มป่ ลอดภยั (Unsafe Conditions) การปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตอุ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ท�ำไดโ้ ดย การก�ำจัดการกระท�ำหรือสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัยให้เหลือน้อยท่ีสุดหรือหมดไป สภาพการท�ำงาน ท่ีปลอดภัยกจ็ ะเกิดข้นึ ในทีส่ ุด

งานเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน 7 การป้องกันอบุ ตั เิ หตุ ตามที่ได้กล่าวมาแลว้ ว่า อุบตั ิเหตุในโรงงานอตุ สาหกรรมย่อมบังเกิดขนึ้ ไดเ้ สมอ ดังนัน้ จึงจ�ำเป็น ต้องหาทางป้องกันเพื่อให้มีอุบัติเหตุเกิดข้ึนน้อยท่ีสุด ซ่ึงในบทน้ีจะกล่าวถึงอุบัติเหตุที่ อาจจะเกิดขึ้น เนื่องจากการท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและวิธีป้องกันอุบัติเหตุต่าง ๆ เหล่าน้ัน ดังรายละเอียด ที่จะกลา่ วในหัวข้อตอ่ ไปนี้ การสวมเสือ้ ผ้า ในโรงงานทั่ว ๆ ไป ชดุ หมี (Boiler Suit) จะเหมาะทีส่ ดุ ท่จี ะใช้สวมในขณะปฏิบตั ิงาน เนอ่ื งจาก สามารถที่จะป้องกันอุบัติเหตุเบื้องต้นที่อาจจะเกิดข้ึนแก่ร่างกายได้ดี การสวมชุดหมี ท่ีถูกต้องน้ันต้อง สวมใส่อย่างรัดกุม ไม่รุ่มร่าม รวมถึงอุปกรณ์ป้องกันภัยอ่ืน ๆ เช่น หมวก แว่นตา ถุงมือ รองเท้านิรภัย ดังแสดงในรูปที่ 1.3 อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการแต่งตัวไม่เหมาะสม ในการปฏิบัติงานสามารถ สรุปได้ดงั นี้ รปู ท่ี 1.3 การสวมชดุ หมีทถี่ กู ต้อง

8 บทท่ี 1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน 1. การใส่เคร่ืองมือแหลมคม เคร่ืองมือแหลมคมที่ยื่นออกมาจากกระเป๋าเส้ือตรงบริเวณอก อาจเป็นสาเหตทุ �ำให้เกดิ อนั ตรายแกผ่ ูป้ ฏบิ ัตงิ านและผรู้ ว่ มงานได้ 2. กระดมุ เส้ือหลดุ หาย เมอ่ื กระดุมเสือ้ หลดุ หายก็ท�ำใหเ้ สอ้ื ผ้าทีส่ วมใสอ่ ย่เู กิดหลวม ร่มุ รา่ ม ออกจากตวั ผูส้ วมใส่ อาจจะท�ำให้ไปพนั กบั สว่ นของเครื่องจกั รที่ก�ำลังหมุนอยู่ได้ ถ้าเป็นงานเช่ือมโลหะ อาจท�ำให้เศษโลหะท่ีก�ำลังร้อนกระเด็นเข้าไปถูกผิวหนังได้ ทางเลือกหนึ่งอาจจะใช้ชุดหมีท่ีเป็นซิบยาว กลางตวั แทนชุดหมแี บบกลัดกระดมุ 3. ข้อมือเสื้อหลวม อาจเป็นสาเหตุท�ำให้ข้อมือเสื้อเข้าไปพันกับส่วนต่าง ๆ ของเครื่องจักร ที่ก�ำลงั หมนุ อยไู่ ด้ 4. กระเป๋าเส้ือขาด อาจท�ำให้เคร่ืองมือที่ใส่ไว้ในกระเป๋าเส้ือของผู้สวมหล่นลงมาท�ำให้เกิด อนั ตรายได้ 5. ชดุ ยาวเกินไป อาจเปน็ สาเหตทุ �ำให้หกล้มได้งา่ ยเม่อื ก้าวเดิน โดยเฉพาะตอนกา้ วขน้ึ บนั ได หรอื ขณะยกของหนัก เคร่ืองป้องกนั อ่ืนๆ (Safety Wears) การปอ้ งกันสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายทจี่ �ำเป็นก็คือ การป้องกนั ส่วนหวั ตา มอื และเทา้ เครอ่ื งมือ ทีเ่ หมาะสมจะกล่าวรายละเอียดดังตอ่ ไปคอื 1. การป้องกันส่วนหัว ผมยาวเป็นอันตรายอย่างมากต่อการท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะถ้าผมเข้าไปพันอยู่ในช้ินส่วนของเครื่องจักรท่ีก�ำลังหมุน อาจจะเป็นอันตรายถึงสมองได้ ควรตดั ผมใหเ้ รยี บร้อย แตถ่ ้าตอ้ งการไวผ้ มยาว เมือ่ เขา้ ท�ำงานในโรงงานทา่ นควรจะสวมหมวก คลุมผม ให้เรยี บร้อย ดงั รูปที่ 1.4 จะเปน็ การปอ้ งกนั อนั ตรายท่อี าจจะเกดิ ขึน้ และยงั ป้องกนั เชอื้ โรคได้เป็นอย่างดี อีกดว้ ย (ก) (ข) รูปท่ี 1.4 (ก) อนั ตรายทีเ่ กดิ จากการไวผ้ มยาว (ข) การป้องกนั โดยการสวมหมวกขณะปฏบิ ัติงาน

งานเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน 9 2. การป้องกนั สว่ นตา การปอ้ งกันตาใหพ้ น้ จากอบุ ตั ิเหตุทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึนนั้น เป็นเร่อื งทสี่ �ำคัญ ในการท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม การบาดเจบ็ ทเี่ กดิ ข้นึ กับดวงตา มสี าเหตทุ ่ีเกิดขึ้นได้ 4 อย่างคือ ก. การบาดเจ็บและการไหม้ของผิวหนังท่ีบริเวณตาที่เกิดขึ้นจากเศษหินเจียระไน หรือ เศษโลหะท่ีเกิดจากการเจยี ระไนกระเดน็ เข้าตา ข. อันตรายที่เกิดจาการแผ่รังสีของแสงอัลตราไวโอเลตและแสงท่ีมีความเข้มแห่งการ สอ่ งสว่าง เช่น การเชื่อมไฟฟา้ การเช่อื มแก๊ส เปน็ ตน้ ค. อนั ตรายทเี่ กดิ จากน้ำ� กรดหรอื ไอนำ�้ ยาเคมเี ข้าตา ง. การสญู เสียดวงตาเนอื่ งจากลกู นัยน์ตาแตก (Eyeball) หรือเส้นประสาทตาถูกท�ำลาย โดยเศษโลหะกระเด็นเขา้ ตา หรอื สงิ่ ของท่ีมนี ำ้� หนกั มากกระแทกดวงตา ดงั นน้ั ในการท�ำงานในสภาวะทเ่ี สย่ี งตอ่ อนั ตรายทไี่ ดก้ ลา่ วมา จงึ ควรสวมแวน่ ตานริ ภยั (Goggles) เสยี กอ่ น รปู แบบของแว่นตานิรภัยทีใ่ ชไ้ ด้แสดงไว้ในรูปท่ี 1.5 ชนิดปิดตา ชนดิ ปดิ หนา้ กนั ฝนุ่ และสารเคมี รูปท่ี 1.5 ตวั อยา่ งของแว่นตานิรภยั ท่ีใชใ้ นงานเจยี ระไน 3. การป้องกันหู ใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงซ่ึงเป็นอันตรายต่อการได้ยิน ส�ำหรับผู้ท่ีปฏิบัติงาน ในบริเวณท่ีมีเสียงดัง เช่น สนามบิน โรงงานทอผ้า โรงงานเหล็ก เสียงที่ดังจนเกินไปจะท�ำให้เสียสมาธิ ในการปฏบิ ตั งิ านจนเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตไุ ด้ นอกจากน้ี ถา้ ปฏบิ ตั งิ านภายใตส้ ภาวะทม่ี ี เสยี งดงั ไปนาน ๆ โดยขาดการป้องกัน จะส่งผลให้ประสาทของการได้ยินเสีย ท�ำให้เกิดการหูตึงหรือหนวกได้ อุปกรณ์ ปอ้ งกันหู เช่น ทค่ี รอบหู หรอื ปล๊กั อุดหู ดังรูป 1.6 จะช่วยลดระดบั เสียงท่ดี ังลงได้

10 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในการท�ำงาน รูปท่ี 1.6 อุปกรณป์ ้องกนั หู 4. การป้องกันมอื การปฏบิ ตั งิ านในโรงงาน มือจะถูกใชส้ �ำหรับการท�ำงานที่เกิดการเสย่ี งภัย ขนวตั ถุทีส่ กปรก นำ้� มนั จารบี วตั ถแุ หลมคม วตั ถทุ ี่ร้อน วัตถมุ ีพิษ และวตั ถทุ ่ีใช้ในการปอ้ งกนั การเกิด การกัดกร่อนบนผวิ งานโลหะ ดังนน้ั ในการท�ำงานจงึ จ�ำเป็นต้องใชถ้ งุ มือสวมเพ่ือปอ้ งกนั อนั ตรายท่ีอาจ จะเกิดกบั มือ ถุงมือมหี ลายขนาด และหลายชนดิ ให้เลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมกับสภาพของงานทท่ี �ำ 5. การป้องกนั เท้า ไมค่ วรสวมรองเทา้ ที่ไม่เหมาะสม เชน่ รองเทา้ ท่ที �ำด้วยฟองน้�ำ รองเท้า ผ้าใบ รองเทา้ ยาง และรองเทา้ ท่ที �ำด้วยไม้เน้ือออ่ นทกุ ชนดิ เขา้ มาท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม เพราะ รองเท้าพวกน้ี ไม่สามารถจะปอ้ งกันอันตรายท่อี าจจะเกดิ ขึน้ เชน่ การตกกระแทกของชิ้นงานโลหะ หรอื การกดทะลขุ องตะปไู ด้ รองเทา้ ทเ่ี หมาะสมกบั การท�ำงานในโรงงานอตุ สาหกรรมนนั้ ควรเปน็ รองเทา้ หวั เหลก็ และรองพน้ื ล่างด้วยแผ่นเหลก็ (Steel Toe-Cap) ดงั แสดงในรปู ท่ี 1.7 ซ่ึงเป็นรองเทา้ ท่ีมคี วามแข็งแรง ตามมาตรฐานองั กฤษ BS 1870 รองเทา้ หวั เหลก็ น้มี ีอยหู่ ลายแบบและหลายราคา เลือกสวมให้พอดเี ทา้ รปู ท่ี 1.7 รองเทา้ นิรภยั

งานเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี 11 พฤติกรรมของคนงานในโรงงาน (Worker’s Behavior) พฤติกรรมของคนงานในโรงงานเป็นตัวแปรส�ำคญั อยา่ งหนึง่ ท่ีจะท�ำใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตไุ ด้ พฤติกรรม เลินเล่อขณะปฏิบัติงาน เช่น การหยอกล้อเล่นหัวกันในขณะปฏิบัติงาน ท�ำงานแบบใจลอย ไม่ต้ังใจ ท�ำงาน หรือไม่เข้าใจขั้นตอนการท�ำงาน เหล่านีก้ ่อใหเ้ กิดอันตรายในการปฏบิ ัติงานทัง้ สิน้ ส่ิงแวดล้อมทางด้านพฤติกรรมท่ีมีลักษณะดังต่อไปน้ี คือ การท�ำงานท่ีขาดความรู้ความเข้าใจ (Foolish) การท�ำงานอยา่ งไมก่ ลวั อนั ตราย (Reckless) การหยอกลอ้ เลน่ กนั ในขณะท�ำงาน (Boisterous) โดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลจะน�ำไปสู่การการเกิดอุบัติเหตุได้ลักษณะทางด้านพฤติกรรมท่ีกล่าวมาแล้วน้ี เรียกว่า ฮอสเพลย์ (Horseplay) รูปแบบของอุบัติเหตุ เนื่องจากฮอสเพลย์ ข้ึนอยู่กับชนิดของงานท่ีท�ำและโอกาสที่จะน�ำไปสู่ อุบัติเหตุ โดยท่ัวไปมักจะเกิดข้ึนในขณะที่เครื่องจักรเกิดการหยุดชะงัก ในระหว่างการขนส่งภายใน โรงงาน มีงานให้คนงานท�ำน้อยเกินไป รวมไปถึงการท่ีคนงานต้องท�ำงานท่ีเกี่ยวข้องกับงานที่จะก่อให้ เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เช่น ท�ำงานท่ีเก่ียวกับไฟฟ้า การอัดอากาศ (Compressed Air) และสารเคมีท่ีมี อันตราย แนวทางหลักในการแกไ้ ขพฤติกรรมดงั กล่าวนี้ คือ การสรา้ งและปลกู ฝังจติ ส�ำนกึ ในเรอ่ื งความ ปลอดภัยให้กับผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งจะท�ำให้จิตส�ำนึกของผู้ปฏิบัติงานค�ำนึงถึงความส�ำคัญของเร่ืองอุบัติเหตุ ในการท�ำงานทุกคร้ังที่เร่ิมท�ำงาน จากน้ันจะเร่ิมวางแผนเพื่อหาทางป้องกันและปฏิบัติตามเป็นอย่างดี อนั จะสง่ ผลดใี นการชว่ ยลดอบุ ตั เิ หตทุ อ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ ตวั อยา่ งของการขาดความส�ำนกึ ในดา้ นความปลอดภยั เช่น พนกั งานคนหน่ึงซง่ึ จ�ำเป็นจะตอ้ งใช้หินเจียระไนอยู่เปน็ ประจ�ำ แต่ทกุ คร้ังเขาไม่เคยใชแ้ วน่ ตานริ ภยั เพือ่ ปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตเุ ลย ท้งั ๆ ที่เขาคดิ ว่าสกั วนั หนง่ึ เขาจะต้องประสบปัญหาทด่ี วงตาอย่างแน่นอนแสดง ว่าจิตส�ำนึกของเขายงั ไมถ่ ูกปลูกฝังในเรอ่ื งความปลอดภยั เป็นตน้ การยกวัตถุ การขนย้ายวัตถุเป็นปัญหาท่ีใหญ่ที่สุดอย่างหน่ึงที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรม อุบตั เิ หตทุ เ่ี กดิ จากการขนย้ายอาจมาจากสาเหตอุ ย่างใดอยา่ งหนึ่ง ดงั ต่อไปน้ี ก. ใช้เทคนิคในการยกวัตถไุ ม่ถูกตอ้ ง ข. แบกวัตถุทม่ี ีน้�ำหนักมากเกินไป ค. จับวตั ถุทจ่ี ะยกไมถ่ ูกต้อง ง. สวมเสือ้ ผา้ ไมถ่ ูกตอ้ ง จ. ความสะเพรา่ ไมต่ ัง้ ใจท�ำงาน

12 บทที่ 1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน จากรปู ที่ 1.8 น้ันแสดงใหเ้ หน็ ถงึ วธิ กี ารยกวัตถุทไ่ี ม่ถูกต้อง ซงึ่ อาจจะท�ำใหเ้ กดิ อุบตั ิเหตุ หรอื เกดิ การบาดเจ็บขนึ้ ได้ นอกจากน้ยี งั แสดงให้เห็นถงึ วิธแี ละขน้ั ตอนการยกวตั ถทุ ่ถี ูกต้อง วิธที ีผ่ ิด วธิ ที ่ีถกู ขน้ั ตอนการยกข้นึ หรอื ลง รปู ท่ี 1.8 การยกของและท่าการยก ในการยกหรือแบกวตั ถุ จ�ำเปน็ จะตอ้ งแต่งกายให้รดั กุมไมร่ มุ่ ร่ามเพ่ือปอ้ งกันอุบตั เิ หตุ รองเท้า ท่ีสวมควรเป็นรองเท้าท่ีสามารถป้องกนั วตั ถหุ ล่นกระแทกเท้าได้ และเมื่อต้องยกวัตถุท่ีขรุขระและมคี ม หรอื วตั ถทุ ม่ี อี นั ตราย ควรสวมถงุ มอื ใหเ้ รยี บรอ้ ย การยกวตั ถทุ ม่ี นี ำ�้ หนกั มาก ควรจะชว่ ยกนั ยกหลาย ๆ คน แตจ่ ะต้องมีคนส่งั การ (บอกทิศทาง) เพยี งคนเดียวเท่านนั้ การใชแ้ ละการบำ�รงุ รักษาเครื่องมอื ขนาดเลก็ ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มักจะไม่ค่อยค�ำนึงถึงอันตราย ที่จะเกิดจากการใช้เครื่องมือขนาดเล็ก และขาดการบ�ำรงุ รกั ษาเคร่อื งมอื ทด่ี ี การละเลยและมองความเร่ืองความปลอดภัย ท�ำให้บางคร้งั มักใช้ เครือ่ งมอื ผดิ ลักษณะงาน เช่น อาจใช้ประแจแทนคอ้ น หรืออาจใชต้ ะไบงัดวตั ถทุ หี่ นกั แทนเครอื่ งมอื งดั ซง่ึ เปน็ การท�ำใหเ้ ครอ่ื งมอื สกึ หรอ เสยี หายและอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตใุ นการใชต้ อ่ ไป ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั เมอ่ื พบ ข้อบกพรอ่ งของเครื่องมอื เหลา่ น้ัน ก็ไม่ยอมปรับปรงุ แกไ้ ข เช่น สลกั หวั ค้อนหลดุ หรอื คลอน หวั สกัดบาน เปน็ เห็ด การใชต้ ะไบไม่มีดา้ ม เปน็ ต้น ตัวอย่าง การใช้เครอ่ื งมือขนาดเล็กไมถ่ ูกต้องและขาดการบ�ำรุง รักษาที่ดีนัน้ ไดแ้ สดงไวด้ งั รปู 1.9

งานเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี 13 รูปที่ 1.9 การใชเ้ คร่อื งมือขนาดเลก็ ทอี่ าจท�ำให้เกิดอนั ตราย การใชเ้ คร่อื งมือขับเคลือ่ นดว้ ยก�ำ ลงั ไฟฟ้า เครื่องมอื ในโรงงานบางชนิด เชน่ สว่านมือ เคร่ืองเจยี ระไนมอื เครอื่ งตัดโลหะมือ เป็นเครอื่ งมือ ขบั เคล่อื นโดยใช้ก�ำลงั ไฟฟ้า ดังน้นั ในการน�ำมาใช้งาน ถา้ ขาดการบ�ำรุงรักษาที่ดีแลว้ อาจจะก่อให้เกิด อบุ ตั เิ หตุจากการใชง้ านข้ึนได้ ควรตรวจสอบและให้ปฏิบัติตาม ดงั น้ี 1. ตรวจสอบการต่อสายดิน และมีฉนวนหุ้มส่วนที่อาจจะเกิดอุบัติเหตุบนเคร่ืองมือนั้นให้ เรียบร้อย 2. ใหร้ ายงานถึงสภาพการใช้งานทไี่ มป่ ลอดภยั และอยา่ ใช้เคร่ืองมอื นัน้ จนกระทัง่ เคร่อื งมือนัน้ ได้ถูกแก้ไขสว่ นทบ่ี กพร่องใหเ้ รียบร้อยโดยชา่ งที่มคี วามช�ำนาญ ซง่ึ ได้แก่ การซ่อมแซมส่วนที่ช�ำรดุ เชน่ ฉนวนหุ้มสายไฟแตก ปลก๊ั ไฟหลวมหรอื แตก และการเกดิ การสปารค์ (Spark) เปน็ ต้น 3. อยา่ ใชง้ านมอเตอรไ์ ฟฟา้ เกนิ ก�ำลงั ทจ่ี ะรบั ได้ เพราะอาจท�ำใหม้ อเตอรห์ รอื ฉนวนหมุ้ สายไฟไหม้

14 บทที่ 1 ความปลอดภัยในการทำ� งาน 4. อยา่ น�ำเครือ่ งมือไปใช้งานในบริเวณใกล้กับสว่ นทอี่ าจเกดิ เปลวไฟ ไอควนั หรือกา๊ ซ นอกเสยี จากว่าเครื่องมือน้นั ไดถ้ ูกออกแบบใหน้ �ำไปใช้ได้ เพราะสะเกด็ เปลวไฟท่ีเกดิ จากการสปารค์ ของเคร่ืองมอื อาจท�ำใหเ้ กดิ การลุกไหมห้ รือระเบดิ ข้ึนได้ 5. ไมค่ วรน�ำเครอื่ งมอื ไปในบรเิ วณทชี่ นื้ แฉะ ส�ำหรบั เครอ่ื งมอื ทมี่ คี วามตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ตำ�่ (นอ้ ยกวา่ 50 โวลต์) ท่ีต่อเข้ากับหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดไอโซเลทติง ทรานสฟอร์เมอร์ (Isolating Transformer) จะใชห้ รอื ไมใ่ ชส้ วิตช์ตอ่ สายไฟลงดนิ กไ็ ด้ การใช้เครื่องจกั ร เครื่องจักรท่ีใช้ตัดหรือปาดผิวโลหะนั้น หากใช้อย่างไม่ถูกต้องและขาดความระมัดระวังจะเกิด อันตรายได้ตลอดเวลา ขอ้ ควรระวงั ในการใช้งาน ดังนี้ 1. ห้ามใชเ้ คร่อื งจักรโดยไมม่ ีหน้าทีห่ รอื ไดร้ ับการฝกึ อบรมมากอ่ น 2. ก่อนที่จะเดินเคร่ืองจักรจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้งานของเคร่ืองจักร และอุบัติเหตุท่ีอาจ จะเกิดข้ึนบนเคร่อื งจักร 3. อย่าเดินเคร่ืองจักรโดยไม่มีอุปกรณ์ครอบป้องกันอุบัติเหตุ (Guards) หรือใช้เครื่องจักร ท่ีช�ำรุดอยู่ 4. ควรสวมใส่อุปกรณป์ ้องกนั อุบตั ิเหตทุ ่เี หมาะสมกับงานเมือ่ ใชเ้ ครื่องจักรน้นั 5. ก่อนปฏิบตั งิ านควรจะต้องตรวจสอบสภาพของเครือ่ งจกั รว่าอย่ใู นสภาพดอี ยเู่ สมอ 6. อยา่ ทิง้ หรือวางเครื่องมือคาไวบ้ นเคร่อื งจกั ร 7. ต้องเข้าใจและปฏิบัติตามกฎหรือข้อก�ำหนดพิเศษเกี่ยวกับการใช้งานของเคร่ืองจักรน้ันโดย เคร่งครัด 8. อย่าท�ำความสะอาด ปรับเครื่องจกั รใหม่ หรือวัดชิ้นงานขณะทเี่ คร่ืองจักรก�ำลังหมนุ อยู่ 9. หยุดการใช้งานของเครื่องจักรทันทีเมื่อเห็นว่าจะเกิดอุบัติเหตุจากการใช้งาน และควรท�ำ รายงานเพอ่ื ใหผ้ ู้เก่ียวข้องมาท�ำการแก้ไขใหเ้ รียบรอ้ ย 10. ขณะท�ำการตรวจสอบ แกไ้ ข หรอื ซอ่ มบ�ำรงุ รกั ษาเครอ่ื งจกั รใหแ้ ขวนปา้ ยเตอื น และใสก่ ญุ แจ ลอ็ กตู้จา่ ยไฟฟา้ ตลอดเวลา 11. เมอ่ื เลกิ ใชเ้ ครอ่ื งจกั รตอ้ งท�ำความสะอาดเครอ่ื งจกั รใหเ้ รยี บรอ้ ย และบ�ำรงุ รกั ษาใหเ้ ครอื่ งจกั ร อยใู่ นสภาพสามารถใชง้ านไดต้ ลอดไป

งานเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี 15 อปุ กรณ์ปอ้ งกนั อนั ตราย จากอุปกรณก์ ารถา่ ยทอดก�ำ ลงั เครื่องจักรจะประกอบไปด้วยอุปกรณ์เกี่ยวกับการส่งก�ำลัง (Transmission) เช่น ระบบเกียร์ สายพาน เพลา และคัพปลิ้ง (Coupling) ซ่ึงอุปกรณ์ท่ีกล่าวมาน้ี เป็นอุปกรณ์ท่ีมีการเคลื่อนไหว ขณะท�ำงาน เม่อื สว่ นใดส่วนหน่งึ ของรา่ งกาย รวมถึงเสือ้ ผา้ เครือ่ งมอื อื่น ๆ ไปขัดขวางการท�ำงานอาจจะ ท�ำให้เกิดอนั ตรายได้ ดงั นน้ั จึงต้องสรา้ งอุปกรณ์ปอ้ งกันขน้ึ มา ซ่ึงอุปกรณ์ปอ้ งกันดังกลา่ วตอ้ งมกี ารถอด ออกมาเพอ่ื ตรวจสอบ และบ�ำรุงรักษาสว่ นท่ชี �ำรุดสึกหรอ และประกอบกลับเข้าไปดงั เดมิ ขอ้ ควรปฏิบัติ ในการถอดหรือประกอบอุปกรณ์ป้องกันเหลา่ น้ี มดี ังน้ี 1. ให้หยดุ เครอื่ งจกั รเสียก่อน 2. ให้สับสวิตซ์ตัดไฟลง และเก็บกุญแจตู้สวิตช์ไฟไว้ในกระเป๋าเสื้อของช่างซ่อมเคร่ืองจักร จนกวา่ การซอ่ มแซมเสรจ็ แล้วจึงสบั สวิตซต์ ัดไฟขึ้น 3. ถา้ ไม่สามารถจะสบั สวิตซต์ ัดไฟได้ ให้ดึงฟิวส์ออก และน�ำเก็บไว้ในที่ปลอดภยั ในบางกรณีเพ่ือปอ้ งกนั อุบัตเิ หตุทอี่ าจจะเกิดข้ึน ผู้ออกแบบเครอื่ งจักรจะออกแบบใหใ้ ชอ้ ปุ กรณ์ ป้องกนั ภัยร่วม (Interlocked Guard) แทน อปุ กรณน์ จี้ ะตดั การท�ำงานของเคร่ืองจกั รตราบเทา่ ทอี่ ุปกรณ์ ป้องกนั ยงั ไมไ่ ดป้ ระกอบกลบั เข้าไป การใช้เครือ่ งเจยี ระไน เครื่องเจียระไนชนิดต้ังโต๊ะ ส�ำหรับใช้ลับความคมของเคร่ืองมือหรือใช้เจียระไนช้ินงานน้ันจะ ประกอบด้วยแกนเพลา 1 แกน และมีหินเจียรติดอยู่ที่ปลายแกนเพลาทั้งสองด้าน ด้านหน่ึงจะเป็น หินเจียรชนิดหยาบ อีกด้านหนึ่งเป็นหินเจียรชนิดละเอียด หินเจียรท่ีติดอยู่บนเครื่องเจียระไนจะหมุน ดว้ ยความเรว็ สงู ประมาณ 3,000 รอบต่อนาที อันเปน็ เหตุให้เกิดอนั ตรายขณะใชง้ านได้ ขอ้ ควรปฏบิ ัติใน การใช้งานเคร่อื งเจยี ระไน มีดงั นี้ 1. ตรวจดคู วามเรยี บรอ้ ยของเครอ่ื งกอ่ น เชน่ หนา้ หนิ เจยี รไมเ่ ปน็ รอ่ ง ไมม่ รี อยแตก แปน้ เกลยี ว ทใี่ ชจ้ บั ยึดหนิ เจียรไมห่ ลวม 2. จะต้องมีการปรับแป้นรองรับวัตถุที่จะเจียระไนชิ้นงาน ซึ่งจะต้องปรับแป้นน้ีให้ได้มุมที่ ถูกต้องตามต้องการ และจะต้องวางให้อยูใ่ กลช้ ดิ กบั หน้าหนิ เจียร โดยควรมีชอ่ งวา่ งไมเ่ กนิ 1/8 นวิ้ (หรือ ประมาณ 3 มิลลิเมตร) ดังรปู 1.10 ถา้ ช่องว่างห่างมากเกินไป อาจจะเกดิ อุบตั เิ หตใุ นขณะท�ำงานได้

16 บทท่ี 1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน รูปท่ี 1.10 เครอ่ื งเจยี ระไน 3. ในขณะท่ีเจียระไนชิ้นงาน ควรใช้กระจกที่ติดอยู่กับเครื่องเจียระไนบังตา เพ่ือป้องกัน เศษหนิ เจยี รหรอื เศษโลหะกระเด็นเขา้ ตา หรอื อาจจะสวมแวน่ ตานริ ภัยป้องกันกไ็ ด้ 4. ตอ้ งจดั กระปอ๋ งใสน่ ำ้� เอาไวใ้ กล้ ๆ เครอ่ื งเจยี ระไนเพอื่ เอาไวจ้ มุ่ ชนิ้ งานไมใ่ หร้ อ้ นจดั จนเกนิ ไป 5. ในขณะท่ีก�ำลังเจยี ระไนตอ้ งจับชน้ิ งานให้แนน่ ถ้าเปน็ ชนิ้ งานขนาดเล็กควรใช้คมี ลอ็ ค (Vise Grip) ชว่ ยจบั เนอื่ งจากเครอ่ื งเจยี ระไนมคี วามเรว็ รอบสงู ดงั นน้ั การใชง้ านผใู้ ชจ้ ะตอ้ งระมดั ระวงั อนั ตรายใหม้ าก อันตรายที่อาจจะเกิดข้ึนได้แก่ เศษหินหรือเศษโลหะที่เจียระไนกระเด็นเข้าตาหรือถูกผิวหนัง นิ้วมือ ไปสัมผัสกับหน้าหินเจียร ผิวหนังพองเพราะจับชิ้นงานร้อน ช้ินงานหลุดจากมือท�ำให้หินเจียรแตกหรือ กระเด็นออกมาโดนได้ สีและสัญลกั ษณค์ วามปลอดภยั การปฏิบัติงานในโรงงานมรี ะเบยี บปฏิบัติ ขอ้ หา้ ม และค�ำแนะน�ำตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหผ้ ้เู ขา้ ปฏิบตั งิ าน ท�ำงานได้อย่างปลอดภัยและเป็นระเบียบเรียบร้อย เหล่าน้จี ะระบไุ วบ้ นป้ายบอก ป้ายสัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ไว้ ให้พบเห็นโดยทั่วไป แสดงตัวอย่างดังรูป 1.11 โดยมีการก�ำหนดเป็นสีและสัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานที่ เข้าใจกันโดยทวั่ ไป ซง่ึ จะอธิบายไว้พอสงั เขปดงั นี้

งานเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลีน 17 รูปที่ 1.11 รปู รา่ งของปา้ ย 1. ความหมายของสี สีที่ปรากฏบนปา้ ย มีความหมายดังนี้ สี ความหมาย ตวั อยา่ ง แดง หา้ ม (Prohibition Signs) - ห้ามสมั ผัส น้ำ� เงิน บังคับใหป้ ฏิบัติ (Mandatory Signs) - บังคับให้สวมครอบหู เขยี ว แสดงภาวะปลอดภยั (Safe Condition Signs) - ทางออกฉุกเฉิน เหลอื ง เตอื นอันตราย (Warning Signs) - ระวงั ไฟฟ้าแรงสงู 2. สัญลักษณ์ มีการแสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ภายในป้าย สัญลักษณ์น้ีประกอบไปด้วย เครื่องหมายห้าม เคร่อื งหมายบงั คบั เคร่อื งหมายสภาวะปลอดภัย และเครอ่ื งหมายเตอื น ดังนี้ 2.1 เคร่ืองหมายห้าม ลักษณะป้ายเป็นกรอบวงกลมคาดขวางสีแดง พื้นสีขาว มีรูป สัญลักษณ์สีด�ำตรงกลาง ตัวอยา่ งดงั รปู ที่ 1.12 สญั ลกั ษณ์จะแสดงนัยให้เขา้ ใจงา่ ยวา่ ต้องการ “ห้าม” อะไร

18 บทท่ี 1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน รปู ที่ 1.12 เคร่อื งหมายหา้ ม

งานเคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี 19 2.2 เครื่องหมายบังคับให้ปฏิบัติ ใช้พ้ืนสีน้�ำเงินตัดกับเส้นสีขาว โดยมีสัญลักษณ์ภาพ อยู่ตรงกลาง ตวั อย่างดังรปู ท่ี 1.13 รูปท่ี 1.13 เครอ่ื งหมายบงั คับให้ปฏิบตั ิ 2.3 เครื่องหมายแสดงภาวะปลอดภัย ใชพ้ น้ื สเี ขยี วตัดกบั เสน้ สีขาว โดยมีสัญลักษณภ์ าพ อยูต่ รงกลาง แสดงตัวอยา่ งในรูปที่ 1.14 รูปที่ 1.14 เครอื่ งหมายแสดงภาวะปลอดภยั

20 บทท่ี 1 ความปลอดภยั ในการทำ� งาน 2.4 เครือ่ งหมายเตอื นอนั ตราย ใชพ้ ื้นสีเหลืองตัดกับเส้นสดี �ำ กรอบเปน็ สามเหลี่ยม โดยมี สญั ลักษณภ์ าพอยตู่ รงกลาง แสดงตวั อย่างในรูปที่ 1.15 รูปท่ี 1.15 เครอื่ งหมายเตอื นอันตราย

งานเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี 21 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทักษะ บทท่ี 1 ความปลอดภยั ในการทำ�งาน ตอนที่ 1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่าง ประกอบ) ตอบแบบสัน้ 1. ให้อธบิ ายถงึ การสวมเสอ้ื ผ้าแบบชุดหมี (Boiler Suit) และการใช้อุปกรณป์ อ้ งกนั ภยั สว่ นบุคคลด้วย วิธที ถ่ี ูกต้องมาให้ทราบ 2. ทา่ นคดิ วา่ อนั ตรายทจี่ ะเกดิ ขนึ้ กบั ดวงตาเมอื่ ท�ำงานในโรงงานอตุ สาหกรรมมอี ะไรบา้ ง และจะหาทาง ป้องกนั ไดอ้ ย่างไร 3. การท�ำงานในโรงกลงึ โลหะท่านควรจะปฏบิ ัตติ วั อยา่ งไร จึงจะปลอดภยั จากอนั ตรายที่จะเกิดขน้ึ 4. พฤติกรรมของคนงานในโรงงานมสี ว่ นช่วยใหเ้ กิดอุบัตเิ หตุอย่างไร 5. ใหอ้ ธบิ ายถงึ วิธีการยกส่ิงของท่มี ีน�้ำหนกั มาก วา่ มวี ธิ ีการอย่างไร 6. การบ�ำรงุ รกั ษาเคร่อื งมอื ขนาดเล็กที่ขับเคลื่อนดว้ ยไฟฟ้า ท�ำได้อยา่ งไร 7. ใหอ้ ธิบายถึงหลักการในการใช้เครื่องจกั รอยา่ งกว้าง ๆ เพอื่ ไม่ให้มอี บุ ตั ิเหตเุ กดิ ขึน้ 8. เมอื่ ตอ้ งการซอ่ มอปุ กรณเ์ กย่ี วกบั การถา่ ยทอดก�ำลงั เชน่ เกยี ร์ ระบบสายพาน จะมวี ธิ ปี อ้ งกนั อนั ตราย ไดอ้ ย่างไร 9. อันตรายท่ีเกดิ ขึ้นบนเครื่องเจยี ระไนส�ำหรับลับชน้ิ งานมอี ย่างไร และจะปอ้ งกนั ได้อยา่ งไร 10. สีและสญั ลกั ษณ์ความปลอดภัยทีใ่ ช้บนปา้ ยตา่ ง ๆ มีความหมายอย่างไร อธบิ ายพอสงั เขป ตอนท่ี 2 อธิบายคำ� ศพั ท์ (หมายถึง แปลค�ำศัพท์ ใหร้ ายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ขยายความ ถา้ มีตัวอย่าง ให้ยกตัวอยา่ งประกอบ) ตอบแบบส้นั 1. Hazard 2. Damage 3. Safety 4. Accident 5. Unsafe Acts

22 บทท่ี 1 ความปลอดภัยในการท�ำงาน 6. Unsafe Conditions 7. Personal Protective Equipment 8. Mandatory Signs 9. Safe Condition Signs 10. Warning Signs ตอนที่ 3 จงเลือกคำ� ตอบข้อท่ีถกู ที่สุด 1. เครอื่ งหมายหา้ ม มีสีพน้ื เป็นสีอะไร ก. ฟ้า ข. เหลอื ง ค. ขาว ง. ด�ำ 2. เครอื่ งหมายความปลอดภัยมกี อ่ี ยา่ ง ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 3. ข้อใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน ก. ผลผลติ เพ่ิมขึ้น ข. คา่ ใช้จ่ายลดลง ค. ภาพพจนข์ ององคก์ รดีขึ้น ง. ตน้ ทุนสงู 4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สาเหตขุ องการเกดิ อุบัตเิ หตุ ก. ความประมาท ข. เงยี บสงบ ค. พ้ืนลนื่ ง. อากาศเสยี 5. แว่นนิรภยั ใช้ป้องกันงานหลายด้าน ยกเวน้ อะไรบา้ ง ก. งานตดั ข. งานเจาะ ค. งานเจยี ระไน ง. งานเขียนแบบ 6. ขอ้ ใดไม่ใช่การแนะน�ำในการใชเ้ คร่อื งจักร ก. ใช้เครอ่ื งจกั รให้เหมาะสมกบั งาน ข. บ�ำรงุ รักษาเครอ่ื งมือใหอ้ ยู่ในสภาพดี ค. ใช้เครอื่ งมอื ผิดวิธี ง. เก็บรักษาเคร่อื งมือในทที่ ีป่ ลอดภยั 7. สีเขียวท่ที าในโรงงาน หมายความว่าอยา่ งไร ก. อันตรายจากรังสี ข. เขตหวงหา้ ม ค. บรเิ วณปลอดภยั ง. ระวังอนั ตราย 8. สีน้�ำเงินในปา้ ย หมายความว่าอยา่ งไร ก. หา้ ม ข. บงั คับ ค. เตอื น ง. ระวงั

2 การทำ� งานของเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) หลงั จากศึกษาจบบทเรยี นน้แี ล้ว นกั ศกึ ษาจะมคี วามสามารถดงั น้ี 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในได้ 2. ระบุชนิดของเครือ่ งยนตล์ ูกสูบได้ 3. อธบิ าย ชว่ งชกั ของลูกสบู ในกระบอกสบู ได้ 4. สาธิตการเปลี่ยนการเคลอื่ นที่แบบสลับเป็นการเคล่ือนท่แี บบหมนุ ได้ 5. อธิบายประเภทและการทำ� งานของลนิ้ เครอ่ื งยนต์ได้ 6. บอกล�ำดบั ขนั้ ตอนการท�ำงานของเครื่องยนตไ์ ด้ 7. อธิบายเกย่ี วกับระบบเสริมการทำ� งานของเคร่ืองยนต์ได้ 8. จำ� แนกประเภทของเคร่ืองยนต์ได้ 9. สรุปประสิทธภิ าพเชงิ ความรอ้ น เชงิ กลและเชิงปริมาตรได้ 10. อธบิ ายการขจัดและอัตราสว่ นก�ำลงั อัดของกระบอกสบู ได้

2 การทำ� งานของเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน เคร่ืองยนตส์ ันดาปภายใน เครอ่ื งยนต์ (Engine) ดงั รปู ที่ 2.1 คอื เครอื่ งจกั รซงึ่ เปลย่ี นรปู พลงั งานความรอ้ นใหเ้ ปน็ พลงั งานกล ความร้อนท่ีเกดิ ขน้ึ จากการเผาไหม้เชอื้ เพลงิ ท�ำใหเ้ กดิ กำ� ลัง (Power) ซ่ึงท�ำใหย้ านพาหนะเคลื่อนที่ไปได้ บางคร้ังเครื่องยนต์จะถูกเรียกเป็น ต้นกำ� เนดิ ก�ำลงั (Power Plant) อยา่ งหนงึ่ รปู ที่ 2.1 เคร่ืองยนต์ 6 สบู วี วางเพลาลูกเบยี้ วไว้ตอนบน จุดระเบดิ ด้วยหัวเทยี น

งานเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลีน 25 เคร่ืองยนต์ส�ำหรับรถยนต์เป็นเครื่องยนต์ ชนิดสนั ดาปภายใน (Internal Combustion Engine : I.C.E.) ชนิดหนึ่ง เน่ืองจากว่าเช้ือเพลิงท่ีใช้เป็น ต้นก�ำเนิดก�ำลังของเคร่ืองยนต์ชนิดนี้ถูกเผาไหม้ เบ็ดเสร็จภายในเครื่องยนต์ ซึ่งจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ ชนิดเคลื่อนท่ีสลับ (Reciprocating) และชนิด หมนุ รอบ (Rotating) ดังรปู ที่ 2.2 รูปที่ 2.2 ทิศทางการทำ� งานของเครอ่ื งยนต์ทั้ง 2 ชนดิ ชนิดเคลื่อนท่ีสลับ หมายถึง เคลื่อนที่ขึ้น ลงหรือจากหน้าไปหลัง ส�ำหรับรถยนต์ส่วนใหญ่ จะใช้เคร่ืองยนต์ชนิดเคล่ือนที่สลับ โดยมีลูกสูบ ซึ่งท�ำหน้าท่ีเคลื่อนท่ีขึ้นหรือลงภายในกระบอกสูบ เรยี กวา่ เคร่ืองยนต์ลูกสบู (Piston Engine) ดงั รูป ที่ 2.3 ส่วนชนิดหมุนรอบจะมชี ิ้นส่วนที่หมนุ เรียกวา่ โรเตอร์ (Rotor) รปู ท่ี 2.3 การเคลือ่ นท่ขี ้ึนลงของลูกสบู ชนิดของเครอื่ งยนต์ลกู สบู เคร่ืองยนต์ลูกสูบจะแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ เคร่ืองยนต์ชนิดจุดระเบิดด้วยประกายไฟ (Spark - Ignition Engine) หรอื เครื่องยนตเ์ บนซิน และชนดิ จุดระเบดิ ดว้ ยการอัดตวั (Compression - Ignition Engine) หรือเคร่อื งยนตด์ เี ซล ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งเครื่องยนตท์ ้งั 2 ชนดิ นค้ี ือ 1. ชนิดของเช้ือเพลิงท่ใี ช้ 2. วธิ ีท่เี ชื้อเพลิงถูกป้อนเขา้ กระบอกสบู 3. วิธีท่ีเช้ือเพลิงถูกจุดระเบดิ ปกติแล้วเชื้อเพลิงท่ีใช้กับเคร่ืองยนต์ชนิดจุดระเบิดด้วยประกายไฟน้ัน จะเป็นเช้ือเพลิงเหลว เช่น แกส๊ โซลนี (Gasoline) หรอื แอลกอฮอลผ์ สม (Alcohol Blend) โดยมลี ักษณะเฉพาะตวั พิเศษคอื ระเหยได้งา่ ย เชอื้ เพลิงในสถานะไอนจี้ ะรวมตัวกับอากาศกลายเปน็ อากาศผสม (Fuel - Air Mixture)

26 บทที่ 2 การท�ำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ซึ่งจะถูกเผาไหม้ได้ง่าย ก่อนที่จะไหลผ่านเข้าไปในกระบอกสูบ (Cylinder) อากาศผสมเมื่อไหลเข้า กระบอกสูบแลว้ จะถูกอัดตัวโดยลกู สบู ใหม้ ีความดันสงู ขึ้น จากน้นั ความร้อนจากประกายไฟโดยเครื่อง จุดประกายไฟ (หวั เทียน) จะจดุ ระเบดิ อากาศผสมแรงดันสงู ดังกลา่ ว ทำ� ให้อากาศผสมสนั ดาปเกิดเปน็ ก๊าซร้อนความดันและอุณหภูมิสูงภายในกระบอกสูบ ความดันสูงกระท�ำบนส่วนบนของลูกสูบท�ำให้เกิด แรงดนั กดลกู สบู ลง การเคลือ่ นท่ขี องลกู สบู จะส่งต่อไปยงั ชดุ เพลาขอ้ เหว่ยี ง เฟอื งกำ� ลัง และเพลาขับล้อ ซงึ่ จะไปท�ำให้รถยนตเ์ คล่อื นทไ่ี ปได้ ส�ำหรับเครื่องยนต์ดีเซล เช้ือเพลิงจะถูกผสมกับอากาศภายหลังจากที่อากาศไหลเข้าไปใน กระบอกสูบแล้ว ลูกสูบจะท�ำการอัดอากาศให้เหลือปริมาตรเพียง 1/22 ของปริมาตรเร่ิมต้น การอัด อากาศด้วยความดันท่ีสูงมากน้ีท�ำให้อุณหภูมิของอากาศเพิ่มขึ้นไปถึง 1,000 F (ประมาณ 600 ํC) จากน้ันน�้ำมันเบาหรือน�้ำมันดีเซลจะถูกพ่นหรือฉีดเข้าไปยังอากาศร้อน ความร้อนท่ีเกิดจากการอัดตัว ของอากาศจะไปจดุ ระเบิดเชือ้ เพลงิ ส่งแรงดนั ไปยงั ลกู สบู ตอ่ ไป ช่วงชักของลูกสบู ในกระบอกสูบ เครื่องยนต์ทั้งชนิดจุดระเบิดด้วยประกายไฟหรือจุดระเบิดด้วยความร้อนจากการอัดตัวมี โครงสรา้ งของเครอ่ื งยนตเ์ หมอื นกนั คือ จะมีลกู สบู เคลื่อนทข่ี ึน้ ลงอยู่ภายในกระบอกสูบ ซึง่ จะสมั พันธ์กับ รอบในการหมนุ ของเพลาขอ้ เหว่ยี ง พิจารณารูปที่ 2.3 ลูกสูบเม่ืออยู่ที่ต�ำแหน่งล่างสุด เรียกว่า ศูนย์ตายล่าง (Bottom Dead Center : B.D.C.) เป็นตำ� แหนง่ ทล่ี ูกสูบถอยลงไปอีกไมไ่ ด้แล้ว และเมอื่ ลกู สูบเคล่ือนที่ขึน้ มายงั ต�ำแหน่ง บนสุด เรียกว่า ศนู ยต์ ายบน (Top Dead Center : T.D.C.) จะเปน็ ตำ� แหน่งที่ลูกสูบดันขน้ึ ไปอีกไม่ได้ เช่นกนั ระยะระหว่างศูนยต์ ายบนและล่าง เรียกว่า ชว่ งชกั (Stroke) ของลูกสบู ขนาดของกระบอกสูบถูกก�ำหนดขอบเขต ดา้ นบนไวด้ ว้ ยฝาสบู (Cylinder Head) และดา้ นขา้ ง ด้วยขนาดของรทู เี่ จาะในเสื้อสบู (Cylinder Block) ซึ่งขอบเขตท้ังสองจะตายตัว ขณะท่ีด้านล่างจะใช้ ลูกสูบ (รวมแหวนลูกสูบ) เป็นตัวก�ำหนด ดังน้ัน ปริมาตรของกระบอกสูบจึงแปรเปลี่ยนไปตามการ เคล่ือนท่ขี ึ้นลงของลูกสบู รูปที่ 2.4 การกระท�ำในกระบอกสูบ

งานเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลีน 27 รูปท่ี 2.4 แสดงการกระท�ำในกระบอกสูบของเคร่อื งยนตช์ นดิ จุดระเบดิ ดว้ ยประกายไฟ รปู (A) ลูกสูบจะอย่ทู ต่ี �ำแหนง่ ศูนยต์ ายล่าง (B.D.C.) ช่องวา่ งเหนอื ลกู สบู ข้นึ ไปบรรจุดว้ ยอากาศผสม จากนน้ั ลูกสูบเคลอ่ื นที่ขึน้ ไปยังตำ� แหน่งศูนยต์ ายบน (T.D.C.) ปริมาตรในกระบอกสบู ลดลง ความดันในกระบอก มากข้ึน อากาศผสมจึงถูกอดั ตวั กอ่ นท่ีลูกสบู จะข้นึ ไปถึงศนู ยต์ ายบนเลก็ นอ้ ย ประกายไฟถกู จุดขึ้นเพอ่ื เผาไหมอ้ ากาศผสม ท�ำให้เกิดก๊าซร้อนความดนั สงู กดลูกสบู ให้เคลอ่ื นที่ลง การเคลื่อนท่ีลงของลกู สบู นี้ ทำ� ใหเ้ กดิ กำ� ลงั ทเ่ี คลอ่ื นทรี่ ถ การกระทำ� เชน่ นเ้ี กดิ ขน้ึ ในทกุ ๆ กระบอกสบู ภายในเครอื่ งยนตอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตราบเทา่ ทเ่ี ครอื่ งยนต์ยงั เดนิ อยู่ การเปลยี่ นการเคล่ือนท่แี บบสลับ เป็นการเคลอ่ื นทีแ่ บบหมนุ การเคล่ือนที่ขนึ้ ลงสลับของลูกสบู จะถกู เปลย่ี นไปเปน็ การเคล่ือนท่แี บบหมุน เพอ่ื ขับลอ้ รถยนต์ โดยใชก้ ้านสบู (Connecting Rod) และเพลาขอ้ เหว่ียง (Crankshaft) ดำ� เนนิ การดังกล่าว ดังรปู ท่ี 2.5 ปลายขา้ งหนง่ึ ของกา้ นสบู จะถกู ยดึ ไว้กบั ลกู สูบโดยสลักสบู (Piston Pin) และปลายอกี ข้างจะยึดกับเพลา ข้อเหวยี่ งท่ีสลักเพลา (Crankpin หรือ Connecting Rod Journal) ดังรปู ที่ 2.6 สลักสูบจะทำ� หนา้ ที่ คล้ายจุดหมนุ ในการทำ� ใหก้ า้ นสบู แกว่งไปมาได้ ลกู สูบ แหวนลกู สบู แหวนลูกสบู ลกู สบู ตสุม้ ลถัก่วเงกนล�้ำียหวนกา้ักนสบู สลักลกู สูบ สลกั ลกู สบู กา้ นสบู สลกั เกลียวก้านสบู กา้ นสูบ แบริ่ง ขอ้ เหวีย่ ง ฝาประกับก้านสบู เพลาขอ้ เหว่ยี ง เพลาขอ้ เหว่ยี ง ฝาประกบั กา้ นสูบ รปู ท่ี 2.5 กา้ นสูบและเพลาขอ้ เหวย่ี ง รูปท่ี 2.6 การประกอบลกู สบู ก้านสบู และเพลาขอ้ เหวี่ยงเขา้ ด้วยกนั สลักเพลาเป็นส่วนท่ีเย้ืองศูนย์ออกมาจากเพลาข้อเหว่ียงดังรูปที่ 2.7 ซึ่งจะเหว่ียงเป็นวงรอบ ในขณะทเ่ี พลาขอ้ เหวย่ี งหมนุ ฝากา้ นสบู (Rod Cap) และสลกั เกลยี วใชใ้ นการยดึ กา้ นสบู เขา้ กบั สลกั เพลา โดยมีแบร่ิงรองรับท้ังส่วนบนและล่าง ซ่ึงเมื่อประกอบแล้วจะมีระยะห่างเล็กน้อยเพื่อให้น้�ำมันหล่อลื่น เขา้ ไปสรา้ งช้นั ฟิลม์ ปอ้ งกันการสมั ผัสโดยตรงระหวา่ งโลหะกับโลหะ

28 บทที่ 2 การทำ� งานของเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี รปู ท่ี 2.7 ลกั ษณะการหมนุ ของสลกั เพลาตามการเคลอ่ื นท่ี ขึ้นลงของก้านสบู ในขณะที่ลูกสูบเคล่ือนที่ข้ึนลง สลักเพลาจะหมุนเป็นวงกลมและท�ำให้เพลาข้อเหวี่ยงหมุนด้วย รูปที่ 2.8 (1) แสดงการเคลื่อนท่ีลงของลูกสูบแล้วท�ำให้สลักเพลาหมุนไปข้างหน่ึง หลังจากที่ลูกสูบ เคลอื่ นทล่ี งจนถึงต�ำแหน่งศูนยต์ ายลา่ ง และเริม่ ต้นจะดันตวั ขึ้น ดังรูปที่ 2.8 (2) กา้ นสูบจะเหวย่ี งไป อีกข้าง ดังนั้น จะเห็นได้ว่าก้านสูบจะเหวี่ยงจากหน้าไปหลัง ซึ่งท�ำให้ปลายด้านใหญ่ของก้านสูบหมุน สลักเพลาให้เคล่อื นท่ีเปน็ วงกลมรอบเพลาข้อเหวี่ยง อนั เปน็ การเปลี่ยนการเคลือ่ นท ่ี ขึน้ ลงของลกู สูบให้ เป็นการเคล่อื นทแี่ บบหมนุ ของเพลาข้อเหวีย่ ง การท�ำงานของเคร่อื งยนต์อธบิ ายไวใ้ นหัวขอ้ การท�ำงาน ของเครื่องยนต์ การทำ�งานของเครอ่ื งยนต์ การท�ำงานในเคร่ืองยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟแบ่งออกได้เป็น 4 ข้ันตอน แต่ละขั้นตอน เกย่ี วข้องกับชว่ งการชักของลูกสบู (Piston Stroke) หรือการเคลอื่ นท่ีไปมาระหวา่ ง B.D.C. กบั T.D.C. เรยี กวา่ “จงั หวะ” การทำ� งานครบวฏั จกั รของเครอ่ื งยนตต์ อ้ งการชว่ งชกั ของลกู สบู 4 ชว่ ง คอื จงั หวะดดู (Intake) จังหวะอัด (Compression) จังหวะระเบดิ (Power) และจังหวะคาย (Exhaust) ดงั รปู ที่ 2.8 เพลาข้อเหว่ียงจะหมุนครบ 2 รอบ เพื่อจบการท�ำงานของลูกสูบทั้ง 4 ช่วง เหตุนี้จึงเรียกเครื่องยนต์ ชนิดน้ีวา่ เครอ่ื งยนต์ 4 จังหวะ (Four – Stroke – Cycle Engine) ค�ำว่า วฏั จักร หมายถงึ เหตกุ ารณ์ท่ี ส้ินสดุ กลับมาท่ตี ำ� แหนง่ เริ่มต้นอกี ครงั้ ดังรูปที่ 2.8 การทำ� งานของเคร่ืองยนต์มีข้นั ตอนดังตอ่ ไปน้ี

งานเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน 29 รปู ที่ 2.8 การท�ำงานของเครอื่ งยนต์ 1. จังหวะดดู (Intake Stoke) ในช่วงจงั หวะดูดของเคร่อื งยนตจ์ ุดระเบดิ ด้วยประกายไฟ ดัง รปู ท่ี 2.8 (1) ลูกสบู จะเคล่อื นทล่ี ง ล้ินไอดีจะเปดิ ใหอ้ ากาศผสมไหลผ่านช่องไอดีเขา้ มาในกระบอกสบู ระบบเชื้อเพลงิ จะจ่ายเชื้อเพลิงเข้ามาผสมกบั อากาศกอ่ นที่จะถกู ดดู เข้าไปในกระบอกสูบ ในขณะท่ลี กู สูบ เล่อื นลงมาถึงต�ำแหนง่ B.D.C. ล้ินไอดีจะปดิ (ล้ินไอเสยี ปิดก่อนหน้าแลว้ ) ท�ำใหด้ า้ นบนของกระบอกสบู ถกู ปิดสนทิ 2. จังหวะอัด (Compression Stroke) หลังจากที่ลกู สูบเล่อื นลงมาถงึ ต�ำแหนง่ B.D.C. แล้ว จะเร่ิมต้นเคลอ่ื นท่ขี ้นึ กลับไป ดังรูปท่ี 2.8 (2) ลิ้นทง้ั 2 ตัวปิด ลกู สูบทเ่ี คลื่อนที่ขึน้ จะอดั อากาศผสมให้ มปี ริมาตรเล็กลง (ปริมาตรระหว่างด้านบนของลูกสูบและฝาสูบ) ปริมาตรนี้เรียกว่า ห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) อากาศผสมจะมปี รมิ าตรเหลอื เพียงประมาณ 1/8 ของปริมาตรต้ังต้น เรยี กอัตราสว่ นปรมิ าตรต้งั ต้น (รูปท่ี 2.9 A) กบั ปริมาตรทถ่ี ูกอดั ตัว (รปู ที่ 2.9 B) นีว้ า่ อัตราสว่ นกำ� ลงั อดั (Compression Ratio) ดงั นน้ั ถา้ ปรมิ าตรทถี่ กู อดั ตวั เหลอื 1/8 ของปรมิ าตรตง้ั ตน้ จะมอี ตั ราสว่ นกำ� ลงั อดั เป็น 8 ตอ่ 1 (เขยี นเป็น 8 : 1) รปู ที่ 2.9 อตั ราสว่ นก�ำลังอดั ปริมาตรท่ี A หารปริมาตรท่ี B

30 บทที่ 2 การท�ำงานของเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี 3. จังหวะระเบดิ หรอื จงั หวะกำ� ลงั (Power Stoke) ขณะทีล่ ูกสบู เคลื่อนท่ีกลับไปยังต�ำแหนง่ T.D.C. ก่อนส้ินสุดจังหวะอัด กระแสไฟฟ้าจากหัวเทียนท่ีมีความร้อนสูงจะจุดระเบิดอากาศผสมที่ถูก อดั ตัว ดงั รูปท่ี 2.8 (3) เกิดการสนั ดาปขนึ้ อย่างรวดเร็ว ท�ำให้เกิดก๊าซรอ้ นอณุ หภูมแิ ละความดันสูงขนึ้ ซ่งึ ความดนั น้ีจะส่งแรงดันผลกั ด้านบนของลูกสูบ ก้านสูบจะถ่ายแรงนส้ี ่งไปยังเพลาข้อเหว่ยี ง 4. จงั หวะคาย (Exhaust Stroke) ขณะที่ลูกสูบเคลือ่ นทลี่ งมาทีต่ �ำแหนง่ B.D.C. จากจังหวะ ระเบดิ ลนิ้ ไอเสยี จะเปดิ หลงั จากทล่ี งมาถงึ ตำ� แหนง่ B.D.C. แลว้ ลกู สบู จะเรมิ่ ดนั ขน้ึ อกี ครงั้ ดงั รปู ท่ี 2.8 (4) เพ่ือไลก่ ๊าซสนั ดาปออกจากกระบอกสูบผา่ นชอ่ งไอเสยี เม่อื ลกู สูบขึน้ ไปใกล้ถึงตำ� แหนง่ TDC ลิ้นไอดจี ะ เริ่มเปิดอีกครั้ง และเมือ่ ถงึ ตำ� แหนง่ T.D.C. ลิ้นไอเสียจะปิด และพร้อมจะเร่มิ จังหวะดดู อกี ครง้ั หนง่ึ ซ�ำ้ ไป เร่อื ย ๆ ตราบเท่าทเ่ี ครอ่ื งยนตย์ ังคงท�ำงานอยู่ ลนิ้ ของเคร่อื งยนต์ เครอ่ื งยนต์ส่วนใหญจ่ ะมชี อ่ ง (Port) อยู่ 2 ชอ่ งบนฝาสบู เรยี กวา่ ชอ่ งไอดี (Intake Port) ซึ่ง เป็นท่อทางเดินใหอ้ ากาศผสมไหลเข้ากระบอกสบู และ ทอ่ ไอเสีย (Exhaust Port) เป็นชอ่ งให้ก๊าซ สนั ดาปไหลออกจากกระบอกสูบ ท่อทั้งสองถูกควบคุมการเปิดปิดให้เปน็ จังหวะเวลาด้วยลิ้น (Valve) ซ่งึ จะมี 2 ประเภท คอื ล้นิ ไอดี (Intake Valve) และลิน้ ไอเสยี (Exhaust Valve) ดงั รูปที่ 2.10 ลิ้นจะมลี ักษณะเปน็ แป้นกลมโคง้ เปน็ รูปโดมและต่อก้านยาว (Stem) ออกไปซึ่งท�ำหนา้ ทปี่ ิดเปิดช่องที่อย่บู นฝาสบู ดงั รปู ที่ 2.11 เม่ือลน้ิ เคลือ่ นท่ีขึน้ ไปในช่องจะเขา้ ไปแนบสนทิ กบั น่งั วาลว์ (Valve Seat) ในต�ำแหน่งนีล้ ้นิ จะปิดช่อง และเมอ่ื ลิน้ ถกู ดันลงจากนง่ั วาล์วชอ่ งกจ็ ะเปิด ล้ินจะถูกควบคมุ การเคลอื่ นที่ด้วยราวลิ้น (Valve Train) รูปที่ 2.10 ลน้ิ ไอเสยี และลนิ้ ไอด ี รปู ที่ 2.11 ลิน้ กบั นัง่ วาลว์ บนฝาสูบ

งานเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน 31 การทำ�งานของล้นิ เครือ่ งยนตโ์ ดยท่วั ไปจะมี 2 ลนิ้ ตอ่ 1 กระบอกสบู คอื ลน้ิ ไอดแี ละลิน้ ไอเสีย อย่างไรกด็ เี ครือ่ งยนต์ สมยั ใหม่บางชนดิ อาจจะมลี ้ินมากกว่า 2 ตัว เรียกว่า เคร่อื งยนต์หลายลิ้น (Multi - valve Engine) ซง่ึ มจี �ำนวนลิ้นต้ังแต่ 3 ถึง 6 ลนิ้ ต่อกระบอกสูบ เรียกช่อื เครอื่ งยนตต์ ามจำ� นวนล้ิน เชน่ มี 4 ลิน้ เรยี กวา่ เครอื่ งยนต์ 4 ลน้ิ (ภาษาชา่ งเรยี ก เครื่องยนต์ 4 วาล์ว) ราวลน้ิ (Valve Train) คือ ชดุ ของชนิ้ ส่วนซง่ึ ทำ� หนา้ ท่ีเปิดและปดิ ลน้ิ การทำ� งานเร่ิมต้นท่ี เพลาลกู เบย้ี ว (Camshaft) ดังรูปท่ี 2.12 ซ่ึงถูกขับด้วยเพลาขอ้ เหวี่ยงผ่านชดุ เฟืองจังหวะ (Timing Gear) เฟอื งสะพานกับสายพานราวล้นิ (Sprocket and Timing Belt) หรอื เฟืองโซ่กบั โซ่ (Sprocket and Chain) รูปท่ี 2.12 เพลาลูกเบีย้ ว เพลาลูกเบ้ียวจะมีพูลูกเบี้ยวเท่ากับจ�ำนวนล้ิน ในเครื่องยนต์ ลกู เบ้ยี ว 1 พู จะควบคุมล้นิ 1 ตัว เปน็ อิสระ ลูกเบี้ยวจะมีลักษณะเป็นปลอกซึ่งจะมีสันด้าน หน่งึ นนู ขนึ้ เรยี กวา่ พู (Lobe) ดงั รปู ที่ 2.13 รูปท่ี 2.13 ลกู เบ้ียว รปู ที่ 2.14 เปน็ วธิ กี ารทำ� งานแบบหนง่ึ ของราวลนิ้ เพลาลกู เบย้ี วถกู วางไวด้ า้ นบนฝาสบู ขาสง่ ลน้ิ (Bucket Tappet) ครอบดา้ นบนของกา้ นลนิ้ ไว้ ภายในขาสง่ ลน้ิ จะมสี ปรงิ ลน้ิ (Valve Spring) ยนั ขาสง่ ลน้ิ ไวก้ บั ลกู เบย้ี ว เมอ่ื เพลาลกู เบยี้ วหมนุ ถงึ ตำ� แหนง่ พขู องลกู เบย้ี วไปกดขาสง่ ลน้ิ แรงกดของสปรงิ จะดนั ใหล้ นิ้ ลงไปจากนั่งล้ิน ลิ้นจะเปิด เมื่อเพลาลูกเบี้ยวหมุนต่อไป พูลูกเบี้ยวจะหมุน สปริงจะดันขาส่งลิ้น และล้ินกลบั ไปทีน่ ่งั ลิน้ เพื่อปดิ ชอ่ งอกี ครงั้

32 บทท่ี 2 การทำ� งานของเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน รูปท่ี 2.14 การทำ� งานของราวลิ้น ในการปดิ - เปิดล้ิน เครื่องยนต์หลายสบู เครื่องยนต์ 4 จงั หวะกระบอกสูบเดยี วจะใหก้ ำ� ลังในจังหวะระเบิดเพยี งคร้ังเดยี วต่อการหมุน ของเพลาขอ้ เหว่ียง 2 รอบ ดังน้นั เครื่องยนตจ์ ะสง่ ก�ำลังเพียงแค่ 1 ใน 4 ของเวลาเดินเคร่ืองจากจงั หวะ ระเบดิ เพราะอีก 3 จงั หวะที่เหลอื ลูกสบู ไม่ไดส้ ง่ กำ� ลงั ใหเ้ พลาข้อเหวยี่ ง เพื่อให้การส่งก�ำลังเป็นไปอย่างต่อเนื่องขึ้น เครื่องยนต์ส�ำหรับรถยนต์จึงต้องมีจ�ำนวนสูบมาก เรยี กวา่ เครื่องยนตห์ ลายสูบ (Multiple - Cylinder Engine) ซึ่งจะมีจ�ำนวนสบู ตัง้ แต่ 2 ขึ้นไป โดย ท่ัวไปจำ� นวนสบู ท่มี ากข้นึ จะส่งผลดีตอ่ การสง่ ก�ำลังไปยังขอ้ เหวยี่ งได้ต่อเนื่องและน่มุ นวลข้นึ เนอ่ื งจาก จังหวะระเบดิ ของลกู สูบทมี่ ากข้ึน ทำ� ให้ช่วงรอยตอ่ ของการสง่ ก�ำลงั นัน้ ส้นั ลง ผลคอื ทำ� ให้เครอ่ื งยนตเ์ ดนิ นง่ิ ขึ้นและลดเสียงของเครอื่ งยนต์ลงอีกดว้ ย ระบบสนับสนนุ การทำ�งานของเคร่อื งยนต์ เคร่ืองยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟต้องการ 5 ระบบพ้ืนฐานในการสนับสนุนการท�ำงาน (Supporting Engine Operation) สว่ นเครื่องยนตด์ เี ซลต้องการเพียง 4 ระบบจากระบบเหล่าน้ี ระบบ สนับสนนุ การท�ำงานน้ีประกอบด้วย 1. ระบบเชอ้ื เพลิง (Fuel System) 2. ระบบจดุ ระเบดิ ดว้ ยไฟฟา้ (Electric Ignition System) ยกเวน้ เครอ่ื งยนตด์ เี ซลทไ่ี มม่ รี ะบบน้ี 3. ระบบหลอ่ ลืน่ (Lubricating System)

งานเครื่องยนต์แกส๊ โซลีน 33 4. ระบบหลอ่ เย็น (Cooling System) 5. ระบบไอดแี ละไอเสีย (Intake & Exhaust System) 1. ระบบเชื้อเพลงิ ระบบเชื้อเพลิงท�ำหน้าท่ีจ่ายน�้ำมันเช้ือเพลิง เช่น แก๊สโซลีน หรือเช้ือเพลิงเหลวอื่น ๆ ไปยัง เครอ่ื งยนต์ เพ่อื สนั ดาปและก�ำเนิดความร้อนต่อไป รูปที่ 2.15 เป็นระบบเชือ้ เพลิงระบบหนงึ่ ใชก้ ับเครอ่ื งยนตจ์ ุดระเบิดด้วยประกายไฟ ถังเช้ือเพลิง (Fuel Tank) จะบรรจเุ ช้อื เพลงิ ที่จะจ่ายไว้ ปั๊มเช้ือเพลิง (Fuel Pump) จะทำ� หน้าท่สี ูบเชอ้ื เพลิงในถัง ส่งไปยังหวั ฉดี เชือ้ เพลงิ (Fuel Injectors) ภายในหวั ฉดี จะมีลนิ้ ปดิ เปดิ การฉดี น้�ำมนั ควบคมุ โดยหน่วย ควบคมุ ไฟฟ้า (Electronic Control Module : E.C.M.) หรือคอมพวิ เตอร์ โมดูลควบคุม ท่อจ่ายนำ�้ มัน ทอ่ เดินน�ำ้ มนั กลบั รางน�ำ้ มนั หัวฉดี นำ้� มัน ตวั ปรับแรงดันน�ำ้ มนั กรองนำ้� มัน ปั๊มนำ้� มันไฟฟ้า ถงั นำ�้ มนั และกรองใน รูปที่ 2.15 ระบบจ่ายเชอ้ื เพลิง ถงั เชอ้ื เพลงิ ขน้ึ รปู มาจากแผน่ โลหะ ไฟเบอร์กลาส หรือพลาสติก มีชอ่ งน�ำ้ มนั ออก (Fuel - Feed Port) และชอ่ งน้ำ� มนั เวียนกลบั (Fuel - Return Port) ปั๊มน�้ำมันไฟฟ้า ดังรูปที่ 2.15 เป็นปั๊มเชื้อเพลิงที่แช่อยู่ในถังเชื้อเพลิง (ช่างเรียกว่า ปั๊มแช่) ซ่ึงเปน็ ชนดิ ท่นี ยิ มใชใ้ นรถยนต์ส่วนใหญท่ ใ่ี ช้ระบบไฟฟ้าควบคมุ การฉดี เชื้อเพลงิ เครื่องยนต์ในปัจจุบันใช้หัวฉีดเช้ือเพลิงในการท�ำให้เชื้อเพลิงกลายเป็นละอองฉีดเข้าไปรวมตัว กบั อากาศภายในกระบอกสบู ในอดตี จะใช้คาบูเรเตอร์ (Carburetor) เป็นอปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการผสมอากาศ กบั เช้ือเพลิงเขา้ ด้วยกันก่อน จงึ จะปล่อยเขา้ ไปในกระบอกสูบ 2. ระบบจุดระเบดิ ด้วยไฟฟ้า หลังจากระบบเช้ือเพลิงจ่ายเชื้อเพลิงเข้าไปรวมกับอากาศ กลายเป็นอากาศผสมไหลเข้า กระบอกสูบแลว้ หลังสน้ิ สุดจงั หวะอัดของลกู สบู ระบบจุดระเบดิ ดงั รปู ที่ 2.16 จะส่งประกายไฟฟ้าผา่ น หัวเทยี นไปจดุ ระเบิดอากาศผสม และเร่ิมต้นกระบวนการสนั ดาปตอ่ ไป

34 บทที่ 2 การทำ� งานของเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี ระบบจุดระเบิดจะแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้าโวลต์ต�่ำจากแบตเตอรี่ 12 โวลต์ ให้เป็นโวลต์สูง (ประมาณ 47,000 โวลต์) ท่ีคอยล์จุดระเบิด (Ignition Coil) ซง่ึ ท�ำใหเ้ กิดประกายไฟกระโดดขา้ มขวั้ หัวเทียนไปยังเขี้ยวหัวเทยี น (Spark Plug) ประกายไฟท่ีรอ้ นน้จี ะไปจดุ ระเบดิ อากาศผสมอดั ตัวให้เริม่ ต้น สนั ดาป รูปท่ี 2.16 ระบบจุดระบบด้วยไฟฟา้ 3. ระบบหลอ่ ลน่ื ภายในเคร่ืองยนตม์ ชี ิ้นสว่ นโลหะท่ีต้องเคล่ือนไหวหลายส่วน เม่ือโลหะเกิดการเสียดสซี งึ่ กนั และ กนั โดยตรง การสกึ หรอจะเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว ดังนั้น เพอ่ื ปอ้ งกันเหตกุ ารณด์ ังกล่าว เคร่อื งยนต์ จึงต้อง มีระบบหลอ่ ลน่ื ดังรูปท่ี 2.17 เพื่อท�ำหนา้ ที่หล่อเลี้ยงโลหะเหลา่ น้ดี ้วยน�ำ้ มนั โดยน�ำ้ มนั หล่อล่นื จะไหล เขา้ ไประหวา่ งผวิ สัมผสั ของโลหะทเี่ คลื่อนไหว เพือ่ ไม่ให้โลหะเสยี ดสกี ันโดยตรง ระบบหล่อล่ืนจะมีอ่างน�้ำมัน (Oil Pan) อยู่ตอนล่างของเคร่ืองยนต์ ปั๊มน�้ำมันซ่ึงถูกขับโดย เครอ่ื งยนตจ์ ะสบู นำ้� มนั ขน้ึ มาจากอา่ งแลว้ สง่ ไปหลอ่ เลย้ี งทวั่ เครอื่ งยนต์ หลงั จากนนั้ จะหยดกลบั ลงมาทอ่ี า่ ง อีกคร้งั ปม๊ั ก็จะสูบกลับข้ึนไปใหม่อยา่ งตอ่ เนอื่ งตราบเท่าทเ่ี คร่ืองยนตย์ ังทำ� งานอยู่ รูปท่ี 2.17 ระบบหลอ่ ลื่น

งานเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน 35 4. ระบบหลอ่ เยน็ กระบวนการสนั ดาปทำ� ใหเ้ กดิ ความรอ้ นขน้ึ อากาศผสมทถ่ี กู สนั ดาปทำ� ใหอ้ ณุ หภมู ขิ องกระบอกสบู ขึ้นไปสูงถึง 1,000 องศา ความร้อนบางส่วนจากการสันดาปท�ำให้เกิดความดันสูงเพ่ือดันลูกสูบให้ เคลื่อนท่ี ความรอ้ นบางสว่ นทยี่ ังคงมีอยใู่ นกระบอกสบู ถกู พาออกไปพรอ้ มกบั ไอเสยี บางส่วนถกู ระบาย ออกไปพรอ้ มกับน้�ำมันหล่อลนื่ ส่วนทเ่ี หลือทงั้ หมดจะถูกระบายออกดว้ ยระบบหล่อเย็น ดังรูปที่ 2.18 เสื้อสูบบริเวณรอบ ๆ กระบอกสูบจะถูกหล่อให้กลวง เรียกว่า ห้องน�้ำหล่อเย็น (Water Jacket) น�้ำผสมสารหลอ่ เย็น (Coolant) จะไหลเวยี นภายในห้องน�ำ้ หลอ่ เยน็ เพ่ือรับความร้อนจากเส้ือสูบ จากน้นั น้ำ� หลอ่ เย็นจะไหลไปทห่ี มอ้ น�ำ้ (Radiator) ที่อยู่ตอนหน้าของรถยนต์ เพือ่ ระบายความร้อนออกสู่อากาศ การหล่อเย็นจะปอ้ งกนั เคร่อื งยนต์ไม่ใหค้ วามร้อนสงู เกิน (Overheating) Upper Hose Bypass Hose Heater Core Thermostat Inlet Tank Fins Coolant Tubes Heater Hose Fan Clutch Water Jackets Cross-Flow Radiator Water Pump DVraalivneOutlet Tank Lower Hose Cooler Transmission-Fluid รปู ที่ 2.18 ระบบหล่อเย็น นอกจากระบบพนื้ ฐานท้งั 4 แล้ว ยงั มีระบบช่วยการทำ� งานอนื่ ๆ อีก 3 ระบบ คอื ระบบ ไอเสยี (Exhaust System) ระบบควบคมุ ไอเสยี (Emission - Control System) และระบบตดิ เครอื่ ง (Starting System) ระบบไอเสียจะช่วยลดเสียงของไอเสียท่ีไหลออกจากกระบอกสูบ รวมท้ังยังช่วยพาไอเสียและ ความร้อนออกไปจากบรเิ วณหอ้ งโดยสารดว้ ย ขณะที่ระบบควบคมุ ไอเสียจะชว่ ยลดมลภาวะของอากาศ จากเครือ่ งยนต์ ระบบสตาร์ตจะท�ำงานโดยใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่มาหมุนมอเตอร์ไฟฟ้า เพื่อไปขับล้อช่วยแรง (Flywheel) ที่ตดิ อยูก่ ับเพลาข้อเหว่ยี ง เพ่ือเร่ิมต้นการท�ำงานของเคร่ืองยนต์

36 บทท่ี 2 การทำ� งานของเครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน ประเภทของเครือ่ งยนต์ ตามลักษณะกระบอกสูบและต�ำ แหน่งตดิ ตงั้ การจำ� แนกประเภทของเครอื่ งยนต์มขี อ้ ก�ำหนดได้หลายวธิ ี เช่น ก) ใชจ้ �ำนวนล้นิ ต่อสูบ ข) ต�ำแหนง่ ของเพลาลกู เบย้ี ว เชน่ การวางราวลิ้นไว้ในเสอื้ สบู หรอื ในฝาสูบ หรอื จำ� นวนเพลา ลกู เบ้ยี วแบบเดยี่ ว (Single Camshaft) หรือแบบคู่ (Dual Camshaft) ค) ชนิดของการจุดระเบดิ เชน่ การจดุ ระเบิดดว้ ยประกายไฟ (Spark Ignition) หรือจุดระเบดิ ด้วยความรอ้ นจากการอัดตวั (Compression Ignition) ง) จำ� นวนกระบอกสูบ เช่น เคร่อื งยนต์ 5 สบู 6 สบู หรือ 8 สูบ จ) วัฏจักรการท�ำงาน เชน่ เครอื่ งยนต์ 4 จังหวะ หรอื 2 จงั หวะ ฉ) ลักษณะการวางตำ� แหนง่ ของกระบอกสบู และใชแ้ ทนคำ� ว่า “ลักษณะของกระบอกสบู ” แต่ท่ีนิยมใช้มากท่ีสุดคือ ใช้ลักษณะการวางต�ำแหน่งของกระบอกสูบเป็นข้อก�ำหนดในการ จำ� แนกประเภทของเครอ่ื งยนต์ มรี ายละเอียดดงั น้ี 1. เครอ่ื งยนต์แบบสูบเรียง (In - Line Blocks Engine) เครื่องยนต์ประเภทนีจ้ ะวางกระบอกสบู ในแนวต้ังเรียงแถวต่อ ๆ กนั ไปในแนวเดยี ว ดังรปู ที่ 2.19 โดยท่วั ไปจะมีจ�ำนวนกระบอกสบู 4 หรอื 6 สบู และจะมฝี าสูบเพียงฝาเดียวปดิ ด้านบนของกระบอกสูบ ทง้ั หมด เน่อื งจากสัณฐานของกระบอกสูบอยู่ในแนวตง้ั เครือ่ งยนต์ชนดิ นี้จึงต้องการพนื้ ทใ่ี ต้ฝากระโปรง มากขน้ึ ดังนนั้ ฝากระโปรงและตอนหน้าของรถจึงตอ้ งถูกยกใหส้ งู กว่าเครอ่ื งยนตแ์ บบสบู เรียงมากขึ้น การออกแบบตวั รถในลกั ษณะนจ้ี ึงลดสมรรถนะทางอากาศพลศาสตร์ลง Ignition Distributor Vacuum Advance Unit Clutch Engine Flywheel Manual Transaxle รปู ท่ี 2.19 เครอ่ื งยนต์แบบสบู เรียง

งานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน 37 2. เครอ่ื งยนต์แบบสบู วี (V - Type Blocks Engine) ตามปกติเครื่องยนต์แบบสูบวีจะมีจ�ำนวนสูบ เป็น 6, 8 และ 10 สบู โดยแบ่งเป็น 2 แถวเทา่ ๆ กนั วาง เป็นรูปตัววี (V) โดยท�ำมมุ 60 หรอื 90 องศา ดงั รูปท่ี 2.20 เครื่องยนตช์ นดิ นจี้ ะมีเพลาข้อเหว่ยี ง 1 เพลา และฝาสูบ จะปิดดา้ นบนของแถวท้ังสองด้าน เนอื่ งจากกระบอกสบู ถูกวางเรียงอยู่ในรูปตัววี รถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ชนิดน้ี อาจจะออกแบบให้มีฝากระโปรงลาดต�่ำลง สมรรถนะ ทางอากาศพลศาสตร์จึงดีกว่ารถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ แบบสบู เรยี ง รปู ที่ 2.20 เครอื่ งยนตแ์ บบสบู วี 3. เครื่องยนต์แบบสูบเอยี ง (Slant - Type Blocks Engine) เครื่องยนต์แบบสูบเอียงก็คือเครื่องยนต์ แบบสบู เรยี งทเ่ี อยี งเสอื้ สบู ลงไปทางดา้ นขา้ ง ดงั รปู ท่ี 2.21 เนอื่ งจากเครอ่ื งยนตช์ นดิ นเ้ี ปลยี่ นความสงู ตรงของเครอ่ื งยนตเ์ ปน็ สงู เอยี ง ดงั นนั้ ความสงู ของ ฝากระโปรง จึงสามารถออกแบบให้ตำ่� ลงเพ่ือผล ทางอากาศพลศาสตรท์ ดี่ ขี ้ึนได้ รปู ที่ 2.21 เครือ่ งยนต์แบบสบู เอยี ง 4. เครื่องยนตแ์ บบสูบนอน (Opposed - Type Blocks Engine) เครื่องยนต์ชนิดนี้จะเหมือนเคร่ืองยนต์สูบวี เพียงแต่มุมที่วางเป็น 180 องศา จึงท�ำให้แถวกระบอก สูบทงั้ สองดา้ นวางเปน็ แนวนอนตรงกนั ข้ามกัน ดงั รปู ที่ 2.22 ผลคือ เคร่ืองยนต์ชนิดน้ีจะมีความสูงไม่มาก จึงนิยมน�ำไปวางไว้ตอนหลงั ของรถยนต์ รูปที่ 2.22 เครือ่ งยนต์แบบสูบนอน

38 บทท่ี 2 การทำ� งานของเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลนี ตำ�แหน่งในการวางเครอ่ื งยนต์ 1. วางหน้าตามยาว (Front Engine Longitudinal) ส�ำหรับรถยนต์ขับเคลื่อนล้อหลัง (Rear Wheel Drive, RWD) นิยมวางเครื่องแบบน้ี เครอื่ งยนตจ์ ะถกู วางไวต้ อนหน้าของรถยนตต์ ามยาว โดยมีชดุ ส่งกำ� ลัง (Transmission) ต่ออยทู่ างดา้ นหลงั ของเครือ่ งยนต์ ชุดเฟอื งดอกจอก (Differential) จะติดตัง้ ไวต้ อนทา้ ยของรถ โดยมีเพลาขบั (Driveshaft) เชอ่ื มต่อระหวา่ งชดุ ส่งกำ� ลงั กบั ชดุ เฟอื งท้าย ดังรูปที่ 2.23 การวางเครื่องยนต์ลักษณะนี้แม้ท�ำให้น้�ำหนักรวมของรถเทไปทางด้านหน้ารถมากกว่า ด้านหลัง แต่การกระจายแรงเบรกและการบงั คับเลีย้ วจะใหผ้ ลค่อนข้างดี รูปที่ 2.23 เครอ่ื งยนต์แบบวางหนา้ ตามยาวขับเคลอ่ื นล้อหลัง การวางเครอ่ื งยนตล์ กั ษณะนต้ี อ้ งการพนื้ ทใ่ี ตฝ้ ากระโปรงหนา้ มาก และชดุ เฟอื งทา้ ยจะไปลดขนาด ของห้องโดยสารตอนหลังลง แต่การซ่อมบ�ำรุงจะท�ำได้ง่ายเพราะเคร่ืองยนต์ ระบบส่งก�ำลัง เพลาขับ และชดุ เฟืองทา้ ยสามารถถอดออกได้โดยอิสระ 2. วางหน้าตามขวาง (Front Engine Transverse) รถยนต์ขับเคลื่อนล้อหน้า (Front Wheel Drive, FWD) นิยมท่ีจะวางเคร่ืองไว้ในลักษณะนี้ โดยใช้เพลาร่วม (Transaxle) ยึดติดกับ ตอนท้ายของเคร่ืองยนตด์ ้านขา้ งของรถ เพลารว่ มเป็นเส้ือโลหะซึง่ บรรจุชดุ สง่ ก�ำลังและชดุ เฟอื งดอกจอก รวมเอาไวด้ ว้ ยกัน เพลาขับจะต่อออกจากเพลาร่วมเพอ่ื ขับเคลอื่ นลอ้ หน้า ดงั รูปที่ 2.24 การวางเคร่ืองลกั ษณะนีท้ �ำงานรว่ มกบั เพลาร่วม จงึ ไม่จ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งใชช้ ดุ เฟอื งดอกจอกและ เพลาขับ

งานเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลนี 39 รปู ที่ 2.24 การขับเคลือ่ นล้อหน้าจากการวางเคร่อื งยนต์ไว้ดา้ นหน้าตามขวาง สมมุติให้รถยนต์เป็นชนิดขับเคล่ือน 2 ล้อ (2 WD) การวางเคร่ืองยนต์ไว้ตอนหน้าตามขวาง ทำ� งานรว่ มกับชุดเพลาร่วมนั้น นอกจากจะต้องการพ้นื ท่ใี ต้ฝากระโปรงนอ้ ยแลว้ ยังลดน้�ำหนักของตวั รถ ลงอกี ด้วย และการทไ่ี ม่ต้องติดต้ังชดุ เฟอื งดอกจอกไวต้ อนท้ายของรถ รวมทง้ั การไม่ต้องใช้เพลาขบั ท�ำให้ บริเวณพ้นื ท่ีหอ้ งโดยสารเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งไรก็ตาม การวางเคร่อื งลกั ษณะน้จี ะทำ� ให้น�้ำหนักเทมาทางระบบ รองรบั ดา้ นหนา้ รถมากกวา่ ดา้ นหลงั การกระจายแรงเบรกโดยใชร้ ะบบเบรกหนา้ แบบจาน และระบบหลงั แบบดรมั จึงนิยมใชใ้ นรถยนตท์ ีม่ กี ารวางเคร่ืองลักษณะนี้ 3. วางกลางตามขวาง (Mid - Engine Transverse) เพือ่ แก้ปัญหาน�ำ้ หนักเทลงไปทีห่ น้ารถ มากเกินไปจากลักษณะการวางเคร่ืองแบบวางหน้าตามขวาง ต�ำแหน่งของการวางเคร่ืองยนต์จะถูก ถอยลงมาอยู่ท่กี ลางตวั รถระหวา่ งทนี่ ัง่ คนขับกับล้อหลัง รถยนตท์ มี่ ีการวางเคร่อื งแบบกลางตวั น้ี จะวาง เครอื่ งยนต์ตามขวางและใช้เพลารว่ มเหมือนกับรถยนต์ทว่ี างเครื่องตอนหน้าแบบขวาง แตเ่ พลาขบั จะถกู ตอ่ ออกจากเพลารว่ มเพ่อื ไปขับล้อหลงั แทน รปู ท่ี 2.25 การวางเครอื่ งแบบวางกลางตามขวาง

40 บทที่ 2 การทำ� งานของเครื่องยนต์แกส๊ โซลนี หม้อน�้ำของรถยนต์ท่ีมีการวางเครื่องแบบน้ี จะอยู่ภายใต้ฝากระโปรงหันหน้ามาทางด้านหน้า ของรถ เนื่องจากต�ำแหน่งในการวางเครื่องถูกถอยมาอยู่กลางตัวรถ จึงท�ำให้ด้านหน้าของรถสามารถ ออกแบบใหไ้ ดส้ มรรถนะทางอากาศพลศาสตร์ได้อยา่ งดีเย่ยี ม แต่เนอื่ งจากพื้นที่ตอนกลางถูกแทนทดี่ ว้ ย เคร่ืองยนต์ไปแล้ว รถยนต์ท่ีมีการวางเคร่ืองลักษณะน้ีจึงเป็นรถยนต์สปอร์ตแบบ 2 ที่นั่ง และจ�ำเป็น จะต้องมีอุปกรณ์กั้น (Barrier) ระหว่างเคร่ืองยนต์กับที่นั่งคนขับเพื่อลดเสียง ความร้อน และความสั่น สะเทือนจากเครอ่ื งยนต์มายงั หอ้ งโดยสาร และเนอื่ งจากเคร่ืองยนตถ์ ูกวางในตำ� แหนง่ ใกล้กับจุดศนู ย์ถ่วง ของตวั รถ การกระจายนำ้� หนักไปยงั ลอ้ หนา้ และล้อหลงั จงึ เฉล่ียคอ่ นข้างใกล้เคียงกัน เมอ่ื เปรียบเทียบกบั รถยนต์ทม่ี กี ารวางเครอ่ื งในลกั ษณะอน่ื นอกจากน้ยี ังช่วยในเรื่องการบงั คับเล้ียวและการควบคมุ รถให้ดี ขึน้ ด้วย ประสิทธภิ าพเชงิ ความร้อน เชงิ กล และเชงิ ปรมิ าตร 1. ประสิทธิภาพเชิงความร้อน (Thermal Efficiency) เคร่ืองยนต์เปล่ียนพลังงาน ความร้อนจากเชอื้ เพลงิ ให้เป็นพลงั งานกลในการขับเคลอ่ื นประสิทธิภาพเชิงความร้อน คอื ความสัมพนั ธ์ ระหว่างกำ� ลงั ที่เครื่องยนตผ์ ลิตได้ ตอ่ พลังงานความรอ้ นทีไ่ ด้จากเชอื้ เพลงิ ในรูปของรอ้ ยละ เครื่องยนต์ต้องมีระบบหล่อเย็นและระบบหล่อล่ืน เพื่อท�ำให้เคร่ืองยนต์ท�ำงานได้อย่างปกติไม่ เสียหาย อย่างไรก็ตาม ระบบเหล่านี้ได้พาพลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิงออกไปอย่างมาก พลังงาน ความร้อนจากเชื้อเพลิงบางส่วนยังสูญเสียไปกับระบบระบายไอเสียอีกด้วย นอกจากน้ัน พลังงาน ความร้อนยังถูกใช้ไปในการเอาชนะความฝดื ของเครือ่ งยนตแ์ ละระบบสง่ กำ� ลัง ซงึ่ วเิ คราะหเ์ ปน็ ร้อยละได้ ดังนี้ 35% สูญเสียไปกบั ระบบหลอ่ เย็นและระบบหล่อลืน่ 35% สญู เสียไปกับระบบระบายไอเสยี 5% สูญเสยี ไปกับความเสยี ดทานภายในเครอ่ื งยนต์ 10% สูญเสียไปกบั ความเสียดทานของระบบส่งกำ� ลงั หลังจากหักความสูญเสียท้งั หมดไปแลว้ จึงเหลือเพียง 15% ของความร้อนในเชื้อเพลงิ เทา่ นน้ั ทใ่ี ช้ในการขบั เคล่ือนรถยนต์ ปัจจุบนั ส่วนประกอบของเครอ่ื งยนตแ์ ละวิทยาการเรือ่ งการหลอ่ ลน่ื ได้ถูก พัฒนาขน้ึ จนสามารถลดแรงเสยี ดทานต่าง ๆ ลงได้มาก อยา่ งไรก็ตาม ประสทิ ธิภาพเชงิ ความร้อนโดย เฉลีย่ ของเคร่ืองยนตก์ ็ยงั ไม่เกนิ 30% เซรามกิ จงึ เปน็ วสั ดทุ ่ไี ดเ้ รม่ิ นำ� มาใชใ้ นการผลิตเครอ่ื งยนต์ เน่ืองจาก ทนความรอ้ นท่อี ณุ หภมู สิ ูงได้ดี

งานเครื่องยนต์แก๊สโซลนี 41 2. ประสิทธิภาพเชิงกล (Mechanical Efficiency) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างก�ำลังท่ี เคร่ืองยนต์ผลติ ได้จริงต่อก�ำลงั ทเ่ี ครอ่ื งยนต์ผลติ ไดเ้ ม่อื ไร้การสญู เสียใด ๆ คดิ เปน็ รอ้ ยละเช่นกนั 3. ประสิทธิภาพเชงิ ปริมาตร (Volumetric Efficiency) คอื ความสัมพันธร์ ะหวา่ งปรมิ าณ ของอากาศที่ไหลเข้าไปในกระบอกสูบจริงในจังหวะดูดต่อปริมาณของอากาศท่ีบรรจุในกระบอกสูบ จนเตม็ ทคี่ วามดนั บรรยากาศ คดิ เปน็ รอ้ ยละเชน่ กนั ประสทิ ธภิ าพเชงิ ปรมิ าตรของเครอ่ื งยนตจ์ ะขนึ้ อยกู่ บั การออกแบบท่อร่วมไอดี (Intake Manifold) จังหวะการท�ำงานของลิ้น (Valve Timing) และระบบ ระบายไอเสีย (Exhaust System) การขจดั และอตั ราสว่ นก�ำ ลงั อดั ของกระบอกสบู การขจัด (Displacement) นยิ ามได้ว่า ปริมาตรของกระบอกสบู ท่วี ดั เมอื่ ลกู สูบอยูร่ ะหวา่ ง ต�ำแหน่ง TDC และ BDC มหี นว่ ยเป็นลกู บาศก์น้ิว ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร (ซซี ี) หรอื ลิตร การขจดั รวมของ เครื่องยนต์หาได้จากการรวมการขจัดของกระบอกสูบทุกสูบเข้าด้วยกัน ซ่ึงคือขนาดซีซีของเครื่องยนต์ นน่ั เอง การขจัดอาจจะเพิม่ ขึ้นไดโ้ ดยการขยายขนาดของเส้นผา่ นศูนยก์ ลางหรอื ช่วงชักของกระบอกสูบ เครื่องยนต์ท่ีมีการขจัดมากจะมีขนาดของเคร่ืองยนต์ใหญ่ ซ่ึงจะให้แรงบิดมากแต่ก็สิ้นเปลือง เช้ือเพลิงมากเช่นกัน จงึ เหมาะกับรถยนตข์ นาดใหญ่และมีน้�ำหนักมาก อัตราสว่ นก�ำลังอดั (Compression Ratio) คือ อตั ราสว่ นระหว่างปรมิ าตรของกระบอกสบู เมือ่ ลกู สบู อยทู่ ี่ BDC เทยี บกับปรมิ าตรเมื่อลกู สบู อยทู่ ี่ TDC เชน่ ปริมาตรของกระบอกสบู เมื่อลูกสบู อย่ทู ี่ BDC เปน็ 480 cm3 (cc) และเทา่ กบั 60 cm3 เมอื่ อยทู่ ี่ TDC ดงั นน้ั อตั ราสว่ นกำ� ลงั อดั จะเทา่ กบั 480/60 = 8 หรือ 8 : 1 เปน็ ตน้ ในทางทฤษฎีนั้น เคร่ืองยนต์ท่ีมีอัตราส่วนก�ำลังอัดสูงจะให้ก�ำลังที่มากกว่าเครื่องยนต์ท่ีมี อัตราสว่ นก�ำลังอัดตำ่� เมื่ออัตราส่วนกำ� ลังอดั เพิม่ ขึ้น ความรอ้ นภายในกระบอกสบู ในจังหวะอัดตัวกจ็ ะ เพิ่มขนึ้ เป็นสดั ส่วนกัน ดงั นน้ั เคร่อื งยนต์ทม่ี อี ัตราสว่ นกำ� ลังอดั สูงมาก ๆ อาจจะท�ำให้เช้อื เพลิงเกิดการ ระเบดิ (Explode) แทนที่จะเผาไหม้อย่างราบเรียบ การระเบิดของเช้ือเพลิงท�ำให้เกิดความเสียหายในกระบอกสูบ เช่น กระบอกร้าวหรือแตก การใช้เช้ือเพลิงท่ีมีค่าออกเทนสูงจะช่วยแก้ปัญหาน้ีได้ระดับหนึ่ง บริษัทผู้ผลิตรถยนต์มักจะค�ำนึงถึง ค่าอัตราสว่ นกำ� ลังอดั เปน็ อย่างแรกในการก�ำหนดชนดิ ของเชื้อเพลงิ ท่ใี ช้

42 บทที่ 2 การท�ำงานของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ บทท่ี 2 การทำ�งานของเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน ตอนที่ 1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่าง ประกอบ) ตอบแบบส้ัน 1. อธบิ ายเครือ่ งยนต์สันดาปภายใน 2. อธบิ ายชนิดของเคร่อื งยนต์ลูกสบู 3. อธิบายชว่ งชกั ของลกู สบู ในกระบอกสบู 4. อธิบายการเปล่ียนการเคล่อื นทแ่ี บบสลับเปน็ การเคลือ่ นที่แบบหมุน 5. อธบิ ายลนิ้ ของเคร่ืองยนต์ 6. สรปุ การทำ� งานของเครือ่ งยนต์ 7. ยกตัวอยา่ งการทำ� งานของล้ิน 8. อธิบายเคร่ืองยนต์หลายสบู 9. อธบิ ายระบบเสริมการทำ� งานของเครือ่ งยนตป์ ระกอบด้วยอะไรบา้ ง 10. การจำ� แนกประเภทของเคร่อื งยนตม์ ขี ้อก�ำหนด 6 วธิ ี ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง 11. อธิบายตำ� แหนง่ ในการวางเครอื่ งยนต์ 12. ประสิทธภิ าพเชิงความรอ้ น เชิงกล และเชิงปรมิ าตร ประกอบด้วยอะไรบ้าง 13. อธิบายการจัดและอตั ราส่วนกำ� ลงั อดั ของกระบอกสูบ ตอนท่ี 2 อธบิ ายคำ� ศพั ท์ (หมายถึง แปลคำ� ศัพท์ ให้รายละเอียดเพ่มิ เตมิ ขยายความ ถา้ มตี ัวอย่าง ให้ยกตวั อย่างประกอบ) ตอบแบบสน้ั 1. Engine 2. Bottom Dead Center (BDC) 3. Top Dead Center (TDC) 4. Stroke 5. Intake Port