รายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2

�ҡ���������������  ��кҷ���稾�й���������������� �������ɮ��Ҫ��� �ç�繹ѡ��ä�ҷ����ʺ������������㹸�áԨ��ä�� ���դ�����ԭ��觤��  �����੾�о��ͧ��  ���ѧ�ӼŻ���ª��������ҹ���ͧ  ���ͧ��ç�繾�ͤ�ҷ��ŧ�ع���Ѻ��ЪҪ��ͧ���ͧ��  ŧ�ع���Ѻ��ҹ���ͧ����Ȫҵ�  �������ѧ�ŵͺ᷹  �繷���Шѡ��Ѵ���  ���ç�ӹ֧�֧��ǹ���ͧ����¹͡�ҡ��ЪҪ�����蹴Թ��  ��觤��·ء���������㨡ѹ�Դ�ٹ������õԤس�ͧ���ͧ����� �ç�� ��кԴ���觡�ä����.

การจัดเก็บส่วยสาอากรทั้ง 4 ประเภท ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้ถูกกำหนดเป็นรูปแบบการจัดเก็บต่อเนื่องมาจนถึงสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี และตอนต้นรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงในสมัยรัชกาลที่ 3 พระบามสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ รัฐบาลมีความจำเป็นที่ต้องการใช้เงินในราชการมากกว่าแต่ก่อนพระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการปรับปรุงการจัดเก็บภาษีเป็นผลให้เกิดการจัดเก็บภาษีขึ้นใหม่ 38 ประเภท ทั้งนี้โดยเป็นภาษีที่เก็บจากการพนัน และจากผลผลิตประเภทต่างๆ จำแนกได้ดังนี้

����ѵ���ʵ�������Ѫ��ŷ�� 2 ( ��кҷ���稾�оط��������ҹ����� ) ( �.�. 2352-2367)
��ҹ���ɰ�Ԩ
           �����Ѫ��ŷ�� 2 ��ҹ���ͧ��ҧ�ҡ����֡ʧ���� �֧�ա�ä�Ң����ԭ������ͧ�������͹����Ǥ�� �ա�õԴ��ͤ�Ң�¡Ѻ��������͹��ҹ�ҡ��� �� �չ �Թ��� ���С� �ԧ���� �ǹ ������ �繵� ����Ѻ����ȷҧ���ѹ��
���� �õ��� �ѧ��� ����ԡ����Ըմ��Թ��ä�Ң�� �ͧ��ǧ�ѧ������Ф�ѧ�Թ��ҨѴ��� �������� ��Ժѵ��� ������١������������ɮҺ�Թ��� ������ç 㹡�����������ǧ�Դ��ͤ�Ң�¡Ѻ�չ��л������� � �����Ѻ����Ҫ�ҹ�������������ǔ
��Ѫ��ù�������͡ӻѹ��ǧ�����㹡�ä�Ң�·���Ӥѭ 2 �� ��� �������Ҿ�й������������Ң�����ط� �Թ��ҷ��١��� ����¹�� ������Թ��Ң��͡�� 10 ��Դ ��� �ѧ�� �ҧ �պء ��ԡ�� ������� ������ �С��� �Ҫ�ҧ ç��Ъ�ҧ �Թ��� ����������͡���索Ҵ ��� �������͡��Т������ ��ǹ�Թ��Ң���ҡ��� �׹��дԹ�׹
��û�Ѻ��ا�����ҡ� �ѡɳС���������ҡ��ѧ������͹�����Ѫ��ŷ��1 �ա�û�Ѻ��ا��������ѧ���
          1 . ����Թ�ǹ ��͡������Ҿ�ѡ�ҹ�͡����Ǩ�ǹ�ͧ��ɮ� �㹡�����ҡ��ǹ�����Դ�ͧ ����� �ѧ���
                    1.1 �ҡ��ǹ�˭� �繡�������ըҡ������׹�鹪�鹴� �� 7 ��Դ ����
�����¹ �ѧ�ش ����ǧ �л�ҧ �ҧ�Ҵ ��ҡ��о�٤�ҧ�ͧ��ҧ
                   1.2 ��ҡ� �����շ���纨ҡ��������ͧ �� 8 ��Դ ����
��ع �з�͹ ��� ��� ��� ���� �Ѻ��ô������
                   1.3 �ҡ����ѵ�� �����շ���纨ҡ���������ء �� ����� ���� �繵�
           2 . ����Թ�� ����¡Ѻ����Թ�ǹ ������ҡä�ҹ� ���¡��� ��ҧ���ǔ ���觹��͡�� 2 ������ ��� �ҹ�ӷ�� ��йҧ�ҧ���
                   2.1 �ҹ�ӷ�� ���� �Ҥ��� ���¶֧�ҷ������ö��١���������¤����˹�觻�������¹�ӽ����͹�ӷ�� �Ըա�������� �����ҧ����*�ͧ�һ�������� �纴����Ըմ٤��⤤�͡�ùѺ����͡�к�ͷ����䶹��¡�äӹdz����˹�觤�������ö��ӹ�㹼׹�Թ���ҹ�� � ����������������ࡳ��ӹǹ⤢�鹨�����ѵ���ҧ���Ƿ��е�ͧ�������� �һ��������֧���¡�ա���˹����� "�Ҥ���" �й�鹹Ҥ��⤹����ɮèзӹ�������������е�ͧ��������(�ҧ����)��ʹ� ����ͷҧ�Ҫ��� �Ѵ��ѡ�ҹ���͢����ǧ�Թ�������Ǩ�����Ѱ��Ũ��͡˹ѧ��������Ңͧ���Ҷ���������ѡ�ҹ㹡�����¡���ҧ���������ҡ�
��ҹҵ��� ˹ѧ����ѭ�ҹ�����¡��� "���ᴧ"
                     2.2 �ҿҧ��� ���� �Ҵ͹ ���¶֧�ҷ������ö��١����������¹�ӽ���§���ҧ���� �繹�㹷��͹��ӷ�Ң�����֧ �Ը��������ҧ��������Ѻ�һ���������纨ҡ�ҷ������ö��١�������ԧ ��һ�����������ͷ������ ������ͧ�����ҡä�ҹ���ж����ҵͿҧ�������������� ��ࡳ��㹡���纤�ҹ� ����ͷҧ�Ҫ��� �Ѵ��ѡ�ҹ���͢����ǧ�Թ��
�����Ǩ���� �Ѱ��Ũ��͡˹ѧ��������Ңͧ���Ҷ���������ѡ�ҹ㹡�����¡���ҧ���������ҡä�ҹҵ��� ˹ѧ����ѭ�ҹ��
���¡��� "㺨ͧ"


*�ҧ���� ���¶֧���������ҡä�ҹ� ����Ѱ������繢������͡������Ѫ��ŷ�� 2 �Դ�ҡä�ҹ���ѵ������� �ͧ�Ѵ����


�ҵ�� �ǧ��������

�йҹ=1�ѧ�ѧ =1������   = 1���¹�ѧ=1���¹

�йҹ=�Ե���� =�����Ե����¹=�����Ե����¹= �Ե�

1 �Ѵ = 20 �Ե�

�Թ����ǧ����¾���ҷ��������ط���������������
������Թ���ٻ�ѡ�ˡ��պ ��ҧ�ѡ� ��� �����ҧ��պ ���ش�����Ш��Ѫ��� ���ٻ��ر ����������ͧẺ ��� ��ر͡����������ر ����������������³�����Ҫ �����ر͡����ѡɳ���������ͧ�Թ����ǧ����͹�Ѻ�Թ����Ե���������ط��ʹ��Ҩ����š

สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เนื่องจากเป็นช่วงระยะของการก่อร่างสร้างตัวและไทยยังต้องทำสงครามกับพม่าอีก ซึ่งทำให้ฐานะของประเทศไม่มั่นคงนัก พระองค์จึงสนับสนุนให้ทำการค้ากับต่างประเทศ เช่น จีนและโปรตุเกส

ตั้งแต่ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เป็นต้นมา เศรษฐกิจของประเทศนับว่าฟื้นตัวขึ้นมาจากเดิมมาก การเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักของประชาชนในช่วงระยะนี้ ขยายตัวเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับการค้ากับต่างประเทศ รายได้สำคัญของรัฐบาลสามารถแบ่งได้ 2 ทาง คือ

1. รายได้จากการค้ากับต่างประเทศ

กรุงเทพฯ นับว่าอยู่ในทำเลที่เหมาะสมในการติดต่อค้าขายทางเรือ เพราะตั้งอยู่ไม่ไกลจากปากทะเล ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาได้ขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3) ซึ่งทรงบังคับบัญชากรมท่า มีบทบาทในการส่งเสริมการค้าโดยเฉพาะกับจีน จนสมเด็จพระบรมชนกนาถ ทรงเรียกพระนามว่า "เจ้าสัว" ต่อมาเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยฟื้นฟูเศรษฐกิจอย่างจริงจัง การค้าขายกับต่างประเทศจึงขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวางยิ่งกว่าใน 2 รัชกาลแรก

รายได้จากการค้ากับต่างประเทศที่สำคัญ สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท ดังนี้คือ

(1) การค้าสำเภาหลวง พระคลังสินค้า ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐขึ้นอยู่กับพระคลัง (พระยาโกษาธิบดี) มีหน้าที่รับผิดชอบในการแต่งเรือสำเภาหลวงบรรทุกสิ่งของที่เป็นส่วย เช่น ดีบุก พริกไทย ครั่ง ขี้ผึ้ง ไม้หอม ฯลฯ รวมทั้งสินค้าอื่นๆ ที่จัดซื้อหาเพิ่มเติมออกไปค้าขายกับจีนและประเทศใกล้เคียง เช่น เขมร ญวน และมลายู แล้วรับซื้อสินค้าต่างประเทศที่ต้องการใช้ภายในประเทศ เช่น ผ้า ถ้วยชาม มาจำหน่ายแก่ประชาชนอีกต่อหนึ่ง ผลกำไรจากการค้าสำเภาหลวงนับเป็นรายได้ที่สำคัญยิ่งของแผ่นดินในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

รายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2

รายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2

ขี้ผึ้้ง

(2) กำไรจากการผูกขาดสินค้า พระคลังสินค้ามีหน้าที่ควบคุมการค้ากับต่างประเทศ เช่นในสมัยอยุธยา โดยผูกขาดสินค้าบางอย่าง เช่น รังนก ฝาง ดีบุก งาช้าง พริกไทย เนื้อไม้ ตะกั่ว และพลวง เป็นสินค้าผูกขาดของหลวง ราษฎรผู้ใดมีสินค้าดังกล่าว ให้นำมาขายแก่พระคลังสินค้า เท่านั้น ห้ามเอกชนซื้อขายกับพ่อค้าต่างชาติโดยตรง ถ้าชาวต่างประเทศต้องการซื้อสินค้าเหล่านี้ จะต้องซื้อผ่านพระคลังสินค้า ซึ่งทำหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลาง

(3) ภาษีปากเรือ เป็นค่าธรรมเนียม ซึ่งเก็บจากเรือสินค้าของชาวต่างประเทศที่เข้ามาจอดในเมืองท่าของไทย กำหนดเก็บภาษีตามส่วนกว้างที่สุดของเรือ โดยคิดอัตราภาษีเป็นวาและเรียกเก็บในอัตราที่ต่างกัน เช่น ในสมัยรัชกาลที่ 2 เรือของจีนเสียวาละ 40 บาท เรือกำปั่นฝรั่ง เสียวาละ 118 บาท ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อไทยทำสนธิสัญญาเบอร์นีกับอังกฤษ ใน พ.ศ. 2369 ได้มีข้อตกลงว่ารัฐบาลไทยจะเก็บภาษีจากพ่อค้าอังกฤษรวมเป็นอย่างเดียวตามความกว้างของปากเรือ เรือสินค้าที่บรรทุกสินค้ามาขาย เก็บวาละ 1,700 บาท ส่วนเรือที่ไม่ได้บรรทุกสินค้าเข้ามาขาย เก็บวาละ 1,500 บาท

(4) ภาษีสินค้าขาเข้า เก็บจากสินค้าที่พ่อค้าต่างประเทศนำเข้ามาจำหน่าย เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าแพรจีน เครื่องแก้ว เครื่องลายคราม ใบชา อัตราการเก็บไม่แน่นอน ยืดหยุ่นตามความเหมาะสม เช่น เรือของประเทศที่มีสัมพันธไมตรีเข้ามาค้าขายเป็นประจำ จะได้รับสิทธิพิเศษ ในสมัยรัชกาลที่ 2 เรือสินค้าของชาวจีนเสียภาษีสินค้าขาเข้าร้อยละ 4 ถ้าเป็นเรือสินค้าของชาติตะวันตก เสียภาษีร้อยละ 8 ของราคาสินค้า

(5) ภาษีสินค้าขาออก เก็บจากสินค้าที่ส่งออกในอัตราที่ต่างกันไปตามชนิดของสินค้า เช่น ในสมัยรัชกาลที่ 2 รังนกนางแอ่นกับเขากวางอ่อน เสียภาษีร้อยละ 20 ของราคาสินค้า งาช้างหาบละ 10 สลึง เกลือเกวียนละ 4 บาท หนังวัว หนังควาย กระดูกช้าง หาบละ 1 บาท

2. รายได้ภายในประเทศ

ส่วนใหญ่คงเป็นแบบเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายและสมัยกรุงธนบุรี รัฐบาลมีรายได้จากการเก็บภาษีอากร แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ

(1) จังกอบ หมายถึง ภาษีสินค้าผ่านด่านทั้งทางบกและทางน้ำ โดยการเก็บตามสัดส่วนสินค้าในอัตรา 10 หยิบ 1 หรือเก็บเงินตามขนาดของยานพาหนะที่ขนสินค้าผ่านด่าน ส่วนใหญ่วัดตามความกว้างที่สุดของปากเรือ

(2) อากร เป็นเงินที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรได้จากการประกอบอาชีพต่างๆ ที่ไม่ใช่การค้าขายโดยตรง เช่น การทำนา ทำสวน หรือเงินที่พ่อค้าเสียให้แก่รัฐบาลในการให้สัมปทานการประกอบการต่างๆ เช่น การให้เก็บของป่า การต้มสุรา อัตราที่เก็บประมาณ 1 ใน 10 ของผลประโยชน์ที่ราษฎรทำมาหาได้

(3) ส่วย เป็นเงินหรือสิ่งของที่ไพร่หลวงที่ไม่ต้องการเข้าเวรรับราชการส่งมาให้รัฐแทนการเข้าเวรรับราชการโดยรัฐเป็นผู้กำหนดว่าให้ไพร่หลวงต้องเข้าเวรภายใน 3 เดือน ผู้ใดไม่ต้องการจะเข้าเวร จะต้องเสียเป็นเงินเดือนละ 6 บาท

(4) ฤชา เป็นเงินค่าธรรมเนียมที่รัฐเรียกเก็บจากราษฎร ในกิจการที่ทางราชการจัดทำให้ เช่น การออกโฉนด เงินปรับสินไหม ที่ฝ่ายแพ้จะต้องชดใช้ให้แก่ฝ่ายชนะ รัฐก็จะเก็บไปครึ่งหนึ่งเป็นค่าฤชา เรียกว่า "เงินพินัยหลวง"

นอกจากนี้ ยังได้มีการปรับปรุงภาษีบางอย่างเพิ่มขึ้นจากเดิม ในสมัยรัชกาลที่ 2 และ รัชกาลที่ 3 ที่สำคัญๆ มีดังนี้

ในสมัยรัชกาลที่ 2 มีการปรับปรุงภาษี ดังนี้ การเดินสวน คือ การให้เจ้าพนักงานที่ได้รับการแต่งตั้งออกไปสำรวจเรือกสวนของราษฎรว่าได้จัดทำผลประโยชน์ในที่ดินมากน้อยเพียงใด แล้วออกหนังสือสำคัญให้เจ้าของถือไว้เพื่อเป็นหลักฐานการเสียภาษีอากร ซึ่งการจัดแบ่งภาษีการเดินสวนจัดแบ่งตามประเภทของผลไม้

การเดินนา คือ การให้เจ้าพนักงานออกไปสำรวจที่นาของราษฎร แล้วออกหนังสือสำคัญให้เจ้าของถือไว้เพื่อเป็นหลักฐานในการเสียภาษีอากรที่เรียกว่า "หางข้าว" คือ การเก็บข้าวในอัตราไร่ละ 2 ถัง และต้องนำไปส่งที่ฉางหลวงเอง

เงินค่าผูกปี้ข้อมือจีน เดิมชาวจีนได้รับการยกเว้นจากการเกณฑ์แรงงานในขณะที่ราษฎรไทยที่เป็นไพร่และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ ที่อาศัยอยู่ในเมืองไทยต้องถูกสักข้อมือเป็นไพร่และต้องทำงานให้แก่มูลนายและพระเจ้าแผ่นดิน รัฐบาลไทยในสมัยรัชกาลที่ 2 เห็นควรที่จะได้ใช้ประโยชน์จากแรงงานจีน จึงได้พิจารณาเก็บเงินค่าราชการจากชาวจีน 1 บาท 50 สตางค์ ต่อ 3 ปี จีนที่มาเสียค่าแรงงานแล้วจะได้รับใบฎีกาพร้อมกับได้รับการผูกปี้ข้อมือด้วยไหมสีแดงประทับตราด้วยครั่งเป็นตราประจำเมือง ซึ่งแตกต่างกันออกไป เช่น เมืองเพชรบุรีเป็นรูปหนู กาญจนบุรี เป็นรูปบัว การผูกปี้ข้อมือจีนนี้ เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้เป็นประเพณีปฏิบัติสืบมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 จึงมีพระราชบัญญัติลักษณะการผูกปี้ข้อมือจีนพ.ศ.2443 ออกใช้บังคับทั่วทุกมณฑลและได้ยกเลิกไปในตอนปลายรัชกาลเมื่อพ.ศ. 2451

ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีการเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้นหลายชนิด เช่น ภาษีพริกไทย น้ำตาล เป็นต้น ในสมัยนี้มีระบบการเก็บภาษีแบบใหม่เกิดขึ้น เรียกว่า "ระบบเจ้าภาษีนายอากร" หมายถึง การที่รัฐเปิดประมูลการเก็บภาษี ผู้ชนะการประมูล คือ ผู้ที่เสนอผลประโยชน์สูงสุดให้แก่รัฐบาล มีอำนาจไปดำเนินการเก็บภาษีแทนรัฐบาลอีกต่อหนึ่ง ผู้ที่ประมูลภาษี เรียกว่า "เจ้าภาษีนายอากร" ส่วนมากเป็นชาวจีนผู้มีฐานะดีทางเศรษฐกิจจากการลงทุนค้าขาย ผลดีของระบบเจ้าภาษีนายอากร คือ รายได้จากการเก็บภาษีอากรได้ผลเต็มเม็ดเต็มหน่วยมากขึ้น แต่มีข้อเสีย คือ เป็นระบบผูกขาดที่ให้แก่ชาวจีนเป็นส่วนใหญ่ และอาจจะมีการขูดรีดภาษีจากราษฎรได้

ด้านการเมือง

ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยนั้น ยังคงดำาเนินการปกครองตามอย่างเมือง คร้ังสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เป็น ส่วนใหญ่ แต่จะ มีการเพิ่มเติมบ้าง เช่น ทรงกำหนดการเข้ารับราชการของพลเรือน คือ ทรงให้การผ่อนผัน การเข้ารับราชการของผู้ชายเหลือปีละ ๓ เดือน คือ มาเข้ารับราชการ ๑ เดือน และไปพักประกอบอาชีพ ส่วนตัว ๓ เดือน แล้วให้กลับมาเข้ารับราชการอีก สลับกันไป นอกจากน้ันยังทรงพระกรุณาพระราชทาน เงินหลวงจ้างแรงงานกรรมกรจีนมาทำางานโยธา เช่น การขุดคลอง แทนการเกณฑ์แรงงานประชาชน ดังแต่ก่อน

ทรงเอาพระทัยใส่ดูแลทุกข์สุขของอาณา ประชาราษฎร์อย่างทั่วถึง ทรงออกกฎหมายใหม่ เช่น ห้ามสูบฝิ่น  ห้ามเลี้ยงไก่  เลี้ยงนกและปลากัดเอาไว้ กัดกันเพื่อเป็นการพนัน อันเป็นการทำร้ายสัตว์ เป็น การก่อให้เกิดบาปกรรมแก่ตนเองและทำให้ศีลธรรม เสื่อมทรงออกกฎหมายว่าสัญญาเกี่ยวกับที่ดินต้องทำเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นต้น

ด้านสังคม

1. การควบคุมกำลังคน

เมื่อแรกตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีใหม่ๆ สังคมไทยต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนกำลังคนอย่างมาก เพราะต้องใช้กำลังคนทั้งการก่อสร้างพระนครใหม่ การป้องกันบ้านเมือง และต้องการไว้รบเพื่อเตรียมทำสงคราม ฉะนั้นระบบไพร่จึงมีบทบาทสำคัญมาก

ระบบไพร่ หรือ การควบคุมกำลังคนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยังคงอาศัยระบบไพร่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นรากฐาน จากสภาพทางเศรษฐกิจที่การค้ากับต่างประเทศกำลังเจริญรุ่งเรืองกว่าแต่ก่อน ตลอดจนการเข้ามาของมหาอำนาจตะวันตก มีผลทำให้ระบบไพร่ในสมัยนี้ลดการควบคุมที่ค่อนข้างเข้มงวดลง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ไพร่หลวงจะต้องถูกเกณฑ์แรงงานประจำเข้าเดือน ออกเดือน รวมแล้วปีหนึ่งต้องถูกเกณฑ์แรงงาน 6 เดือน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 การเข้าเวรทำงานของไพร่หลวงได้รับการผ่อนปรนให้ทำงานน้อยลง โดยทำงานให้รัฐเพียงปีละ 4 เดือน สมัยรัชกาลที่ 2 ได้ลดลงอีกเหลือเพียงปีละ 3 เดือนเท่านั้น และในจำนวนเวลา 3 เดือนที่ต้องเข้าเวรนี้ ถ้าผู้ใดจะส่งเงินมาเสียเป็นค่าราชการแทนการเข้าเวรก็ได้ เดือนละ 6 บาท ปีละ 18 บาท สำหรับไพร่สมนั้น ให้เข้ามารรับราชการด้วยเช่นกันปีละ 1 เดือน หรือจ่ายเป็นเงิน ปีละ 6 บาท

นอกจากนั้น ยังยอมให้ไพร่ที่กระทำผิดแล้วมามอบตัวจะไม่ถูกลงโทษ ให้ไพร่สามารถเลือกขึ้นสังกัดมูลนายได้ตามสมัครใจ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ยังโปรดเกล้าฯ ให้มีการพระราชทานตราภูมิคุ้มห้ามแก่ไพร่หลวงทุกคน ทำให้ตั้งแต่นั้นมาไพร่หลวงจะได้รับการยกเว้นอากรค่าน้ำ อากรตลาดและอากรสมพัตสร ภายในวงเงิน 4 บาท (1 ตำลึง) และจ่ายเฉพาะเงินภาษีอากรส่วนที่เกินกว่า 4 บาทขึ้นไป การผ่อนปรนกับไพร่นั้น ยังคงต่อเนื่องมาในสมัยหลัง คือ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงยอมให้ไพร่ถวายฎีกาโดยตรงได้ในกรณีที่ถูกข่มเหงจากมูลนาย โดยไม่จำเป็นต้องร้องเรียนผ่านตามขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรม

2. โครงสร้างชนชั้นของสังคม

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น โครงสร้างชนชั้นของสังคมยังคงคล้ายกับสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ มี 2 ชนชั้น ได้แก่ ชนชั้นปกครอง และขุนนาง โดยมีรายละเอียดดังนี้

พระมหากษัตริย์

พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจสูงสุด พระบรมราชโองการของพระองค์เป็นกฎหมาย พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะดุจสมมติเทพ

พระบรมวงศานุวงศ์

พระบรมวงศานุวงศ์ เป็นผู้ที่สืบเชื้อสายของพระมหากษัตริย์ ตำแหน่งของพระบรมวงศานุวงศ์ จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

- สกุลยศ หมายถึง ตำแหน่งที่สืบเชื้อสายมาโดยกำเนิด ซึ่งสกุลยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มี 3 ตำแหน่ง ได้แก่ เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า และหม่อมเจ้า

- อิสสริยยศ หมายถึง ตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทานหรือเลื่อนยศให้ ซึ่งอิสสริยยศที่มีตำแหน่งสูงที่สุด คือ พระมหาอุปราช

ขุนนาง

ขุนนาง เป็นกลุ่มบุคคลที่ช่วยเหลือกิจการบริหารราชการแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ขุนนางได้รับการยกเว้นการเกณฑ์แรงงาน และขุนนางในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีอิทธิพลและบทบาททางการเมืองสูง

ไพร่

ไพร่ หมายถึง ราษฎรทั่วไปทั้งชายและหญิง ที่มิได้เป็นเจ้านาย ขุนนาง และมิได้เป็นทาส นับเป็นชนชั้นที่มีจำนวนมากที่สุดของสังคม ไพร่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ที่สำคัญ คือ ไพร่สม ไพร่หลวง และไพร่ส่วย เหมือนสมัยกรุงศรีอยุธยา

ไพร่หลวงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้รับการผ่อนผันลดหย่อนเวลาเกณฑ์แรงงาน ด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจที่ต้องการให้ไพร่เหล่านี้ได้ผลิตสินค้าเพื่อขายสู่ตลาดมากขึ้น ในสมัยนี้เนื่อง่จากการค้าเจริญรุ่งเรือง ไพร่ส่วยมีความสำคัญมาก เพราะรัฐบาลเร่งเอาส่วยสิ่งของต่าง ๆ เพื่อนำไปค้าขาย นับเป็นภาระหนักอย่างหนึ่งของไพร่ จึงมีคนจำนวนมากหนีระบบไพร่ โดยการไปเป็นไพร่สมของเจ้านายหรือขุนนางผู้มีอำนาจหรือขายตัวเป็นทาส จนในสมัยรัชกาลที่ 3 ประกาศห้ามขุนนางหรือเจ้านายซ่องสุมกำลังคน

ทาส

ทาส เป็นชนชั้นต่ำสุดของสังคม ทำงานให้แก่นายเงินของตนเท่านั้น ไม่ต้องเข้าเวรรับราชการเช่นไพร่ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้ระบุประเภทของทาสไว้ 7 ประเภท คือ

1. ทาสสินไถ่ คือ ทาสที่ไถ่หรือซื้อมาด้วยทรัพย์

2. ทาสในเรือนเบี้ย คือ เด็กที่เกิดมาในขณะที่พ่อแม่เป็นทาส

3. ทาสที่ได้มาจากฝ่ายบิดามารดา คือ ทาสที่ได้รับเป็นมรดกสืบทอด

4. ทาสท่านให้ คือ ทาสที่มีผู้ยกให้

5. ทาสที่ได้เนื่องมาจากนายเงินไปช่วยให้ผู้นั้นพ้นโทษปรับ

6. ทาสที่มูลนายเลี้ยงไว้ในยามข้าวยากหมากแพง

7. ทาสเชลย คือ ทาสที่ได้มาจากสงคราม

พระสงฆ์

พระสงฆ์ เป็นกลุ่มสังคมที่มาจากทุกชนชั้นในสังคมมีหน้าที่อบรมสั่งสอนประชาชนเป็นครูผู้สอนหนังสือและวิทยาการต่างๆ แก่เด็กผู้ชาย

ด้านศิลปวัฒนธรรม

รายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2

พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก

รายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2

- ทรงฟื้นฟูประเพณี วันวิสาขบูชา

เดิมงานประเพณีวันวิสาขะบูชา ได้เคยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 6 ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ถึงอยุธยา แต่เนื่องจากเกิดศึกสงคราม งานประเพณีจึงไม่ได้ จัดกัน ด้วยเหตุที่บ้านเมืองวุ่ยวายไม่สงบสุข ครันถึงสมัยรัชกาลที่ 2 บ้านเมือง

ร่มเย็นสงบสุขดี รัชกาลที่ 2 ได้ปรึกษาหารือกับสมเด็จพระสังฆราช เมื่อเห็นสมควรดีแล้ว จึงได้โปรดให้ทำเป็นพระราชพิธีใหญ่โต

เป็นเวลา 3 วัน ตั้งแต่วันขึ้น 14 ค่ำ 15 ค่ำและวันแรม 1ค่ำ พระมหากษัตริย์ ขุนนาง ไพร่ ทาส จะรักษาศีล 8 (พระอุโสถศีล)

ปล่อยนกปล่อยปลา ห้ามฆ่าสัตว์ ห้ามเสพสุรา ให้ตั้งโคมแขวนเครื่องสักการะบูชา เวียนเทียน โปรดให้มีพระธรรมเทศนาในพระอารามหลวง ถวายเครื่องไทยทานจนครบ 3 วัน

- พระราชพิธีอาพาธพินาศ

เนื่องจากมีโรคอหิวาตกโรค ระบาดจึงได้ประกอบพิธีนี้ขึ้น และมีการตั้งโรงทาน เพื่อพระราชทานเลี้ยงอาหารแก่ราษฎร

ในปีพุทธศักราช 2363 ได้เกิดอหิวาตกโรคระบาด ในพระนคร นานประมาณ 15 วัน ทำให้ราษฎร ล้มตายเป็นจำนวนมาก

( ประมาณ 30,000คน ) มีศพลอยอยู่ตามลำน้ำคูคลองอยู่กลาดเกลื่อน ซากศพทับถมเป็นกอง ทางวัดไม่สามารถเผาได้หมดจนพระสงฆ์ต้องหนีออกจากวัด ชาวบ้านต้องหนีออกจากบ้าน สร้างความวุ่นวายอย่างมากภายใน

พระนคร รัชกาลที่ 2 จึงโปรดให้ประกอบพระราชพิธีอาพาธพินาศขึ้น เมื่อวันจันทร์ขึ้น 7 ค่ำเดือน 10 พ.ศ. 2363 พระราชพิธีนี้

จัดทำขึ้น ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ลักษณะของพระราชพิธีนี้คล้ายกับพิธีตรุษ กล่าวคือมีการยิ่งปืนใหญ่รอบพระนครตลอดรุ่งคืน แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตออกแห่มีพระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ออกร่วมขบวนแห่ด้วย โดยทำหน้าที่โปรยทรายและประพรมน้ำพระปริตร เพื่อขับไล่โรคร้ายทั้งทางบกและทางน้ำ พร้อมทั้งพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง หยุดงาน เพื่อรักษาศีลทำบุญทำทาน

ตามใจสมัคร ประกาศห้ามราษฎรฆ่าสัตว์ ให้ราษฎรอยู่แต่ในบ้านเรือน ถ้ามีธุระจำเป็นจริง ๆ จึงให้ออกจากบ้านได้ พระราชทานทรัพย์ให้เผาศพทีไร้ญาติ และโปรดให้ปล่อยนักโทษออกจากที่คุมขังจนหมดสิ้น

นอกจากนี้ได้โปรดให้ตั้งโรงทานขึ้น ณ ริมประตูศรีสุนทร พระราชทานอาหารเลี้ยงราษฎรที่มีความปรารถนามารับพระราชทาน การรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัย บ้านเมืองสะอาด ทำให้โรคอหิวาตกโรคหมดไป( ในสมัยนั้นยังไม่รู้จักเชื้ออหิวาตกโรค) เรียกกันว่า "โรคห่าระบาด"

- ด้านสถาปัตยกรรม มีการขยายเขตพระบรมมหาราชวัง สร้างสวนขวา

- การปั้นและการแกะสลัก

ทรงแกะสลักบานประตูพระวิหารพระศรีศากยมุนีวัดสุทัศน์เทพวรารามคู่หน้าด้วยพระองค์เองคู่กับกรมหมื่นจิตรภักดทรงแกะสลัก หน้าพระใหญ่และหน้าพระน้อย ที่ทำจากไม้รัก คู่หนึ่ง เรียกกันว่า “พระยารักใหญ่” กับ “พระยารักน้อย”

- ทรงปั้นพระพักตร์ พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก เป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม

- ด้านการดนตรี

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระปรีชาสามารถในการดนตรีเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะดนตรีไทย เครื่องดนตรีที่ทรงโปรดมากคือ ซอสามสาย ทรงพระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้าฟาด" พระองค์ทรงแต่งเพลงสรรเสริญพระจันทร์ หรือ เพลงบุหลันลอยเลื่อน หรือเพลงบุหลัน(เลื่อน)ลอยฟ้า หรือ เพลงทรงพระสุบิน เพราะเพลงนี้มีต้นกำเนิดจากพระสุบินของพระองค์เอง โดยเล่ากันว่า หลังจากพระองค์ได้ทรงซอสามสายจนดึก ก็เสด็จเข้าที่บรรทมแล้วทรงพระสุบินว่า ได้เสด็จไปยังดินแดนที่สวยงามดุจสวงสวรรค์ ณ ที่นั้น มีพระจันทร์อันกระจ่างได้ลอยมาใกล้พระองค์ พร้อมกับมีเสียงทิพยดนตรีอันไพเราะยิ่ง ประทับแน่นในพระราชหฤทัย ครั้นทรงตื่นจาบรรทมก็ยังทรงจำเพลงนั้นได้ จึงได้เรียกพนักงาน ดนตรี มาแต่งเพลงนั้นไว้ และทรงอนุญาตให้นำออกเผยแผ่ ซึ่งเคย ใช้ เพลงทรงพระสุบินนี้เป็นเพลงสรรเสริญ

พระบารมีอีกด้วย

- ธงชาติ ประวัติความเป็นมาของธงชาติไทย

การใช้ธงช้าง เป็นธงชาติ ในสมัยนี้สืบเนื่องมาจาก รัชกาลที่ 2 ได้โปรดให้สร้างสำเภาหลวงขึ้นเพื่อทำการค้ากับต่างประเทศ ขณะนั้นชาวอังกฤษได้ตั้งสถานีการขึ้นที่สิงคโปร์ ได้แจ้งว่าเรือสินค้าที่เข้ามาค้าขายต่างก็ชักธงแดงทั้งหมดยากแก่การต้อนรับ ขอให้ทางไทยเปลี่ยนการใช้ธงเสีย จะได้จักการับรองเรือหลวงของไทยให้สมพระเกียรติ ขณะนั้นพระองค์ได้ช้างเผือกเข้ามาสู่พระบารมีถึง 3 ช้าง จึงโปรดให้ใช้ธงที่มีรูปช้างสีขาวอยู่ในวงจักรสีขาวไว้ตรงกลางผืนธงสีแดง เป็นธงประจำเรือในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ซึ่งหมายความว่าเป็นเรือของ พระเจ้าช้างเผือกส่วนเรือของราษฎรยังคงใช้พื้นธงสีแดง

ด้านศาสนา

การทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา ทั้งด้วยการทรงบำเพ็ญพระองค์เป็นแบบอย่าง เช่น ทรงผนวชตั้งแต่เมื่อยังทรงดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เมื่อเสด็จทรงครองราชสมบัติแล้ว พระราชานุกิจที่ทรงปฏิบัติเป็นประจำทุกเช้า คือ การถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุสงฆ์ที่้เข้ามารับบิณฑบาตในพระบรมมหาราชวัง และทรงสนทนาธรรมกับพระสงฆ์เป็นนิตย์

การบำรุงพระสงฆ์และการส่งเสริมให้ราษฎรได้เข้าใจหลักธรรมคำสอนได้ดีขึ้้น ได้ทรงพระราชดำริให้แก้ไขการศึกษาพระปริยัติธรรมจาก 3 ประโยค เพิ่มเป็น 9 ประโยค และทรงริเริ่มให้แปลบทสวดมนต์จากภาษาบาลีเป็นภาษาไทยโดยสวดเป็นทำนองเสนาะด้วย

ที่สำคัญยิ่ง คือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ฟื้นฟูวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา คือวันที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และเสด็จดับขันธปรินิพิพาน ณ วันเพ็ญเดือนหก ขึ้นสิบห้าค่ำ เป็นวันพิธีวิสาขบูชา

ครั้งนั้นได้มีพระราชกำหนดให้พลเมืองทำวิสาขบูชา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรักษาอุโบสถศีล ปฏิบัติพระสงฆ์สามวัน ห้ามฆ่าสัตว์ และเสพสุราเมรัย และให้จัดประทีปโคมแขวนถวายเป็นเครื่องสักการบูชาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นธรรมเนียมแบบแผนสืบมา

ด้านการคมนาคม

การคมนาคมของประเทศไทยในสมัยนี้เป็นการคมนาคมทางน้ำ อาศัยเรือเป็น พาหนะในการสัญจรไปมาตามเส้นทางธรรมชาติ ยังไม่สร้างเป็นถนน แม่น้ำและลำคลองที่มีอยู่ทั่วไป หากเป็น การเดินทางทางบกก็จะใช้การเดินเท้า

ด้านการเมืองกับต่างประเทศ

1. ความสัมพันธ์กับประเทศอังกฤษ

มาร์ควิส เฮสติงค์ ผู้สำเร็จราชการอินเดีย ( อินเดียเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ ) ได้ส่ง ยอห์น ครอว์เฟิด คนไทยเรียก การะฝัด เป็นฑูตนำเครื่องราชบรรณาการมาถวายเพื่อเจริญสัมพันธไมตรี กับไทย ในปี พ.ศ. 2365 โดยที่อังกฤษต้องการ

1. ขยายการค้าของบริษัทอินเดียตะวันออก 2. เพื่อแก้ปัญหาเมืองไทรบุรี 3. เพื่อทำแผนที่ของภูมิภาคนี้

ผลของการเจรจาล้มเหลวเพราะ

1. ทั้งสองฝ่ายพูดไม่เข้าใจภาษากัน

2. ล่ามเป็นคนชั้นต่ำ ขุนทางไทยตั้งข้อรังเกียด

3. ชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อส่วนมากเป็นชาวจีนซึ่งมีกิริยาอ่อนน้อม

4. อังกฤษต้องการให้ไทยคืนเมืองไทรบุรีให้กับปะแงรัน

5. ประเพณีไทย ขุนนางเข้าเผ้าไม่สวมเสื้อ ทำให้ฝรั่งดูหมิ่นเหยียดหยาม

2. ความสัมพันธ์กับประเทศโปรตุเกส

โปรตุเกส เจ้าเมืองมาเก๊า ได้ส่ง คาร์โลส มานูเอล ซิลเวลา เป็นทูตมาเจริญสัมพันธ์ไมตรี ซึ่งทั้งสองฝ่ายได้ให้ความสะดวกแก่กันมากในการค้าขาย

ต่อมา คาร์โลส มานูเอล ซิลเวลา ได้มาเป็นกงสุลประจำประเทศไทย นับเป็นกงสุลชาติแรกในสมัยรัตนโกสินทร์และซิลเวลาได้รับพระราชทานยศเป็น “หลวงอภัยวานิช”

3. ความสัมพันธ์กับประเทศสหรัฐอเมริกดา

อเมริกา มีความสัมพันธ์กับไทยครั้งแรกในสมัยนี้ พ่อค้าชาวอเมริกัน ชื่อ กัปตันแฮน ได้มอบปืนคาบศิลา จำนวน 500 กระบอก รัชกาลที่ 2 จึงพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็น “หลวงภักดีราช”

ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน

1. ความสัมพันธ์กับประเทศพม่า

พม่า พระเจ้าจักกายแมง กษัตริย์พม่าได้เกลี้ยกล่อมพระยาไทรบุรียกทัพมาตีไทย ไทยทราบข่าวก็จัดกองทัพไป ขัดตาทัพไว้ ทางพม่าเกิดจลาจลจึงไม่ได้ยกทัพมา

2. ความสัมพันธ์กับประเทศเวียดนาม

ญวน พระเจ้าญาลอง มีพระราชสาสน์มาขอเมืองบันทายมาศโดยอ้างว่าเมืองนี้เป็นเมืองขึ้นของญวน ไทยต้องยอมยกให้ เพราะไม่อยากมีศึกสองทาง (ต้องรบกับพม่า)

3. ความสัมพันธ์กับหัวเมืองมลายู

ไทรบุรี พระยาไทรบุรี (ปะแงรัน) เมื่อปี 2352 มาช่วยไทยรบกับพม่า เมื่อครั้งพม่าตีถลางไทยจึงได้เลื่อนยศให้เจ้าพระยานคร (น้อย) ยกกองทัพไปปราบ เมืองไทรบุรี จึงตกมาเป็นของไทย

4. ความสัมพันธ์กับประเทศกัมพูชา

กัมพูชา (เขมร) พระอุทัยราชา ไม่ซื่อตรงต่อไทย หันไปฝักใฝ่ญวนยิ่งขึ้น เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เช่น

- พระอุทัยราชา มาเข้าเผ้ารัชกาที่ 1 โดยพลการ ไม่ยอมให้เสนาบดีเบิกตัว จึงได้รับการติเตียนจากรัชกาลที่ 1 ทำให้ พระอุทัยราชาได้ รับความอัปยศ และอาฆาตคิดร้ายต่อไทย

- พระอุทัยราชา ทะเลาะกับพระยาเดโช (เม็ง) พระยาเดโชหนีมาไทย พระอุทัยราชา มีหนังสือมาขอตัวพระยาเดโช แต่ทางไทยไม่ยอมส่งตัวไปให้ พระอุทัยราชาจึงไม่พอพระทัย

- พระอุทัยราชา มีหนังสือขอนักองค์อีและนักองค์เภา ผู้เป็นป้า รัชกาลที่ 1 ไม่ทรงอนุญาต เพราะทั้งสองเป็นสนมของ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทไม่ต้องการให้พ่อแม่ลูกจากกัน เมื่อครั้งรัชกาลที่ 1 สวรรคต พระอุทัยราชา ก็ไม่ยอมมาช่วยในงานพระบรมศพ คงให้แต่นักองค์สงวนและนักองค์อิ่มผู้น้องมาแทน เมื่อครั้งไทยทราบข่าวว่าพม่า ยกทัพมาตีไทย ไทยมีหนังสือไปแจ้งพระอุทัยราชาให้มาช่วย แต่พระอุทัยราชากลับนิ่งเฉยเสีย มีแต่นักองค์สงวน ( พระยาอุปโยราช ) ที่เกณฑ์คนมาช่วยตามลำพัง พระอุทัยราชาทราบข่าวจึงได้ขอให้ญวนมาช่วย โดยบอกว่าเกิดกบฎ ในเมือง นักองค์สงวนจึงหนีมาไทย พ.ศ. 2354 เจ้าพระยายมราช (น้อย) ได้ไปไกล่เกลี่ย แต่พระอุทัยราชา แสดงอาการเป็นกบฎ ไทยจึงยกทัพเข้าไป พระอุทัยราชาจึงหนีไปพึ่งญวน ไทยจึงเผาเมืองพนมเปญ เมืองบันทายเพชร พระเจ้าญาลองมีหนังสือมาถึงไทย ขอให้พระอุทัยราชากลับครองบ้านเมืองตามเดิม ทางไทยไม่ปรารถนาที่จะทำสงครามกับญวน ดังนั้นพระอุทัยราชาจึงได้กลับมาครองกัมพูชาตามเดิม แต่ขออยู่ที่พนมเปญ และส่งเครื่องราชบรรณาการ ตามเดิมส่วน การบังคับบัญชาชั้นเด็ดขาดตกอยู่แก่ฝ่ายญวน โดยญวนได้ส่งข้าหลวงมาดูแลกำกับด้วย ในสมัย ร.2 ไทยต้องเสียเขมรให้กับญวน