หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 10 ชื่อ

  • จักรพันธ์ บุญวงค์ ม.3/2 เลขที่ 2 พูดว่า:

    หลักฐานทางปรวัติศาสตร์มีหลายประเภท หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เเละไม่เปนลายลักษณ์อักษร

  • ด.ช.มณฑวรรษ จันต๊ะ ม.3/2 เลขที่5 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งได้2ประเภท 1เป็นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร1.1 จารึก 1.2 ตำนาน 1.3พงศาวดาร 1.4 จดหมายเหตุ1.5 เอกสารราชการ 1.6 กฎหมาย 1.7 จดหมาย 1.8 บันทึกส่วนบุคคล 1.9 วรรณกรรม 1.10 สื่อสิ่งพิมพ์ 2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 2.1 โบราณสถาน 2.2 หลักฐานทางศิปกรรม 2.3หลักฐานทางนาฏศิป์ เพลง 2.4หลักฐานประเภทโสตทัศน์ 2.5หลักฐานประเภทบอกเล่า

  • ด.ช.ธัชธรรม เครือธิ เลขที่ 4 3/2 พูดว่า:

    จากการดูวีดีโอ ทำให้รู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มี 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • วริช บุญถา ม.3/2 เลขที่ 6 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักอักษร
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักอักษร

  • สุกัลย์ โคงาม เลขที่11 ม.3/1 พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต
    เช่น จดหมาย จารึก ศิลา เอกสารราชการ และอื่นๆ

  • ด.ช.นิรุทธิ์ ภู่ลำพงษ์ เลขที่5ขั้น ม.3/1 พูดว่า:

    ได้ความรู้เกี่ยวกับหลักฐานที่สำคัญๆเกี่ยวกับอตีตขอเราและแบ่งออกเป็นหลายๆประเภทซึ่งแต่ละชนิดได้ทำการวิเคราะห์จนเป็นประวัติศาสตร์ที่
    เราได้เรียนรู้มาจนถึงทุกวันนี้และมีตัวอย่างหลักฐานดังต่อไปนี้ เช่น จดหมาย จารึก เอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรในของราชวงค์สมัยต่างๆเป็นต้น

  • ด.ญ.วิภาดา ปีติ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 30 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ดูสื่อเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้วสามารถ
    แยกประเภทของหลักฐานว่าหลักฐานไหนที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานไหนที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ค่ะ

  • ด.ญ.เพ็ญพรรณ จักรเขียว เลขที่ 23 ม.3/1 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งเป็น 2 ประเภท
    1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก ตำนาน
    2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์ เช่น หม้อ เจดีย์

  • ด.ญ.สุทธิมลตรา เครือคำ ม.3/1 เลขที่27 พูดว่า:

    หลังจากที่ดิฉันได้ศึกษาข้อมูลแล้ว ทำให้ดิฉันได้รู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันของดิฉันได้โดยการจดบันทึกเหตุการณ์ต่างๆของดิฉันไว้ และ ดิฉันได้ข้อคิดว่า ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามก็ต้องมีหลักฐานเสมอไม่ว่าจะเป็นหลักฐานประเภทใดก็ตาม (ขอขอบพระคุณ คุณครูสุดเฉลิม เป็นอย่างสูงค่ะที่ให้ความรู้แก่ดิฉันค่ะ)

  • ด.ญ พัทธ์ธีรา ทำทอง ชั้น ม.3/2 เลขที่25 พูดว่า:

    ได้รู้เรื่องราวเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์เช่นจารึก ตำนาน พงศาวดาร และอื่นอีกมากมายและประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทั้งที่เป็นลายลักษรอักษรและวัตถุ

  • พฤทธิ์ สุยะ เลขที่ 6 ม.3/1 พูดว่า:

    หลังจากที่ผมได้ศึกษาแล้ว หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีมากมายหลายชนิดมีทั้งหลักฐานที่เป็นของจริงไม่ได้เปลี่ยนแปลงและหลักฐานที่เล่าต่อๆกันมาแต่ทั้ง2อย่างก็มีความสำคัญขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ที่จัสอดคล้องกันหรือไม่

  • ด.ญ.ศุภานัน แก้วน้อย ม.3/1 เลขที่31 พูดว่า:

    จากการดูวิดิโอแล้ว ทำให้ดิฉันได้รู้เกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ว่ามีกี่ประเภทอะไรบ้าง ดูวิดิโอนี้แล้วทำให้ดิฉันรู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลาบลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึก ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ เอกสารราชการ กฎหมาย จดหมาย บันทึกส่วนบุคคล วรรณกรรม และ สื่อสิ่งพิมพ์
    2. หลักฐานที่เป็นลาบลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานทางโบรณคดี หลักฐานทางศิลปกรรม หลักฐานทางนาฏศิลป์ เพลง และดนตรี หลักฐานทางโสตทัศน์ และหลักฐานประเภทบอกเล่า

  • เด็กชายจิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ชั้นม.3/1 พูดว่า:

    หลังจากที่กระผมได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทำใให้ทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น พงศาวดาร หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์ เช่นวัด สิ่งของเครื่องใช้

  • ด.ญ. กมลภรณ์ เพ็ชรทัต ม.3/2 เลขที่32 พูดว่า:

    ดิฉันได้ศึกษาแล้ว ได้ทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งได้ 2 ประเภท
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก ตำนาน เอกสารทางราชการ
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานระเภทเล่า

  • ด.ญ.สุภาพร คำเรือง เลขที่ 28 ม.3/1 พูดว่า:

    หลังจากดิฉันได้ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์เเล้วทำให้ดิฉันรู้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์มี 2 ประเภทคือ 1. หลักฐานชั้นต้น (หลักฐานที่เป็ฯลายลักษณ์อักษร) เช่น จารึก จดหมายเหตุ รวมทั้งหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สร้างขึ้นในสมัยนั้น 2. หลักฐานชั้นรอง (หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร) เช่น ตำนาน งานวิจัยทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น

  • ดช. วรินทร กราวทอง ม.3/2 เลขที่12 พูดว่า:

    ได้รู้เกี่ยวกับหลักฐานในสมัยก่อนอีกหลายๆอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์สามารถแบ่งได้2ประเภทคือหลักฐานแบบลายลักษณ์อักษรกับที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.รัตนาภรณ์ ถาคำดี ม.3/2 เลขที่ 27 พูดว่า:

    จากการดูบล็อกแล้วรู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มี 5 อย่างด้วยกัน
    1.หลักฐานโบราณคดี เช่น โบราณวัตถุ โบราณสถาน
    2.หลักฐานทางศิลปกรรม ประกอบไปด้วย อาคาร บ้านเรือน ลายต่างๆ
    3.หลักฐานประเภทดนตรี เช่น การแสดง การเต้น หรือร่ายรำ
    4. หลักฐานประเภทโสตทัศน์ ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพสไลด์ แผนที่
    5. หลักฐานประเภทบอกเล่า คือ การถ่ายทอดสืบต่อกันมา เกิดจากผู้ที่ไม่รู้หนังสือ

  • ด.ช.พัชรพล ชัยวิชิต ชั้น ม.3/4 เลขที่5 พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกียวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งเป็น10 ข้อ
    1.จารึก
    2 ตำนาน
    3 พงศาวดาร
    4 จดหมายเหตุ
    5 เอกสารทางราชการ
    6 กฎหมาย
    7 จดหมาย
    8 บันทึกส่วนบุคคล
    9 วรรณกรรม
    10 สื่อสิ่งพิมพ์

    หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

    ยาฮู้ ยาฮู้ เย่ จบแล้ว

  • เด็กชายศุภกร อ้อยยาวเลขที่9 3/2 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง สิ่งของโบราณที่มีลักษณะต่างๆกัน สามารถนำติดตัว
    เคลื่อนย้ายได้ ไม่ว่าสิ่งของนั้นๆ จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น หรือเป็น ส่วนหนึ่งส่วนใดของโบราณสถาน และสิ่งของที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเหล่านี้เกิดขึ้นในสมัยประวัติศาสตร์ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป รูปเคารพต่างๆ เครื่องประดับ และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ

  • วันเฉลิม ชำนาญยา ม.3/2เลขที่8 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าที่ปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน โลกทัศน์ ความรู้สึก ประเพณีปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต ความรู้สึกของคนในปัจจุบัน สิ่งที่มนุษย์จับต้องและทิ้งร่องรอยไว้ กล่าวได้ว่าอะไรก็ตามที่มาเกี่ยวพันกับมนุษย์ หรือมนุษย์เข้าไปเกี่ยวพันสามารถใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ทั้งสิ้น

  • ด.ช. ณัฐภณ ใจยืน เลขที่ 10 ม. 3/5 พูดว่า:

    ผมได้ศึกษาแล้ว ได้ทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์
    แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

    1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2 หลักฐานที่เป็นวัตถุ คับ

  • ด.ญ. วรกันต์ จันธิ เลขที่ 28 ม. 3/2 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ดูสื่อเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์
    การแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น 2 ประเภท คือ
    1.หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ
    2.หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ

  • ด.ญ. วรกันต์ จันธิ เลขที่ 28 ม. 3/2 พูดว่า:

    มีภาพปรกอบชัดเจนดีคะ สนุกมากคะ

  • ด.ช.นัทธพงศ์ วงศ์ขัติย์ 11ช. 3/5 พูดว่า:

    ได้ความรู้ที่มาที่ไปของหลักฐาณทางประวัติศาสตร์ ครับ
    ^-^

  • ด.ช.ณัฐพล เดินอด เลขที่ 3 ม.3/2 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์มี2ประเภทที่ผมรู้จักคือ 1หลักฐานชั้นต้น 2หลักฐานชั้นรองครับ

  • ด.ช.ชัชวาลย์ ธนะวงศ์ เลขที่12 ม.3/4 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักอักษร
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักอักษร

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    จากการศึกษาทำให้ดิฉันทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ในอดีต
    และทำให้ได้รู้เกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ว่ามีกี่ประเภทอะไรบ้าง ซึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ มี 2 ประเภท คือ หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรและหลักฐานไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ช.ธนกร แสงแก้ว ชั้น ม.3/5เลขที่ 2 พูดว่า:

    หลังจากที่ผมได้ศึกษาข้อมูลทำให้ผมทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์มี 2 ประเภทคือ
    1. หลักฐานชั้นต้น (หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร) เช่นจารึก ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ
    2. หลักฐานชั้นรอง (หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร) เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ เงินตรา

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    หลังจากที่ดิฉันศึกษาดูแล้ว ทำให้ดิฉันได้ทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท นั้นก็คือ
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จดหมายเหตุ เอกสารราชการ
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น หลักฐานประเภทบอกเล่า

  • ด.ญ.อังคนางค์ หวานใจ เลขที่ 29 ชั้น ม. 3/1 พูดว่า:

    จากวิดิโอแล้วทำให้ดิฉันทราบว่า
    หลักฐานทางประวัติศาตร์แบ่งได้ 2 ประเภท ค่ะ คือ
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร เอกสารทางราชการ เป็นต้น
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ศิลปกรรม เป็นต้นค่ะ

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    ลักษณะสำคัญของหลักฐานประเภท จารึก คือ เป็นหลักฐานที่มีความเก่าแก่มากที่สุด และมีความน่าเชื่อถือ เพราะได้บันทึกตัวอักษรลงบนวัสดุที่มีความทดทาน เช่น แผ่นไม้ อิฐ ศิลา เป็นต้นคะ

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    ลักษณะสำคัญของหลักฐานประเภท ตำนาน คือ เป็นหลักฐานที่บันทึกจากคำบอกเล่าสืบต่อกันมา ส่วนมากมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับบุคคลในท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์กับความน่าเชื่อถือทางพระพุทธศาสนา ปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุ แต่หลักฐานประเ๓ทนี้อาจจะมีทั้งข้อเท็จจริง หรือข้อคิดเห็นปะปนอยู่ เนื่องจากไม่สามารถกำหนดอายุของเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างแน่นอนคะ

  • ด.ญ.ณัติการณน์ เเก่นจันทน์ เลขที่20 ม.3/1 พูดว่า:

    จากการศึกษาเเล้วทำให้ดิฉันได้รู้ว่า
    การแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น 2 ประเภท คือ
    1.หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ
    2.หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ
    ลักษณะสำคัญของหลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
    1. หลักฐานที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร
    1.1 โบราณสถานหมายถึง สิ่งก่อสร้างโดยฝีมือมนุษย์ขนาดต่างๆกัน
    1.2 โบราณวัตถุ หมายถึง สิ่งของโบราณที่มีลักษณะต่างๆกัน สามารถนำติดตัว
    เคลื่อนย้ายได้ ไม่ว่าสิ่งของนั้นๆ จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น
    2. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2.1 จารึก
    2.2 เอกสารพื้นเมือง เอกสารพื้นเมืองนับได้ว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สำคัญของประเทศไทย มักปรากฏในรูปหนังสือสมุดไทย และเรียกชื่อแตกต่างกันออกไป เช่น ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ ดังมีราย
    2) พงศาวดาร
    3) จดหมายเหตุ ในสมัยโบราณจดหมายเหตุ หมายถึง การจดบันทึกข่าวคราวหรือเหตุการณ์เรื่องหนึ่งๆ

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    หลักฐานประเภท พงศาวดาร ส่วนมากมักเป็นหลักฐานที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์หรือผู้นำทางการเมืองการปกครองในแต่ละยุค แต่ละสมัยคะ

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    จดหมายเหตุ เป็นการจดบันทึกเหตูการณ์หรือบันทึกจากคำบอกเล่าของผู้อื่น อาจจะมีความคลาดเคลื่อน เพราะบางครั้งก็เกิดจากการเข้าใจผิดของผู้จดบันทึกหรือเกิดจากการหลงลืม

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    เอกสารทางราชการ เป็นหลักฐานประเภทรายงานการประชุม และเอกสารทูต เอกสารประเภทนี้สามารถสะท้อนเรื่องราวทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    กฎหมาย เป็นหลักฐานที่เป็นข้อบัญญัติที่ตราขึ้น เพื่อใช้บังคับ หรือลงโทษประชาชน

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    จดหมาย หมายถึง จดหมายส่วนตัว หรือจดหมายราชการ เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงความสัมพันธ์ของคนในสังคม หรือบุคคลกับหน่วยราชการ

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    บันทึกส่วนบุคคล เป็นการบันทึกความทรงจำของบุคคลเกี่ยวกับเรื่องราวส่วนตัว หรือเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น หลักฐานประเภทนี้อาจจะมีข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็นส่วนตัว ถ้านำมาใช้เราควรจะพิจารณาหลักฐานให้ดีก่อน

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    วรรณกรรม เป็นเรื่องราวที่แต่งขึ้นในคำประพันธ์ บางเรื่องก็ได้สะท้อนให้เห็นถึงการดำรงชีวิตของคนในสมัยนั้น แต่วรรณกรรมอาจแต่งขึ้นมาจากความคิดหรือจนตนาการของผู้แต่ง ถ้าเราจะนำมาใช้ ก็ควรพิจารณาเสียก่อน เพราะบางเรื่องก็อาจจะไม่เป็นความจริง

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร หรือข่าวต่าง ๆ ข้อมูลเหล่านี้อาจจะมีความคลาดเคลื่อนได้ เพราะผู้เสนอข่าวอาจจะเสนอข่าวโดยไม่รู้ความจริง

  • ด.ญ. รัชนาท ฟูศรี เลขที่ 25 ม.3/3 พูดว่า:

    ได้ความรู้เกี่ยวกับหลักฐานที่สำคัญๆเกี่ยวกับอตีตขอเราและแบ่งออก 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • อุดมพงษ์ วงค์รัตน์ เลขที่18 ม.3/3 พูดว่า:

    ป็นเรื่องราวที่แต่งขึ้นในคำประพันธ์ บางเรื่องก็ได้สะท้อนให้เห็นถึงการดำรงชีวิตของคนในสมัยนั้น
    บหลักฐานที่สำคัญๆเกี่ยวกับอตีตขอเราและแบ่งออก 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.อภิชญา ชุ่มวงศ์ เลขที่ 24 ม.3/5 พูดว่า:

    จากการศึกษา ทำให้ดิฉันรู้ว่า
    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งได้ 2 ประเภทคือ
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ช.อินทนนท์ คูคำ ม.302 เลขที่ 11 พูดว่า:

    จากที่ผมได้ศึกษาข้อความข้างต้นแล้ว
    หลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งเป็น 2 ประเภท
    1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก ตำนาน
    2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์ เช่น หม้อ เจดีย์

  • นัฐพล บุตรสุวรรณ์ 305 06 พูดว่า:

    หลักฐานประเภท พงศาวดาร ส่วนมากมักเป็นหลักฐานที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์หรือผู้นำทางการเมืองการปกครองในแต่ละยุค แต่ละสมัยครับ

  • ด.ช.ณัฐวุฒิ เเครื่องสนุก ม.3/3 เลขที่ 4 พูดว่า:

    จากการดูวีดีโอ ทำให้รู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มี 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • นัฐพล บุตรสุวรรณ์ 305 06 พูดว่า:

    ได้ความรู้เกี่ยวกับหลักฐานที่สำคัญๆเกี่ยวกับอตีตขอเราและแบ่งออก 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ช. เนติพงษ์ สันกว๊าน ม.3/3 เลขที่ 6 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์

    แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

    1. อหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย

    2. หลักฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่มนุษย์แต่ละยุคแต่ละสมัยได้สร้างขึ้น และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก

  • ด.ช.นัฐพงษ์ บุตรสุวรรณ์ ม.3/3 เลขที่ 8 พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต
    เช่น จดหมาย จารึก ศิลา เอกสารราชการ และอื่นๆ
    ป็นเรื่องราวที่แต่งขึ้นในคำประพันธ์ บางเรื่องก็ได้สะท้อนให้เห็นถึงการดำรงชีวิตของคนในสมัยนั้น
    บหลักฐานที่สำคัญๆเกี่ยวกับอตีตขอเราและแบ่งออก 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ช.ทนงศักดิ์ บุญสุข เลขที่5 ม.3/3 พูดว่า:

    แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

    หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย
    หลักฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่มนุษย์แต่ละยุคแต่ละสมัยได้สร้างขึ้น และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก

  • ด.ช.พงศ์ภรณ์ สุภารมย์ 3/3 เลขที่ 13 พูดว่า:

    แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

    หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย
    หลักฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่มนุษย์แต่ละยุคแต่ละสมัยได้สร้างขึ้น และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก

  • ด.ญ.ขจิตจัทร์ จันทะภา ม.3/2 เลขที่ 33 พูดว่า:

    บหลักฐานทางประวัติศาสตร์มี 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
    จารึก เป็นแท่งรูปสี่เหลี่ยม มียอดแหลมมน สูง 1 เมตร 11 เซนติเมตร มีข้อความจารึกทั้ง 4 ด้าน สูง 59 เซนติเมตร กว้าง 35 เซนติเมตร ด้านที่1 และด้านที่ 2 มี 35 บรรทัด ด้านที่ 3 และด้านที่ 4 มี 27 บรรทัด
    ตำนาน เป็นประวัติความเป็นมาสืบทอดเล่าสู่กันฟังเป็นมุขปาฐซึ่งเล่าต่อกันปากต่อปาก บางครั้งมีการบันทึกเป็น ลายลักษณ์อักษร บางครั้งไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร

    ตอบกลับ

  • ด.ญ.เจนจิรา ชุ่มวงค์ เลขที่ 20 ม.3/3 พูดว่า:

    จากการที่ดิฉันได้ศึกษาดูแล้ว จึงได้รู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ช.จิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ม.3/1 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มี 2 ประเภท
    หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.วลัยลักษณ์ ปานสมุทร ม.3/3 เลขที่26 พูดว่า:

    จากการที่ดิฉันได้ศึกษาดูแล้ว แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
    บันทึกส่วนบุคคล เป็นการบันทึกความทรงจำของบุคคลเกี่ยวกับเรื่องราวส่วนตัว

  • ด.ญ.ณัติการณน์ เเก่นจันทน์ เลขที่20 ม.3/1 พูดว่า:

    จาการศึกาทำให้ดิฉันรู้ว่า
    หลักฐานทางประวัติศาสตร์
    การแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น 2 ประเภท คือ
    1.หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ
    2.หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ เป็นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต เช่นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต เช่น หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต เช่น หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ เป็นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นๆ

  • ด.ช.อภิสิทธิ์ เครือธิ ม.3/2 เลขที่10 พูดว่า:

    จากที่ผมได้ดูวีดีโอมาเเล้ว รู้ว่ามีหลักฐานทางประวัติศาตร์แบ่งได้ออกเป็น2ประเภท 1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อัษร 2. ลักษณ์ฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ดูแล้วได้รู้ว่าหลักฐานทางทางประวัติศาสตร์แบ่งได้สองประเภทดังนี้
    1.หลักฐานที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ
    2.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เอกสารพื้นเมือง พงศาวดาร
    ครับ

  • ด.ญ.นุชรี บุญเลิศ 302เลขที่23 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์มี10ประเภท
    1จารึก
    2ตำนาน
    3พงศาวดาร
    4จดหมายเหตุ
    5กฎหมาย
    6เอกสาร
    7จดหมาย
    8บันทึกส่วนบุคคล
    9วรรณกรรม
    10สิ่งที่พิมพ์
    ค่ะ

  • ด.ญ.พัทธ์ธีรา ทำทอง เลขที่25 ชั้นม.3/2 พูดว่า:

    ได้รู้จักหลักฐานทางประวัติศาสตร์เช่นหลักฐานลายลักษณ์อักษรเช่นจารึกและเอกสารต่างๆ
    หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อีกษรเช่น โบราณสถาน

  • ด.ญ.ณัฐชา ยาดี ม.3/3 เลขที่23 พูดว่า:

    จากการศึกษาทำให้ดิฉันทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ในอดีต
    และหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรกับหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.ฐิติรัตน์ เฟื่องฟู เลขทิ่22 ม.3/3 พูดว่า:

    1. หลักฐานที่เป็นลาบลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึก ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ เอกสารราชการ กฎหมาย จดหมาย
    2. หลักฐานที่เป็นลาบลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานทางโบรณคดี หลักฐานทางศิลปกรรม หลักฐานทางนาฏศิลป์

  • จิราพร บุญยืน ม.3/2 เลขที่15 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งออกเป็น2ประเภทค่ะ
    1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร์

  • ด.ญ. ปาริชาต รายณะสุข ม.305 เลขที่ 26 พูดว่า:

    แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หลักฐานที่เป้นลายลักษณ์อักษร กับ ไม่เป้นลายลักษณ์อักษร

    2.1 จารึก คือ หลักบานที่มีความเก่าแก่และน่าเชื่อถือเพราะจารึกบนวัสดุที่มีความทนทาน เช่น ืแผ่นไม้ กระดุก

    2.2 ตำนาน คือ เรื่องที่เล่าต่อๆกันมา

    2.3 พงศาวดาร คือ บันทึกเกี่ยวผุ้นำทางการเมือง

    2.4 จดหมายเหตุ คือ เป้นหลักฐานร่วมสมัย

    2.5 เอกสารทางราชการ คือ หลักฐานประวัติศาสตร์รายงานการประชุม

    2.6 กฎหมาย คือ สิ่งที่บัญญัติบังคับให้ประชาชนทำตามหรือลงโทษ

    2.7 จดหมาย คือ สิ่งที่บอกที่ความสัมพันธ์

    2.8 บันทึกส่วนบุคคล คือ เป้นเรื่องราวส่วนตัว

    2.9 วรรณกรรม คือ เป็นเรื่องราวที่แต่งขึ้นมาในลักษณะคำประพันธ์

    2.10 สื่อสิ่งพิมพ์ คือ ข่าวสาร บทความ การวิพากษ์วิจาร

  • อภิปรัชญ์ ชุ่มวงศ์ 304 14 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งได้2ประเภท 1เป็นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร1.1 จารึก 1.2 ตำนาน 1.3พงศาวดาร 1.4 จดหมายเหตุ1.5 เอกสารราชการ 1.6 กฎหมาย 1.7 จดหมาย 1.8 บันทึกส่วนบุคคล 1.9 วรรณกรรม 1.10 สื่อสิ่งพิมพ์ 2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 2.1 โบราณสถาน 2.2 หลักฐานทางศิปกรรม 2.3หลักฐานทางนาฏศิป์ เพลง 2.4หลักฐานประเภทโสตทัศน์ 2.5หลักฐานประเภทบอกเล่า
    จากการศึกษาทำให้ดิฉันทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ในอดีต
    และหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรกับหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.บุษบาภรณ์ อนันเทพา เลขที่ 19ชั้น ม.3 /4 พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต
    เช่น จดหมาย จารึก ศิลา เอกสารราชการ และอื่นๆบหลักฐานทางประวัติศาสตร์มี 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.ปิยธิดา แสงอ่อน เลขที่ 20ชั้น ม.3 /4 พูดว่า:

    หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย
    หลักฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่มนุษย์แต่ละยุคแต่ละสมัยได้สร้างขึ้น และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลกบหลักฐานทางประวัติศาสตร์มี 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ. เสาวณีย์ สมัครผล ม.304 เลขที่ 23 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ศึกษาดู ในเรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร

  • ด.ญ. จามรีย์ เมืองสุวรรณ ม3/3 เลขที่ 21 พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต
    เช่น จดหมาย จารึก ศิลา เอกสารราชการ และอื่นๆอีกมากมายค่ะ

  • ด.ญ.วรรณิกา พุ่มพริก ม3/3 เลขที่ี 19 พูดว่า:

    ได้ความรู้เกี่ยวกับหลักฐานที่สำคัญๆเกี่ยวกับอตีตขอเราและแบ่งออก 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.วิชุดา หวังครอบกลาง ม.3/5 เลขที่ 21 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ศึกษา ได้ทราบว่า หลักฐานที่แบ่งตามลักษณะการบันทึก แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่
    จารึก
    ตำนาน
    พระราชพงศาวดาร
    จดหมายเหตุ
    เอกสารการปกครอง
    งามเขียนทางประวัติศาสตร์ หรือประวัติศาสตร์นิพนธ์
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่
    2.1โบราณสถาน โบราณวัตถุ
    2.2เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา
    2.3วัด เจดีย์ อนุสาวรีย์

  • ด.ช. ณัฐวัฒน์ ศีลลัย เลขที่3 303 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาตร์แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร เอกสารทางราชการ เป็นต้น

    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ศิลปกรรม เป็นต้น

  • อินทัช กันตรี เลขที 11 ชั้น ม 3/4 พูดว่า:

    ได้ความรู้เกี่ยวกับหลักฐานที่สำคัญๆเกี่ยวกับอตีตขอเราและแบ่งออกเป็นหลายๆประเภทซึ่งแต่ละชนิดได้ทำการวิเคราะห์จนเป็นประวัติศาสตร์ที่
    เราได้เรียนรู้มาจนถึงทุกวันนี้และมีตัวอย่างหลักฐานดังต่อไปนี้ เช่น จดหมาย จารึก เอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรในของราชวงค์สมัยต่างๆเป็นต้น

  • สิทธิพร ทิศรีไชย เลขที 10 ชั้น ม 3/4 พูดว่า:

    จากการดูวีดีโอ ทำให้รู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มี 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ช. ยุทธนา น้อยสุวรรณ เลขที่6 ชั้นม.3/4 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีหลายชนิดเช่น จารึก เอกสารทางราชการ ตำนาน จดหมายเหตุ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในปัจจุบันหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญมากทีเดียว
    ต้องมีหลักฐานเหล่านี้ถึงจะรู้เรื่องราวสมัยก่อน เเต่บางสิ่งบางอย่างก็ไม่เเน่นอน

  • ด.ญ.กฤติยา ไชยา ม.3/5 เลขที่ 15 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ในอดีต
    และหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรกับหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักอักษร
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักอักษร

  • ด.ญ. ศศิวิมล ไชยกุล ชั้นม.3/5 เลขที่22 พูดว่า:

    ดิฉันได้ศึกษาประวัติสตร์มากมายเช่น
    2.1 จารึก

    2.2 ตำนาน

    2.3 พงศาวดาร

    2.4 จดหมายเหตุ

    2.5 เอกสารทางราชการ

    2.6 กฎหมาย

    2.7 จดหมาย

    2.8 บันทึกส่วนบุคคล

    2.9 วรรณกรรม

    2.10 สื่อสิ่งพิมพ์

  • ด.ญ.พิชนันท์ นักหล่อ ชั้น ม.3/5 เลขที่ 19 พูดว่า:

    ดิฉันได้รู่ว่าหลักฐานประวัติศาสตร์ เช่น
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ธนกร แสงแก้ว 305 02 พูดว่า:

    ได้รู้เรื่องราวเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์เช่นจารึก ตำนาน พงศาวดาร และอื่นอีกมากมายและประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทั้งที่เป็นลายลักษรอักษรและวัตถุ

  • ด.ช. ณัฐภณ ใจยืน เลขที่ 10 ม.305 พูดว่า:

    กระผมได้เรียนรู้มาจนถึงทุกวันนี้และมีตัวอย่างหลักฐานดังต่อไปนี้ เช่น จดหมาย จารึก เอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรในของราชวงค์สมัยต่างๆเป็นต้น คับ

  • อชิตพล ทองจินดา 305 09 พูดว่า:

    จากการศึกษาทำให้ดิฉันทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ในอดีต

  • อชิตพล ทองจินดา 305 09 พูดว่า:

    จากการศึกษาทำให้ผมทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ในอดีต

  • ด.ช. ณัฐภณ ใจยืน เลขที่ 10 ม.305 พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต เช่น จดหมาย จารึก ศิลา คับ

  • ด.ช.ธนกร สมเครือ เลขที่ 3 ม 3/5 พูดว่า:

    ได้ทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์
    แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภท
    1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2 หลักฐานที่เป็นวัตถุ คับ

  • พิรุฬห์กร โยวัง 3/5 เลขที่ 7 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ดูสื่อเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้วสามารถ
    แยกประเภทของหลักฐานว่าหลักฐานไหนที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานไหนที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรคับ

  • อชิตพล ทองจินดา 3/5เลขที่9 พูดว่า:

    ได้เรียนรู้เกียวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งเป็น10 ข้อ
    1.จารึก
    2 ตำนาน
    3 พงศาวดาร
    4 จดหมายเหตุ
    5 เอกสารทางราชการ
    6 กฎหมาย
    7 จดหมาย
    8 บันทึกส่วนบุคคล
    9 วรรณกรรม
    10 สื่อสิ่งพิมพ์

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ 305 13 พูดว่า:

    จากได้ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับหลักฐานเช่น หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานช่วงต้น จึงเป็นหลักฐานที่มีความสำคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์บันทึกไว้ เช่น จดมายเหตุ คำสัมภาษณ์ เอกสารทางราชการ บันทึกความทรงจำ กฎหมาย หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ สไลด์ วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี โบราณวัตถุ

  • ด.ช.กฤตเมธี บุญวงค์ เลขที่ 1 3/3 พูดว่า:

    จากการที่ผมได้ศึกษาดูแล้ว จึงได้รู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ครับ

  • ด.ช.พงค์ขจร วงศ์หลวง ชั้นม.3/3 เลขที่12 พูดว่า:

    จากการศึกษาได้รู้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มี 5 อย่างด้วยกัน
    1.หลักฐานโบราณคดี เช่น โบราณวัตถุ โบราณสถาน
    2.หลักฐานทางศิลปกรรม ประกอบไปด้วย อาคาร บ้านเรือน ลายต่างๆ
    3.หลักฐานประเภทดนตรี เช่น การแสดง การเต้น หรือร่ายรำ
    4. หลักฐานประเภทโสตทัศน์ ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพสไลด์ แผนที่
    5. หลักฐานประเภทบอกเล่า คือ การถ่ายทอดสืบต่อกันมา เกิดจากผู้ที่ไม่รู้หนัง

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ม3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าการแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
    หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานช่วงต้น จึงเป็นหลักฐานที่มีความสำคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์บันทึกไว้ เช่น จดมายเหตุ คำสัมภาษณ์

    หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิ เป็นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นๆ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของบทความทางวิชาการและหนังสือต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตำนาน บันทึกคำบอกเล่า

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ม3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีประโยชน์ คือ เป็นเครื่องมือในการสืบค้นร่องรอยของอดีต เป็นแหล่งค้นคว้าข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยนำเอาไปประกอบกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อสร้างความเข้าใจ ในเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน

  • ด.ญ. ชนาภา เมืองมา ม.3/2 เลขที่ 18 พูดว่า:

    จากการที่ได้ศึกษาทำให้ดิฉันได้ทราบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มี 2 ประเภท 1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร และได้รู็ถึงหลักฐานในอดีตว่าหลักฐานอันไหนเป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานอันไหนที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ค่ะ

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    จาการได้ดูวิดีโอ ทำให้ดิฉนได้รู้่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักอักษร
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักอักษร

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    ดิฉันได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักฐานในอดีต
    เช่น จดหมาย จารึก ศิลา เอกสารราชการ และอื่นๆ
    ซึ่งเป็นเรื่องราวที่แต่งขึ้นในคำประพันธ์ บางเรื่องก็ได้สะท้อนให้เห็นถึงการดำรงชีวิตของคนในสมัยนั้น

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์

    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย

    2. หลักฐานที่เป็นวัตถุ ได้แก่ วัตถุที่มนุษย์แต่ละยุคแต่ละสมัยได้สร้างขึ้น และตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก

  • เด็กชายศุภกร อ้อยยาว 302 เลขที่9 พูดว่า:

    ได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องในอตีดเกี่ยวกับ
    ศิลา จารึก และจดหมาย หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรกับหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.พัทธ์ธีรา ทำทอง เลขที่25 ชั้นม.3/2 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งออกได้เป็น2ประเภท
    1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    2.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.จิรัชญา ชุ่มวงค์ ม.3/2 เลขที่ 14 พูดว่า:

    จากที่ได้ดูแล้ว ก็ได้รู้ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบ่งออกเ็ป็ัน 2 ประเภท
    คือ หลักฐานที่เป็นที่ลายลักษณ์อักษร และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ค่ะ

  • ด.ญ.วิภาดา อินทร์ดี เลขที่ 25 ม.3/1 พูดว่า:

    1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย
    2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ โบราณสถาน ประกอบด้วย วัด เจดีย์ มณฑป และโบราณวัตถุ ประกอบด้วย พระพุทธรูป ถ้วยชามสังคโลก