ใบงานที่ 9.4 เรื่อง แนวทาง การนำ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอ เพียง ไปใช้ในการประกอบ ธุรกิจ

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดำเนินชีวิตทางสายกลาง ยึดหลักความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ และคุณธรรม เมื่อนำไปใช้ชีวิตประจำวันจะส่งผลให้เกิดชีวิตที่มีดุลภาพ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

มฐ ส3.1 ป.4/3 อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง 

 จุดประสงค์

1. บอกแนวทางการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

2. วิเคราะห์แนวทางการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง       

3. เห็นความสำคัญของการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การวัดผลและประเมินผล

1. ใบงาน เรื่อง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน

2. การถาม-ตอบ

3. การเล่นเกม

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดำเนินชีวิตทางสายกลาง ยึดหลักความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ และคุณธรรม เมื่อนำไปใช้ชีวิตประจำวันจะส่งผลให้เกิดชีวิตที่มีดุลภาพ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

มฐ ส3.1 ป.4/3 อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง 

จุดประสงค์

1 บอกความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงได้

2 อภิปรายแนวทางการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง 

3 เห็นความสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง

การวัดผลและประเมินผล

1 ใบงาน เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง

2 การถาม-ตอบ

3 การเล่นเกม

Description: หน่วยที่ 9 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเป็นผู้ประกอบการ

Search

Read the Text Version

    Pages:

  • 1 - 9

หน่วยที่ 9 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนินธุรกิจ เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาที่ชี้ถึงการดารงและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่ระดับ บุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและการบริหารประเทศให้ดาเนินไปบน ทางสายกลาง คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและนามาปฏิบัติ มดี ังนี้ 1. การรักษาความซื่อสัตย์ 2. การรู้จกั ข่มใจตนเอง 3. ความอดทนอดกล้นั 4. รู้จักละวางความช่ัว

หน่วยที่ 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ หลกั เกณฑ์ในการประกอบธุรกจิ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง มดี งั นี้ 1. การบริหารความเสี่ยงทางการตลาดที่ชัดเจน 2. ไม่ให้ความสาคญั กับการสร้างกาไรสูงสุด 3. การดาเนินธุรกจิ ท่ีตนเองมีความรู้จริง 4. มีเหตุผลในการขยายตลาด 5. มคี วามซ่ือสัตย์สุจริตในการประกอบการ 6. การให้บริการลูกค้าอย่างจริงใจและโปร่งใส 7. ไม่มีความโลภมากเกินไป ธุรกิจพอเพียง หมายถึง การดาเนินธุรกิจที่คานึงถึงความมั่นคงและย่ังยืนมากกว่าการแสวงหา ผลประโยชน์ในระยะส้ัน

หน่วยท่ี 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคธุรกิจ การบริหารจดั การด้วยความพอเพยี งน้ัน จะต้องเร่ิมท่ีเป้าหมาย ได้แก่ 1. ความสามารถในการบริหารงาน 2. ต้องแสวงหาความรู้กบั สร้างความเข้มแขง็ หรือเพมิ่ ความขยนั ขันแข็งในการทางาน 3. การมีเป้าหมายด้านคุณภาพชีวติ แนวทางการนาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการดาเนินชีวติ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแนวทางในการดาเนินชีวิตของคนต้ังแต่ระดับบุคคลจนถึงระดับสังคมและ ประเทศชาติ เพื่อให้สามารถบริหารจัดการกับการดาเนินชีวิตได้อย่างสมดุล โดยสามารถนาแนวทางการ เศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในการจัดการกบั ชีวติ ได้ดงั นี้

หน่วยท่ี 9 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ 1. รู้จกั ใช้เงนิ ให้เหมาะสม 2. รู้จักเลือกให้เหมาะสม 3. รู้จกั การบริโภคท่ีเหมาะสม 4. หลกี เลี่ยงอบายมุข การทาบัญชีครัวเรือน การทาบัญชีครัวเรือน คือ การจดบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับเง่ือนไขปัจจัยในการดารงชีวติ ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ ข้อมูลท่ีได้จากการบันทึกจะเป็ นตัวบ่งชี้อดตี ปัจจุบัน ในอนาคตของชีวติ รูปแบบการบันทึกการปฏิบัติงานและการทาบัญชีรายรับรายจ่าย 1. การบันทึกเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและวสั ดุอุปกรณ์ 2. การบันทึกการปฏิบัติงาน 3. การบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย

หน่วยท่ี 9 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผู้ประกอบการ การนาหลักการบัญชีมาประยุกต์ใช้กบั เศรษฐกิจพอเพยี ง การจดั ทาบัญชีครัวเรือน มขี ้นั ตอนดังนี้ 1. แยกรายได้และค่าใช้จ่ายแต่ละประเภท โดยใช้สมุดบัญชีบันทึกหรือจดั รายการท่ีเกิดขนึ้ 2. กาหนดรหัสประเภทของรายได้และค่าใช้จ่าย 3. นาเงินสด/เงินลงทุน เป็ นตัวต้ังแล้วบวมด้วยรายได้และหักค่าใช้จ่ายและแสดงยอดคงหรือเปล่า 4.นารายการที่เป็ นบัญชีประเภทเดียวกัน รวมยอดเข้าด้วยกัน แล้วแยกสรุปไว้ต่างหาก ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ไทย ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ไทย คือ ความรู้ความชานาญ วิธีการหรือเทคโนโลยีท่ีมีการสืบทอดกันมาต้ังแต่อดีตสู่ ปัจจุบันสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท

หน่วยท่ี 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผ้ปู ระกอบการ 1. ภูมปิ ัญญาประเภทองค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลท้องถิ่น 2. ภูมปิ ัญญาประเภทงานศิลปวฒั นธรรมพืน้ บ้าน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถน่ิ ภูมิปัญญาเป็ นองค์ความรู้ที่มีคุณค่าและความดีงามท่ีจรรโลงชีวติ และวถิ ีชุมชนให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติ และสภาวะแวดล้อมได้อย่างกลมกลืนและสมดุล ภูมปิ ัญญาเป็ นพืน้ ฐานการประกอบอาชีพและเป็ นรากฐานการพฒั นาที่เริ่มจากการพัฒนาเพื่อการพ่งึ พา ตนเอง

หน่วยท่ี 9 การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเป็ นผ้ปู ระกอบการ การอนุรักษ์ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ 1. การค้นคว้าวจิ ัย 2. การอนุรักษ์ 3. การฟื้ นฟู 4.การพฒั นา 5. การถ่ายทอด 6. การส่งเสริมกจิ กรรม 7. การเผยแพร่แลกเปล่ียน 8. การเสริมสร้างปราชญ์ท้องถน่ิ