เฉลยใบงานที่ 5.3 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

ใบงานที่ 4.4

ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

1. เพราะเหตุใด บริเวณลุ่มแม่น าแอมะซอนจึงเป็นพื นที่ป่าไม้ที่ใหญ่ที่สุดของทวีปอเมริกาใต้

2. ปัจจุบันปริมาณป่าไม้ลุ่มแม่น าแอมะซอนลดจ านวนลงเกิดจากสาเหตุอะไร

3. สัตว์ป่าในทวีปอเมริกาใต้มีความหลากหลาย บางชนิดดุร้าย บางชนิดมีลักษณะเฉพาะ ให้นักเรียนยกตัวอย่าง

สัตว์ที่มีลักษณะพิเศษเหล่านี 2 ชนิด พร้อมทั งบอกแหล่งที่พบ

4. แหล่งแร่ที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้อยู่บริเวณใดบ้าง และทรัพยากรแร่ที่ส าคัญ ได้แก่อะไรบ้าง

5. แหล่งน าจืดและแหล่งน าที่เป็นทะเลทรายที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้อยู่บริเวณใด

365

ใบงานที่ 4.4 ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

1. เพราะเหตุใด บริเวณลุ่มแม่น าแอมะซอนจึงเป็นพื นที่ป่าไม้ที่ใหญ่ที่สุดของทวีปอเมริกาใต้

ครอบคลุมพื นที่ขนาดใหญ่ตั งแต่ตอนบนลงมาถึงตอนกลางทวีปประมาณ 5.5 ล้านตารางกิโลเมตร มีความ
อุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ มีพนธุ์ไม้หลากหลายชนิดขึ นอย่างหนาแน่น

2. ปัจจุบันปริมาณป่าไม้ลุ่มแม่น าแอมะซอนลดจ านวนลงเกิดจากสาเหตุอะไร
เกิดจากความต้องการใช้ไม้มีมากในทั่วโลก ขณะที่ป่าไม้ลดปริมาณลงท าให้มีการตัดไม้ขายส่งเป็นสินค้าออก

โดยเฉพาะในบราซิล เวเนซุเอลา และเอกวาดอร์

3. สัตว์ป่าในทวีปอเมริกาใต้มีความหลากหลาย บางชนิดดุร้าย บางชนิดมีลักษณะเฉพาะ ให้นักเรียนยกตัวอย่าง

สัตว์ที่มีลักษณะพิเศษเหล่านี 2 ชนิด พร้อมทั งบอกแหล่งที่พบ

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

4. แหล่งแร่ที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้อยู่บริเวณใดบ้าง และทรัพยากรแร่ที่ส าคัญ ได้แก่อะไรบ้าง

แหล่งแร่ส าคัญอยู่ทางตอนบนของทวป ชายฝั่งตะวันออก และภาคตะวันตก ตั งแต่ประเทศเปรูลงมาถึงชิลี

แร่ที่ส าคัญ เช่น น ามันปิโตรเลียม เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง

5. แหล่งน าจืดและแหล่งน าที่เป็นทะเลทรายที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้อยู่บริเวณใด
แหล่งน าจืดที่ส าคัญ ได้แก่ แม่น าแอมะซอนและสาขา ทะเลสาบตีตีกากา ทะเลสาบโปโอโปอยู่บนเทือกเขาแอนดีส

366

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง


เรื่อง ลักษณะทั่วไปของประชากรของทวปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย ์
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1 สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

ประชากรในทวีปอเมริกาใต้มีลักษณะผสมผสานของกลุ่มชาติพันธุ์อาศัยอยู่ร่วมกัน

ู้
2 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร
2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.1 ม.3/1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ
และสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้


2.2 จุดประสงค์การเรยนรู้
- อธิบายลักษณะทั่วไปทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้ได้

3 สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต้
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการสื่อสาร

4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการส ารวจค้นหา 2) ทักษะการรวบรวมขอมูล

3) ทักษะการวิเคราะห์ 4) ทักษะการสังเคราะห์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการท างาน

3. มีความรับผิดชอบ

367

6 กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนดูภาพนักฟุตบอล นักร้อง นางงาม พร้อมทั้งสนทนากับนักเรียนถึงลักษณะรูปร่างของคนใน

ี่
ทวีปอเมริกาใต้ทมีความเป็นเอกลักษณ ์
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของคนในทวีปอเมริกาใต้

3. ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์สารคดีเมืองโบราณมาชู ปิกชู ของอาณาจักรอินคา อาณาจักรโบราณของ

อินเดียนแดง ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายประเด็นส าคัญ
เกี่ยวกับอาณาจักรอินคา ซึ่งเป็นโบราณสถานที่ได้รับการยกย่องให้เป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่

4. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด

นักเรียนคิดว่าประชากรส่วนใหญ่ของทวีปอเมริกาใต้มีผิวพรรณอย่างไร จงอธิบาย

(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
5. ครูมอบหมายให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไป

ทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ และศึกษาความรู้เพิ่มเติม
จากใบความรู้ เรื่อง อินคา ชนเผ่าพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใต้

6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่กันในการศึกษาความรู้ โดยก าหนดประเด็นในการศึกษาให้

สมาชิกแต่ละคนตามความเหมาะสม
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน

หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ และศึกษาความรู้เพิ่มเติมจากใบความรู้ ตามแผนที่ได้วางไว้

8. สมาชิกแต่ละกลุ่มผลัดกันเล่าความรู้ที่ได้จากการศึกษา แล้วร่วมกันสรุปสาระส าคัญ
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคู่กัน แล้วน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาท าใบงานที่ 4.5 เรื่อง ลักษณะทั่วไปทาง

ประชากรของทวีปอเมริกาใต้

10. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยค าตอบในใบงานที่ 4.5 จากนั้นครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะทาง
ประชากรของทวีปอเมริกาใต้

11. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้

7 การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 4.5 ใบงานที่ 4.5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตการใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และมีความรับผิดชอบ

368

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) ใบความรู้ เรื่อง อินคา ชนเผ่าพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใต้

3) บัตรภาพ

4) วีดิทัศน์เมืองมาชู ปิกชู
5) ใบงานที่ 4.5 เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้

8.2 แหล่งการเรียนรู้
 แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

- http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nongkhai/thanagorn_n/
thanagorn02/sec03p06.html

369


ใบความร้


เรือง อินคา ชนเผ่าพื้นเมืองในทวปอเมริกาใต ้





ชนเผ่าอินคาอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ ส่วนใหญของประเทศเปรูปจจุบัน มีนครคูซโคเปนศูนย์กลางเปนแหล่งอารยธรรม


ทีเจริญทีสุด ตั้งอยูในเขตทีมีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศทีเหมาะสมกับวัฒนธรรมการด ารงชีวิต ครอบคลุมพืนที







ถึง 1,950,000 ตารางกิโลเมตร อารยธรรมสูงส่งของชาวอินคาทีเปนแบบอย่างแก่ชนเผ่าแถบอเมริกาใต้มานานนับพันๆ ป ี

ทีโดดเด่นมาก คือ รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมทีท าให้ประชากรนับตั้งแตระดับสูง คือ จักรพรรดิลงมาจนถึงชาวไร่





ชาวนา ได้ท างานตามบทบาทต าแหนงหนาที หรือสถานภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
ความเจริญรุ่งเรืองของชาวอินคายังรวมไปถึงทางด้านสถาปตยกรรม ประติมากรรม วิศวกรรมโยธา ระบบ







ชลประทานอีกด้วย ชนเผ่าอินคามีช่างฝมือเปนจ านวนมากทีมีบทบาทตออารยธรรมทีเจริญรุ่งเรืองตอเนืองกันไปไม่




หยุดยั้ง เช่น ช่างทอผ้า ช่างป้นหม้อ ช่างโลหะ ช่างเหล็ก วิศวกร ประติมากร สถาปนิก ซึงได้ร่วมกันผลิตผลิตภัณฑ์ตางๆ
อย่างวิจิตรตระการตา

กฎหมายอาชญากรรมและบทลงโทษ


ชาวอินคาต้องปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เนืองจากพวกเขาได้รับบริการหรือสิ่งทีต้องการและจ าเปนตอชีวิต


แทบทุกอย่าง ด้วยเหตนีตามชุมชนตางๆ จึงไม่มีผู้ร้ายเท่าใดนัก สังเกตได้จากทั่วทั้งอาณาจักรไม่มีคุกขังนักโทษ ความผิด




ทีนับว่าร้ายแรงทีสุด คือ การฆาตกรรม ซึงนับว่าเปนการละเมิดกฎหมาย และสบประมาทเทพเจ้า ผู้กระท าผิดจะถูกลงโทษ



จนสินชีวิตอย่างโหดเหียม เช่น วิธีทีมักปฏิบัติก็คือถูกจับโยนตกลงไปจากหนาผาสูงชัน ท าให้ศพกระทบหินเบืองล่าง





แหลกละเอียด



ชายทีเปนชู้กับภรรยาผู้อื่นก็จะได้รับโทษโดยถูกแขวนร่างทีเปลือยเปล่าในทีสาธารณชนให้ผู้คนหัวเราะเยาะและต้อง

ทนทุกข์ทรมานไปจนตาย ส่วนผู้ทีดูหมิ่นเทพเจ้าจะถูกแขวนกลับหัวลงดินและจะต้องถูกควักท้องเอาล าไส้ออกมา


อาชญากรรมทีโทษเบา จะถูกลงโทษโดยการตัดมือ ตัดเท้า หรือถูกควักนัยนตาออกมา นักโทษทีโชคร้ายบางกลมจะถูกขัง

ุ่

โดยได้รับประทานอาหารตามปกติแตพวกเขาจะถูกนาไปนั่งขอทานหนาประตูเมืองทีอยู่ใกล้ทีสุดทุกวัน เพื่อให้ชาวเมือง






ตางๆ ได้มองเห็นผลของการท าผิด และได้รับโทษทัณฑ์อย่างไร

ศาสนาและความเชอ
ื่



เทพเจ้าทีชาวอินคาเคารพบูชามักจะเปนเทพทีมีสัญลักษณอ านาจของธรรมชาติ โดยเฉพาะดวงอาทิตย์หรือสุริยเทพ



ทีเรียกว่า “อินติ” เทพีแห่งดวงจันทร์หรือจันทราเทวี ทีเรียกว่า “คลิลลา”

ชาวอินคาถือว่าบิดาแห่งเทพและเทพีทั้งปวง คือ “เทพวิราโคชา” ซึงได้รับการยกย่องว่าเปนผู้สร้างโลก เปนทั้ง


พระบิดาและพระมารดาของสุริยเทพและจันทราเทวี เล่ากันว่าเทพวิราโคชา สร้างมนษย์คนแรกบนโลกด้วยดินเหนียว


พิธีเฉลิมฉลองของชาวอินคาในโอกาสตางๆ มักเกียวพันกับศาสนาเสมอ

370


พิธกรรมส าคัญ





พิธีกรรมทีส าคัญ คือ งานเฉลิมฉลองซีทัว ซึงถือว่าเปนพิธีใหญ่ทีส าคัญตอชีวิตชาวอินคา เพื่อขับไล่สิ่งชั่วร้าย







อ านาจปศาจทีพวกเขาคิดว่าเปนต้นเหต โดยการนารูปภาพหรือรูปป้นทีพวกเขาเคารพนับถือไปไว้ในพืนทีนครคูซโค
พิธีเฉลิมฉลองจะกระท าในวันพระจันทร์เต็มดวง โดยเริ่มพิธีในเวลาเทียงตรง ทุกคนจะไปรวมกันทีลานหนาวิหาร



สุริยเทพและนักบวชชั้นสูงจะนาสวดบูชาสุริยเทพขับไล่โรคร้าย และสิ่งชั่วร้ายตางๆ ออกไปจากแผ่นดิน

บูชาพระอาทิตย์ เทพเจ้าของชาวอินคา


ชาวอินคายกย่องพระอาทิตย์เปนเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญเปนทีประจักษ์ทั่วไปว่าชาวอินคามักจะบูชาพระอาทิตย์ ขณะ



เดินทางบนทีสูงช่วงเวลากลางคืน ชาวอินคาเชื่อว่า ลมปศาจซึงเปนลมทีหนาวเหน็บถึงกระดูกพัดลงมาตามแนวเทือกเขา





แอนดีส ในช่วงเวลากลางคืนหลังพระอาทิตย์ตกและมักจะพัดผ่านใต้พืนโลกตลอดเวลา




ทุกๆ เมืองของชาวอินคา จะมีก้อนหินสลักขนาดใหญ ซึงเรียกว่า “อินติฮัวตานา” ซึงเปนเครื่องหมายบอกวันที

พระอาทิตย์โคจรข้ามศีรษะในช่วงเวลาเทียง ซึงเวลาดังกล่าวชาวอินคาและนักบวชจะไปร่วมชุมนมท าพิธีบูชาพระอาทิตย์



โดยสวดมนต์ขอบคุณพระอาทิตย์ทีให้แสงสว่าง ให้ความอบอุ่น และขอบคุณซา-ปา อินคา โอรสของพระอาทิตย์




ชาวอินคาส่วนใหญเชื่อว่า กษัตริย์หรือจักรพรรดิของพวกเขาเปนโอรสของสุริยเทพ ทุกเผ่าทีอยูภายใต้การปกครองของ




อาณาจักรอินคาต้องสร้างวิหารบูชาสุริยเทพโดยเฉพาะ แตวิหารบูชาพระอาทิตย์ทีเปนหลักเปนศูนย์กลางอยู่ในนครคูซโค

นครหลวงของอาณาจักร


ุ่
มาชู ปกชู สร้างอยูบนยอดเขาโดดเด่นตัดขาดจากโลกภายนอก ห่างไกลนครหลวงคูซโค และสูงกว่าทีราบลมมาก





ตามต านานเล่าว่า ชาวอินคาสร้างนครนเพื่อเปนทีอาศัยของหญิงพรหมจารี ทีปฏิบัติศาสนกิจถวายสุริยเทพ เรื่องดังกล่าวนี ้





นักโบราณคดีในยุคปจจุบัน สันนิษฐานว่าไม่นาจะเปนไปได้ แต่สิ่งทีโดดเด่นของมาชู ปกชู ก็คือ ผลงานทางด้าน


สถาปตยกรรม โดยเฉพาะสิ่งก่อสร้างทีเปนอนสาวรีย์ขนาดมหึมาทีก่อสร้างด้วยแท่งหินขนาดใหญ วางเชื่อมตอกันอย่าง









สมดุล มีการขนย้ายแท่งหินขนาดยักษ์มาเรียงรายตอกันสูงเปนชั้นๆ ได้เรียบสนิท โดยไม่ใช้ล้อเลื่อนหรือลูกรอกแตอย่างใด


นับเปนปริศนา ทีไม่มีใครทราบจนกระทั่งบัดน...


ทมา : เรียบเรียงจาก http://atcloud.com/stories/82246 โดย นางสาวจิราภรณ นวลมี
ี่
371

บัตรภาพ

ภาพนางงาม ภาพนกกฬาฟุตบอล


ภาพนกร้อง ภาพนกกฬาวอลเลย์บอล

ี่
ทมา : ภาพที 1 http://topicstock.pantip.com/isolate/topicstick/2011/09/M11063871/M11063871-7.jpg


ภาพที 2 http://i2.bebo.com/020/11/large/2006/10/08/06/143798104a2205091901b310388365l.jpg
1 2 ภาพที 3 http://www.siamdara.com/PicS_News/1106092EV2462460.jpg

3 4

ภาพที 4 http://spot-asia.com/wp-content/uploads/2013/08/Gabriela-Braga-CROP.jpg

372

ใบงานที่ 4.5

ลักษณะทั่วไปทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้




ค าชแจง ให้นักเรียนขีด  ใน  หนาข้อความในวงเล็บ เพื่อให้ข้อความมีความถูกต้อง



1. ( โคลอมเบีย  บราซิล  อาร์เจนตินา) เปนประเทศทีมีประชากรมากทีสุดในทวีปอเมริกาใต้


2. เมือง ( บัวโนสไอเรส  ลิมา  เซาเปาลู) ในประเทศบราซิลเปนเมืองทีมีประชากรมากทีสุด

ถึง 18.95 ล้านคน

3. กลุ่มชาว ( อินเดียนแดง  แอฟริกัน  ยุโรป) เปนชนพืนเมืองดั้งเดิมของทวีปอเมริกาใต้

4. ชาวอินเดียนแดงได้สร้างอารยธรรม ( อินคา  ไทกริส-ยูเฟรทีส  เมโสโปเตเมีย)

อารยธรรมส าคัญในทวีปนไม่ว่าจะเปนการเพาะปลูก ระบบชลประทาน สถาปตยกรรม การแพทย์




แผนโบราณ ศาสนา ภาษา และระบบการเมืองการปกครอง

5. การตั้งถิ่นฐานในยุคเริ่มแรกของชาวพืนเมืองในทวีปอเมริกาใต้อยูบริเวณเทือกเขา

( แอปพาเลเชีย  ร็อกกี  แอนดีส)

6. ในศตวรรษที 16 ชาว ( ยุโรป  อเมริกัน  เอเชีย) เดินทางเข้ามาตั้งถิ่นฐานและพยายาม



ยึดครองดินแดนเพื่อกอตั้งอาณานิคมจนเกิดการสู้รบขึนทั่วไป


7. หลังจากศตวรรษที 17 ชาวยุโรปได้นาทาสชาว ( อินเดีย  แอฟริกัน  เอเชีย)
เข้ามาสู่ทวีปอเมริกาใต้ เพื่อใช้แรงงานในการปลูกอ้อย


8. ประชากรเลือดผสมระหว่างชาวพืนเมืองกับชาวยุโรป เรียกว่า
( เมสติโซ  มูแลตโต  แซมโบ)


9. ประชากรเลือดผสมระหว่างชนพืนเมืองกับชาวแอฟริกัน เรียกว่า
( เมสติโซ  มูแลตโต  แซมโบ)

10. ปจจุบันมีผู้คนเชือสายตางๆ เดินทางเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริกาใต้ทีมีจ านวนมาก คือ






( อินเดีย  ไทย  ญีปุน)

373

ใบงานที่ 4.5 ลักษณะทั่วไปทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้




ค าชแจง ให้นักเรียนขีด  ใน  หนาข้อความในวงเล็บ เพื่อให้ข้อความมีความถูกต้อง


1. ( โคลอมเบีย  บราซิล  อาร์เจนตินา) เปนประเทศทีมีประชากรมากทีสุดในทวีปอเมริกาใต้




2. เมือง ( บัวโนสไอเรส  ลิมา  เซาเปาลู) ในประเทศบราซิลเปนเมืองทีมีประชากรมากทีสุด


ถึง 18.95 ล้านคน

3. กลุ่มชาว ( อินเดียนแดง  แอฟริกัน  ยุโรป) เปนชนพืนเมืองดั้งเดิมของทวีปอเมริกาใต้


4. ชาวอินเดียนแดงได้สร้างอารยธรรม ( อินคา  ไทกริส-ยูเฟรทีส  เมโสโปเตเมีย)




อารยธรรมส าคัญในทวีปนไม่ว่าจะเปนการเพาะปลูก ระบบชลประทาน สถาปตยกรรม การแพทย์

แผนโบราณ ศาสนา ภาษา และระบบการเมืองการปกครอง


5. การตั้งถิ่นฐานในยุคเริ่มแรกของชาวพืนเมืองในทวีปอเมริกาใต้อยูบริเวณเทือกเขา
( แอปพาเลเชีย  ร็อกกี  แอนดีส)


6. ในศตวรรษที 16 ชาว ( ยุโรป  อเมริกัน  เอเชีย) เดินทางเข้ามาตั้งถิ่นฐานและพยายาม



ยึดครองดินแดนเพื่อกอตั้งอาณานิคมจนเกิดการสู้รบขึนทั่วไป


7. หลังจากศตวรรษที 17 ชาวยุโรปได้นาทาสชาว ( อินเดีย  แอฟริกัน  เอเชีย)

เข้ามาสู่ทวีปอเมริกาใต้ เพื่อใช้แรงงานในการปลูกอ้อย

8. ประชากรเลือดผสมระหว่างชาวพืนเมืองกับชาวยุโรป เรียกว่า
( เมสติโซ  มูแลตโต  แซมโบ)


9. ประชากรเลือดผสมระหว่างชนพืนเมืองกับชาวแอฟริกัน เรียกว่า

( เมสติโซ  มูแลตโต  แซมโบ)

10. ปจจุบันมีผู้คนเชือสายตางๆ เดินทางเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริกาใต้ทีมีจ านวนมาก คือ






( อินเดีย  ไทย  ญีปุน)

374

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงประชากรของทวปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1 สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

ประชากรในทวีปอเมริกาใต้มีลักษณะผสมผสานของกลุ่มชาติพันธุ์ มีอัตราการเพิ่มแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค

ู้
2 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.2 ม.3/1 วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทาง
สังคมของทวปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายลักษณะส าคัญทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้ได้
2) วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้ได้

3 สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การเปลี่ยนแปลงประชากรของทวีปอเมริกาใต้
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการส ารวจค้นหา 2) ทักษะการรวบรวมขอมูล

3) ทักษะการวิเคราะห์ 4) ทักษะการสังเคราะห์

4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการท างาน
3. มีความรับผิดชอบ

375

6 กิจกรรมการเรียนรู้

ื่
1. ครูขออาสาสมัครนักเรียนออกมาเล่าเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้ เพอเป็นการทบทวน
ความรู้
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรของทวีปอเมริกาใต้
3. ครูมอบหมายให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง

การเปลี่ยนแปลงประชากรของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่กันในการศึกษาความรู้ โดยก าหนดประเด็นในการศึกษาให้
สมาชิกแต่ละคนตามความเหมาะสม

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงประชากรของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน
หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
6. สมาชิกแต่ละกลุ่มผลัดกันเล่าความรู้ที่ได้จากการศึกษา แล้วร่วมกันสรุปสาระส าคัญ

7. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคด ข้อ 1-2
1) ท าไมบริเวณที่ราบสูงปาตาโกเนียลงมาจนถึงปลายแหลมสุดของทวปจึงมีประชากรเบาบาง

(เพราะภูมิประเทศทุรกันดาร ภูมิอากาศไม่เหมาะสมกับการเป็นที่อยู่อาศัย)
2) ท าไมประชากรในทวีปอเมริกาใต้จึงมีความหนาแน่นน้อย ทั้งที่มีจ านวนประชากรมาก
(เพราะมีพื นที่กว้างใหญ่)

8. ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงประชากรของทวีปอเมริกาใต้
9. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าใบงานที่ 4.6 เรื่อง ลักษณะเด่นของประชากรในทวีปอเมริกาใต้ แล้วให้นักเรียน
ช่วยกันเฉลยค าตอบ

10. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคด
นักเรียนคิดว่าลักษณะทางประชากรมีผลต่อการพัฒนาประเทศในทวีปอเมริกาใต้หรือไม่ อธิบาย

เหตุผล
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

11. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงประชากรของทวีปอเมริกาใต้
12. นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4


 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนเขียนบทความวิเคราะห เรื่อง ลักษณะทางกายภาพและประชากรของ
ี่
ทวีปอเมริกาใต้ โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามทก าหนด ดังนี
1) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างท าเลที่ตั ง ภูมิลักษณ์ ภูมิอากาศ และพืชพรรณธรรมชาติ ของทวีป
อเมริกาใต้
2) การอธิบายลักษณะทางประชากร และการเปลี่ยนแปลงประชากรของทวีปอเมริกาใต้
3) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับการตั งถิ่นฐานของประชากรในทวีป

อเมริกาใต้
4) การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการน าเสนอข้อมูล

376

7 การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 4.6 ใบงานที่ 4.6 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตการใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และมีความรับผิดชอบ
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ตรวจบทความวิเคราะห์ เรื่อง ลักษณะทางกายภาพ แบบประเมินบทความวิเคราะห์ เรื่อง ลักษณะ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และประชากรของทวีปอเมริกาใต้ ทางกายภาพและประชากรของ ทวีปอเมริกาใต้

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) ใบงานที่ 4.6 เรื่อง ลักษณะเด่นของประชากรในทวีปอเมริกาใต้

8.2 แหล่งการเรียนรู้
 แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nongkhai/thanagorn_n/

thanagorn02/sec03p06.html

377

การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด))

แบบประเมินบทความวิเคราะห์ เรื่อง ลักษณะทางกายภาพและประชากร

ของทวีปอเมริกาใต้

ระดับคะแนน
ล าดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างท าเลที่ตั ง ภูมิ

1 ลักษณ์ ภูมิอากาศ และพืชพรรณธรรมชาติ ของทวีป
อเมริกาใต้
การอธิบายลักษณะทางประชากร และการ
2
เปลี่ยนแปลงประชากรของทวีปอเมริกาใต้
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง

3 กายภาพกบการตั งถิ่นฐานของประชากรในทวีป
อเมริกาใต้
4 การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการน าเสนอข้อมูล

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ดีมาก = 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดี = 3 คะแนน
พอใช ้ = 2 คะแนน 14 - 16 ดีมาก
ปรับปรุง = 1 คะแนน 11 - 13 ดี
8 - 10 พอใช้

ต ากว่า 8 ปรับปรุง

378

ใบงานที่ 4.6

ลักษณะเด่นของประชากรในทวีปอเมริกาใต้

ตอนที่ 1
ค าชี้แจง ให้นักเรียนดูภาพ แล้ววิเคราะห์ลักษณะเด่นและวิถีการด าเนินชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้

1. ลักษณะเด่น

วิถีการด าเนินชีวิต

2. ลักษณะเด่น

วิถีการด าเนินชีวิต

3. ลักษณะเด่น

วิถีการด าเนินชีวิต

379

ตอนที่ 2
ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

1. ทวีปอเมริกาใต้มีประชากรประมาณเท่าใด และประเทศใดมีประชากรมากที่สุด

2. ประชากรส่วนใหญ่ของทวีปตั งถิ่นฐานที่บริเวณใด เพราะเหตุใด

3. ชนพื นเมืองส่วนใหญ่อาศัยอยู่บริเวณใดของทวีป

4. บริเวณใดของทวีปที่มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง เพราะเหตุใด

5. เพราะเหตุใด เมืองใหญ่ เช่น เมืองรีอูดีจาเนรู ในประเทศบราซิลจึงมีประชากรเพิ่มขึ นอย่างรวดเร็ว

380

ใบงานที่ 4.6 ลักษณะเด่นของประชากรในทวีปอเมริกาใต้

ตอนที่ 1

ค าชี้แจง ให้นักเรียนดูภาพ แล้ววิเคราะห์ลักษณะเด่นและวิถีการด าเนินชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้

1. ลักษณะเด่น เป็นชนพื นเมือง
วิถีการด าเนินชีวิต เป็นชนกลุ่มหลักในชิลี เปรู เอกวาดอร์

ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เลี ยงสัตว์ ปัจจุบันมีจ านวนน้อยลง

2. ลักษณะเด่น มีผิวขาวสืบเชื อสายจากยุโรป
วิถีการด าเนินชีวิต ประชากรส่วนใหญ่ของอาร์เจนตินา อุรุกวัย

บราซิล เวเนซุเอลา ชิลี เปรู

3. ลักษณะเด่น เป็นพวกแอฟริกันนิโกร
วิถีการด าเนินชีวิต ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในบราซิล โคลอมเบีย กายอานา

381

ตอนที่ 2
ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

1. ทวีปอเมริกาใต้มีประชากรประมาณเท่าใด และประเทศใดมีประชากรมากที่สุด

ประมาณ 390 ล้านคน ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ บราซิล ประมาณ 190 ล้านคน

2. ประชากรส่วนใหญ่ของทวีปตั งถิ่นฐานที่บริเวณใด เพราะเหตุใด
บริเวณเขตที่ราบสูงตะวันออก เพราะมีพื นที่ราบสูง มีแม่น าไหลผ่านหลายสายเหมาะแก่การท าการเกษตร

และบริเวณชายฝั่งตะวันออกของทวีปแถบประเทศบราซิล เช่น เมืองรีอูดีจาเนรู เป็นต้น

3. ชนพื นเมืองส่วนใหญ่อาศัยอยู่บริเวณใดของทวีป

บริเวณเทือกเขาแอนดีส และทางตอนเหนือของทวีป

4. บริเวณใดของทวีปที่มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง เพราะเหตุใด
บริเวณที่สูงกิอานา เทือกเขาแอนดีส ที่ราบลุ่มแม่น าแอมะซอน ตอนกลางของประเทศบราซิล ทสูงปาตาโกเนีย
ี่
ลงมาถึงปลายแหลมสุดของทวีป เนื่องจากสภาพภูมิประเทศทุรกันดาร การคมนาคมล าบาก

5. เพราะเหตุใด เมืองใหญ่ เช่น เมืองรีอูดีจาเนรู ในประเทศบราซิลจึงมีประชากรเพิ่มขึ นอย่างรวดเร็ว

เพราะมีการอพยพย้ายถิ่นจากบริเวณต่างๆ เช่น จากชนบทเพื่อหลีกหนีความยากจน จึงอพยพมาหางานท า
ในเมืองใหญ่

382

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลาสอน 9 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

ส 5.1 ม.3/1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและ

สังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ม.3/2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

ส 5.2 ม.3/1 วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
และทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ม.3/3 ส ารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทเกิดขึ นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ี่
ม.3/4 วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกา
ใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมก่อให้เกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ขึ นในทวีปอเมริกาใต้ ส่งผลกระทบ ต่อ

ื่

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การด าเนินชีวิตของประชากรในทวีปรวมถึงประเทศไทย จึงต้องร่วมมอเพอหา
แนวทางป้องกันแก้ไขและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาใต้
2) ลักษณะทางสังคมของทวีปอเมริกาใต้
3) การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้

4) ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ นในทวีปอเมริกาใต้
5) ผลกระทบต่อเนื่องของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
1) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

2) แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์

4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการท างาน 3. มีความรับผิดชอบ

6. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

บทความ เรื่อง ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

383

7. การวัดและการประเมินผล

7.1 การประเมินก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ (2)
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1) ตรวจใบงานที่ 5.1 เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้

2) ตรวจใบงานที่ 5.2 เรื่อง เอกลักษณ์ของทวีปอเมริกาใต้
3) ตรวจใบงานที่ 5.3 เรื่อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
4) ตรวจใบงานที่ 5.4 เรื่อง การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกาใต้
5) ตรวจใบงานที่ 5.5 เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้

6) ตรวจใบงานที่ 5.6 เรื่อง ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาต่อประเทศไทย
7) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
8) ประเมินการน าเสนอผลงาน 9) สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล

10) สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม 11) สังเกตคุณลักษณะอันพงประสงค์
7.3 การประเมินหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ (2)
7.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจบทความ เรื่อง ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

8. กิจกรรมการเรียนรู้

นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

384

เรื่องที่ 1 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ เวลาสอน 2 ชั่วโมง

วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)

ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)

1. ครูน าวีดิทัศน์เทศกาลการ์นีวัลของประเทศบราซิลมาให้นักเรียนดู พร้อมกับอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความยิ่งใหญ่

ของเทศกาลนี
2. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความส าคัญเกี่ยวกับเทศกาลการ์นีวัลของประเทศบราซิล

ขั้นที่ 2 ส ารวจค้นหา (Explore)


ู่
ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ แล้วให้นักเรียนจับคู่กนเป็น 2 คู่ แต่ละคศึกษา
ความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางสังคมและวัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีป
อเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามประเด็นที่ก าหนด

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)

1. นักเรียนแต่ละคู่น าความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาผลัดกันอธิบายความรู้ แล้วผลัดกันซักถามจนมีความเข้าใจ
ตรงกัน


2. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้มาท าใบงานที่ 5.1 เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้
เสร็จแล้วตรวจสอบความถูกต้อง
3. ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจค าตอบในใบงานที่ 5.1

ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)

1. ครูน าวีดิทัศน์การเต้นร าจังหวะแซมบา (Samba) และลัมบาดา (Lambada) มาเปิดให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียน

ร่วมกันวิเคราะห์ท านองเพลง จังหวะและลีลาการเต้น เครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ ์

2. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้มาท าใบงานที่ 5.2 เรื่อง เอกลักษณ์ของทวปอเมริกาใต้

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยค าตอบในใบงานที่ 5.2
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสังคม

และวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้

385

เรื่องที่ 2 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ เวลาสอน 2 ชั่วโมง

วิธีสอนแบบ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์

ขั้นที่ 1 น าเข้าสู่บทเรียน

1. ครูให้นักเรียนดูแผนที่แสดงแหล่งเพาะปลูกและเลี ยงสัตว์ และแผนที่แสดงแหล่งแร่ของทวีปอเมริกาใต้ แล้วให้
นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากภาพดังกล่าว

2. ครูอธิบายเกี่ยวกับการเพาะปลูกและเลี ยงสัตว์ และแร่ที่ส าคัญในทวีปอเมริกาใต้ให้นักเรียนฟังจนมีความเข้าใจ
3. นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาเป็นพื นฐานในการเล่นเกม “จริงหรือหลอก” โดยให้แต่ละ
กลุ่มตั งค าถาม จริงหรือไม่ จากเนื อหาที่ได้ศึกษา กลุ่มละ 10 ค าถาม

2. นักเรียนร่วมกันคัดเลือกนักเรียน 2 คน เป็นพิธีกรด าเนินรายการ แล้วให้พิธีกรรวบรวมคาถามจากทุกกลุ่ม จากนั น

คัดเลือกค าถามจากกลุ่มต่างๆ ประมาณ 15-20 ค าถาม

3. พิธีกรเริ่มด าเนินรายการ “จริงหรือหลอก” ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดคาตอบพร้อมแสดงเหตุผล โดยมีครูเป็น
ผู้ตรวจสอบความถูกต้อง
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคะแนนให้กลุ่มของตนเอง กลุ่มใดที่ตอบถูกมากที่สุดเป็นผู้ชนะ

ขั้นที่ 3 สรุปและน าหลักการไปประยุกต์ใช้


นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้มาท าใบงานที่ 5.3 เรื่อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวปอเมริกาใต้

ขั้นที่ 4 วัดและประเมินผล

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอค าตอบในใบงานที่ 5.3 หน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้องและให้
ข้อเสนอแนะ

2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้และการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

ครูให้นักเรียน

386

เรื่องที่ 3 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

เวลาสอน 2 ชั่วโมง

วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)

ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)

1. ครูให้นักเรียนดูภาพเขื่อนอิไตปู ที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน าที่ใหญ่ที่สุดของทวีปอเมริกาใต้ แล้วให้นักเรียน
ช่วยกันวิเคราะห์ความส าคัญของเขื่อน

2. ครูให้นักเรียนช่วยกันระดมพลังสมองถึงผลดี ผลเสีย จากการสร้างเขื่อนอิไตปู จากนั นครูเขียนค าตอบของนักเรียน
บนกระดานพร้อมทั งให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ขั้นที่ 2 ส ารวจค้นหา (Explore)


นักเรียนรวมกลุ่มเดิม แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศกษาความรู้เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีป
อเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain)

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาท าใบงานที่ 5.4 เรื่อง การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกา
ใต้

2. ตัวแทนของแต่ละกลุ่มผลัดกันออกมาน าเสนอค าตอบในใบงานที่ 5.4 หน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง

ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)

ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ชีวิตความเป็นอยู่ของคนพื นเมืองกับการ
ปรับตัวเข้ากับโลกยุคปัจจุบัน หรือวิถีชีวิตของความเป็นเมือง แล้วให้นักเรียนเขียนเป็นแผนผังความคิด เรื่อง วิถีชีวิตที่

เปลี่ยนแปลงไปในทวีปอเมริกาใต้

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอแผนผังความคด เรื่อง วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปในทวีปอเมริกาใต้

หน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง
2. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับลักษณะการเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลมาจากการ

เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ประชากร สังคม และวัฒนธรรม

387

เรื่องที่ 4 ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ เวลาสอน 2 ชั่วโมง

วิธีสอนแบบ กรณีศึกษา

ขั้นที่ 1 เตรียมการ

1. ครูเล่าถึงการขยายตัวของเมืองใหญ่ เช่น ในประเทศบราซิล แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์จากเหตุการณ ์
ดังกล่าวว่าเกิดปัญหาใดตามมาบ้าง

2. ครูสรุปประเด็นว่า ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมก าลังเป็นปัญหาส าคัญของทวีปอเมริกาใต้

ื่
3. ครูเตรียมกรณีตัวอย่างปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้เพอให้นักเรียนศึกษา

ขั้นที่ 2 เสนอกรณีตัวอย่าง

ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันศึกษากรณีตัวอย่างเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้

ขั้นที่ 3 วิเคราะห ์


1. นักเรียนในแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์กรณีตัวอย่างในใบงานที่ 5.5 เรื่อง ปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

ของทวปอเมริกาใต้ แล้วตอบค าถาม
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเสนอแนะแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลงานหน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง

4. นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ และแนวทางการอนุรักษ ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากหนังสือเรียน

5. ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างความร่วมมือขององค์กรนานาชาติในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ

สิ่งแวดล้อม

ขั้นที่ 4 สรุป

นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และแนวทางการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ แล้วเขียนเป็นผังมโนทัศน์ส่งครูผู้สอน

ขั้นที่ 5 ประเมินผล

ครูตรวจผลงานผังมโนทัศน์ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม แล้วคัดเลือกผลงานของกลุ่มที่มีคุณภาพตามเกณฑ์
ที่ก าหนดติดป้ายนิเทศหน้าชั นเรียน

388

เรื่องที่ 5 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ต่อประเทศไทย

เวลาสอน 2 ชั่วโมง

วิธีสอนแบบ บรรยาย

ขั้น น าเข้าสู่บทเรียน


1. ครูน าตัวอย่างข่าวเกี่ยวกับน าท่วมหรือภาวะภัยแล้งที่เกิดขนในประเทศไทยมาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ลักษณะ
อากาศ และผลกระทบจากสภาวะอากาศ
2. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างสภาพอากาศของไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด แล้วให้นักเรียน

วิเคราะห์ถึงสาเหตุ จากนั นครูเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่าภัยธรรมชาติดังกล่าวนั นมีผลกระทบมาจากปัญหา
สิ่งแวดล้อมและปรากฏการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่างๆ ของโลก

ขั้น สอน

1. นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันศึกษาความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมต่อประเทศไทย

2. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับลักษณะภูมิอากาศที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ส าคัญ

จากนั นอธิบายความรู้เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน และปรากฏการณ์ต่างๆ ให้นักเรียนฟัง
3. นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ผลกระทบจากปรากฏการณ์ดังกล่าวต่อประเทศไทย พร้อมทั งยกตัวอย่างจากเหตุการณ์

ดังกล่าว
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท าใบงานที่ 5.6 เรื่อง ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาต่อประเทศไทย


จากนั นครูและนักเรียนร่วมกนเฉลยค าตอบในใบงาน

ขั้น สรุป

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ ที่

มีต่อประเทศไทย



 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนเขียนบทความ เรื่อง ลักษณะทางสงคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของทวป
อเมริกาใต้ โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามที่ก าหนด

นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

389

9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

9.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.3

3) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
(1) สุนันท์ วิทิตสิริ. (2554). วิทยาการโลกร้อน (SCIENCE GLOBAL WARMING). กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
(2) ศุภโชค นิจสนกิจ. (2554). เอาตัวรอดในสถานการณ์ภัยพิบัติ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.
(3) LAN ROHR. (2552). หนังสือเปิดโลกความรู้ ชุด มหันตภัยใกล้ตัว เรื่อง แผ่นดินไหว (GO
FACTS NATURAL DISASTERS : EARTHQUA). (วราวุธ สุธีธร, ผู้แปล). กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

4) ใบความรู้เกี่ยวกับกรณีตัวอย่างปัญหาสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้
5) ตัวอย่างข่าว
6) วีดิทัศน์

7) ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้
8) ใบงานที่ 5.2 เรื่อง เอกลักษณ์ของทวีปอเมริกาใต้
9) ใบงานที่ 5.3 เรื่อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
10) ใบงานที่ 5.4 เรื่อง การเกดสิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกาใต้

11) ใบงานที่ 5.5 เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้

12) ใบงานที่ 5.6 เรื่อง ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญ และลานีญาต่อประเทศไทย
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

- http://www.tmd.go.th/NCCT/article/LaNina.pdf กรมอุตุนิยมวิทยา
- http://www.tmd.go.th/info/info.php?FilelD=18 กรมอุตุนิยมวิทยา
- http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=7&ID=462 หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์

- http://www.tistr.or.th/t/publication/page_show_bc.asp?i1=86&i2=6
กระทรวงวิทยาศาสตร์
- http://www.greentheearth.info/

- http://www.pcd.go.th/contact/FAQs_pol.html
- http://report-easy.blogspot.com/2009/07/blog-post-4544.html
- http://youtube.com ค้นหาค าว่า Samba dance และ Lambada

390

การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินบทความ เรื่อง ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ

ของทวีปอเมริกาใต้

ค าอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)

1. การวิเคราะห์ วิเคราะห์ลักษณะการ วิเคราะห์ลักษณะการ วิเคราะห์ลักษณะการ วิเคราะห์ลักษณะการ
ลักษณะการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม เปลี่ยนแปลงทางสังคม เปลี่ยนแปลงทางสังคม เปลี่ยนแปลงทางสังคม
เปลี่ยนแปลงทาง และวัฒนธรรมของ และวัฒนธรรมของ และวัฒนธรรมของ และวัฒนธรรมของ
สังคมและ ทวีปอเมริกาใต้ได้อย่าง มี ทวีปอเมริกาใต้ได้อย่าง มี ทวีปอเมริกาใต้ได้อย่าง มี ทวีปอเมริกาใต้ได้อย่าง มี
วัฒนธรรมของ ทวีป เหตุผลถูกต้อง เหตุผลเป็นส่วนใหญ่ เหตุผลเป็นบางส่วน เหตุผลเป็นส่วนน้อย
อเมริกาใต ้

2. การวิเคราะห์ วิเคราะห์ลักษณะส าคัญ วิเคราะห์ลักษณะส าคัญ วิเคราะห์ลักษณะส าคัญ วิเคราะห์ลักษณะส าคัญ
ลักษณะส าคัญทาง ทางเศรษฐกิจและการ ทางเศรษฐกิจและการ ทางเศรษฐกิจและการ ทางเศรษฐกิจและการ
เศรษฐกิจและการ เปลี่ยนแปลงทาง เปลี่ยนแปลงทาง เปลี่ยนแปลงทาง เปลี่ยนแปลงทาง
เปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจของทวีป เศรษฐกิจของทวีป เศรษฐกิจของทวีป เศรษฐกิจของทวีป

เศรษฐกิจของทวีป อเมริกาใต้ได้อย่างมี อเมริกาใต้ได้อย่างมี อเมริกาใต้ได้อย่างมี อเมริกาใต้ได้อย่างมี
อเมริกาใต ้ เหตุผลถูกต้อง เหตุผลถูกต้อง 3 เหตุผลถูกต้อง เหตุผลถูกต้อง
4 ประเด็น ประเด็น 2 ประเด็น 1 ประเด็น

3. การเสนอแนว เสนอแนวทางการอนุรักษ์ เสนอแนวทางการอนุรักษ์ เสนอแนวทางการอนุรักษ์ เสนอแนวทางการอนุรักษ์
ทางการอนุรักษ์ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ ทรัพยากร ธรรมชาติ และ
ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมในทวีป สิ่งแวดล้อมในทวีป สิ่งแวดล้อมในทวีป สิ่งแวดล้อมในทวีป
ธรรมชาติและ อเมริกาใต้ได้อย่าง อเมริกาใต้ได้อย่าง อเมริกาใต้ได้อย่าง อเมริกาใต้ได้อย่าง
สิ่งแวดล้อมในทวีป เหมาะสม 4 แนวทาง เหมาะสม 3 แนวทาง เหมาะสม 2 แนวทาง เหมาะสม 1 แนวทาง
อเมริกาใต ้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน 11 - 12 9 - 10 6 - 8 ต่ ากว่า 6

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

391

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ภัยธรรมชาติที่มักเกิดขึ นบ่อยครั งในทวีปอเมริกาใต้ 7. ข้อใดเป็นความร่วมมือในการแก้ปัญหาโลกร้อน
และส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตมาก คืออะไร ในทวีปอเมริกาใต้

ก. ไฟป่า ข. ภัยแล้ง ก. พิธีสารเกียวโต
ค. ภูเขาไฟปะทุ ง. อุทกภัยและโคลนถล่ม ข. อนุสัญญาบราซิล
2. ข้อใดเป็นผลกระทบต่อวิถีการด าเนินชีวิตของประชากรจาก ค. อนุสัญญาด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
การสร้างเขื่อนอิไตปู ง. อนุสัญญาว่าด้วยการค้าสัตว์ป่าและพืชป่า
ก. มีการจับสัตว์น าเพิ่มขึ น ที่ใกล้สูญพันธ ุ์
ข. ประชากรเพิ่มขึ นอย่างรวดเร็ว 8. ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ นในทวีปอเมริกาใต้ที่ส่งผลกระทบ ถึง
ค. ประชากรมีอาชีพรับจ้างเพิ่มขึ น ประเทศไทย คืออะไร
ง. มีการท าธุรกิจการท่องเที่ยวเพิ่มขึ น ก. ปริมาณป่าไม้ลดลง
3. ลักษณะเด่นของสังคมอินเดียในประเทศต่างๆ ข. ฝนในภาคใต้ตกหนักตลอดปี

ในทวีปอเมริกาใต้ คืออะไร ค. ปริมาณสัตว์น าในทะเลลดลง
ก. สร้างเทวสถาน ง. การเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ-ลานีญา
ข. แต่งกายตามแบบสากล 9. ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากปรากฏการณ์เอลนีโญ
ค. นับถือศาสนาหลากหลาย คืออะไร
ง. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารต่อกัน ก. ภัยแล้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4. ปัญหาสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้ที่ส่งผลกระทบ ข. น าท่วมขังภาคกลางในช่วงเดือน ส.ค.-ก.ย.
ี่
ต่อสิ่งมีชีวิตมากทสุด คืออะไร ค. ในฤดูหนาวของภาคเหนืออุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็ว
ก. อากาศเป็นพิษ ง. เขื่อนขนาดใหญ่ระบายน าอย่างเร่งด่วนเนื่องจาก
ข. ดินเสื่อมคุณภาพ ปริมาณน าล้นเขื่อน
ค. การลดลงของป่าแอมะซอน 10. ข้อใดเป็นผลกระทบจากปรากฏการณ์ลานีญา
ง. การลดขนาดของธารน าแข็ง ที่ประเทศไทยได้รับในช่วงฤดูฝน
5. เขื่อนอิไตปูตั งอยู่ในประเทศใด ก. ฝนทิ งช่วง
ก. บราซิล-โบลิเวีย ข. อากาศร้อนอบอ้าว
ข. ปารากวัย-บราซิล ค. เกิดน าท่วมในหลายพื นท ี่
ค. อาร์เจนตินา-โบลิเวีย ง. ปริมาณความชื นในอากาศมีน้อย
ง. เวเนซุเอลา-โคลอมเบีย

6. การที่ธารน าแข็งบนเทือกเขาแอนดีสละลายเร็วส่งผล
กระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทวีปอย่างไร
ก. อุณหภูมิสูงขึ น
ข. ปริมาณน าจืดลดลง
ค. สัตว์ป่าไร้ที่อยู่อาศัย
ง. พืชพรรณธรรมชาติกลายพันธ ุ์

เฉลย

1. 4 2. 4 3. 1 4. 3 5. 2 6. 1 7. 1 8. 4 9. 1 10. 3

392

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. การที่ธารน าแข็งบนเทือกเขาแอนดีสละลายเร็วส่งผล 6. ลักษณะเด่นของสังคมอินเดียในประเทศต่างๆ
กระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทวีปอย่างไร ในทวีปอเมริกาใต้ คืออะไร
ก. พืชพรรณธรรมชาติกลายพันธ ุ์ ก. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารต่อกัน
ข. สัตว์ป่าไร้ที่อยู่อาศัย ข. นับถือศาสนาหลากหลาย
ค. ปริมาณน าจืดลดลง ค. แต่งกายตามแบบสากล

ง. อุณหภูมิสูงขึ น ง. สร้างเทวสถาน
2. ข้อใดเป็นผลกระทบจากปรากฏการณ์ลานีญา 7. ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากปรากฏการณ์เอลนีโญ
ที่ประเทศไทยได้รับในช่วงฤดูฝน คืออะไร
ก. ปริมาณความชื นในอากาศมีน้อย ก. ภัยแล้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ข. เกิดน าท่วมในหลายพื นท ี่ ข. น าท่วมขังภาคกลางในช่วงเดือน ส.ค.-ก.ย.
ค. อากาศร้อนอบอ้าว ค. เขื่อนขนาดใหญ่ระบายน าอย่างเร่งด่วนเนื่องจาก
ง. ฝนทิ งช่วง ปริมาณน าล้นเขื่อน

3. ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ นในทวีปอเมริกาใต้ที่ส่งผลกระทบ ถึง ง. ในฤดูหนาวของภาคเหนืออุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็ว
ประเทศไทย คืออะไร 8. ปัญหาสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้ที่ส่งผลกระทบ
ี่
ก. ปริมาณป่าไม้ลดลง ต่อสิ่งมีชีวิตมากทสุด คืออะไร
ข. ปริมาณสัตว์น าในทะเลลดลง ก. อากาศเป็นพิษ
ค. ฝนในภาคใต้ตกหนักตลอดปี ข. ดินเสื่อมคุณภาพ
ง. การเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ-ลานีญา ค. การลดขนาดของธารน าแข็ง
4. ภัยธรรมชาติที่มักเกิดขึ นบ่อยครั งในทวีปอเมริกาใต้ ง. การลดลงของป่าแอมะซอน
และส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตมาก คืออะไร 9. เขื่อนอิไตปูตั งอยู่ในประเทศใด
ก. อุทกภัยและโคลนถล่ม ข. ภูเขาไฟปะทุ ก. เวเนซุเอลา-โคลอมเบีย

ค. ภัยแล้ง ง. ไฟป่า ข. อาร์เจนตินา-โบลิเวีย
5. ข้อใดเป็นความร่วมมือในการแก้ปัญหาโลกร้อน ค. ปารากวัย-บราซิล
ในทวีปอเมริกาใต้ ง. บราซิล-โบลิเวีย
ก. อนุสัญญาว่าด้วยการค้าสัตว์ป่าและพืชป่า 10. ข้อใดเป็นผลกระทบต่อวิถีการด าเนินชีวิตของประชากรจาก
ที่ใกล้สูญพันธุ์ การสร้างเขื่อนอิไตปู
ข. อนุสัญญาด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ก. มีการท าธุรกิจการท่องเที่ยวเพิ่มขึ น
ค. อนุสัญญาบราซิล ข. ประชากรมีอาชีพรับจ้างเพิ่มขึ น

ง. พิธีสารเกียวโต ค. ประชากรเพิ่มขึ นอย่างรวดเร็ว
ง. มีการจับสัตว์น าเพิ่มขึ น

เฉลย

1. 4 2. 2 3. 4 4. 1 5. 4 6. 4 7. 1 8. 4 9. 3 10. 1

393

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ ยังมีลักษณะของสังคมเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ยังมี
อาชีพเพาะปลูกและเลี ยงสัตว์

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.1 ม.3/1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและ
สังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ม.3/2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) เลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการศึกษาลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ได้

2) อธิบายลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ได้

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1) เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางสังคมของทวีปอเมริกาใต้
2) ลักษณะทางสังคมของทวีปอเมริกาใต้
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการท างาน

394

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
2. ครูน าวีดิทัศน์เทศกาลการ์นีวัลของประเทศบราซิลมาให้นักเรียนดู พร้อมทั งอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความ

ยิ่งใหญ่ของเทศกาลนี ว่า เป็นประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของประเทศในทวีปอเมริกาใต้
3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความส าคัญเกี่ยวกับเทศกาลการ์นีวัลของประเทศบราซิล เช่น เป็นงานที่จัดยิ่งใหญ่ มี
ขบวนแห่อันหรูหรา แต่เดิมเป็นงานฉลองของพวกนอกศาสนา ปัจจุบันกลายเป็นเทศกาลทางศาสนาจัด

ยิ่งใหญ่ที่นครรีอูดีจาเนรู และถือเป็นประเพณีที่ต้องจัดขึ นทุกปี มีการเต้นร าชุดสวยงามอลังการประกอบดนตรี
จังหวะแซมบา

4. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคด
ท าไมวัฒนธรรมตะวันตกจึงมีอทธิพลต่อการด ารงชีวิตของประชากรในทวปอเมริกาใต้



(เพราะชาวสเปนและโปรตุเกสซึ่งเป็นชาวตะวันตกน ามาเผยแพร่ในระยะแรกๆ ของการเข้ามาครอบครอง
อาณานิคมในดินแดนทวีปอเมริกาใต้)

5. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางคอนข้างเก่ง ปานกลาง


ค่อนข้างออน และออน แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไป ทางสังคมและ
วัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
6. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคด

ท าไมขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรมของประเทศในทวีปอเมริกาใต้ จึงมีความคล้ายคลึงกัน

(เพราะประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ จึงมีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการด าเนินชีวิตไปในแนวทาง
เดียวกัน)
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาผลัดกันอธิบายความรู้ แล้วผลัดกันซักถามจนมีความ
เข้าใจตรงกัน


8. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้มาท าใบงานที่ 5.1 เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวฒนธรรมของทวีป
อเมริกาใต้ เสร็จแล้วตรวจสอบความถูกต้อง
9. ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจค าตอบในใบงานที่ 5.1
10. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ แล้ว


ร่วมกันวิเคราะห์ถึงความสัมพนธ์
11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้
12. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าแบบฝึกกิจกรรมตามตัวชี วัด กิจกรรมที่ 3.5 จากแบบวัดฯ เป็นการบ้าน

395

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 (ประเมินตามสภาพจริง)

ตรวจใบงานที่ 5.1 ใบงานที่ 5.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตการใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.3
3) วีดิทัศน์งานการ์นีวัลของประเทศบราซิล

4) ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้
8.2 แหล่งการเรียนรู้
 แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://report-easy.blogspot.com/2009/07/blog-post-4544.html

- http://youtube.com ค้นหาค าว่า Samba dance และ Lambada

396

ใบงานที่ 5.1

ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

1. ทวีปอเมริกาใต้มีประชากรหลากหลายเชื อชาติอาศัยอยู่ปะปนกันทั งชาวพื นเมืองเดิม ชาวผิวขาว และกลุ่มคนที่
อพยพมาจากทวีปอื่นๆ ท าให้การอยู่ร่วมกันมีลักษณะอย่างไร

2. ประชากรในเมืองและประชากรในชนบทมีวิถีชีวิตแตกต่างกันอย่างไร

3. วิถีการด าเนินชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้มีการเปลี่ยนแปลงจากอดีตอย่างไรบ้าง และส่งผลต่อความ
เป็นอยู่อย่างไร

397

ใบงานที่ 5.1 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

1. ทวีปอเมริกาใต้มีประชากรหลากหลายเชื อชาติอาศัยอยู่ปะปนกันทั งชาวพื นเมืองเดิม ชาวผิวขาว และ

กลุ่มคนที่อพยพมาจากทวีปอื่นๆ ท าให้การอยู่ร่วมกันมีลักษณะอย่างไร
ท าให้เกิดสายเลือดผสมใหม่ เช่น ชาวยุโรปเชื อสายสเปน และโปรตุเกส ได้ครอบครองดินแดนของชาวพื นเมือง

มีการแต่งงานกับชาวพื นเมือง ท าให้เกิดเชื อสายผสม เรียกว่า เมสติโซ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ

2. ประชากรในเมืองและประชากรในชนบทมีวิถีชีวิตแตกต่างกันอย่างไร

กลุ่มคนที่อยู่ในเมือง มีวิถีชีวิต 2 แบบ คือ กลุ่มที่มีความเป็นอยู่ที่ดี มีฐานะทางเศรษฐกิจดี ส่วนอีกกลุ่ม คือ อาศัยอยู่
อย่างหนาแน่นในชุมชนแออัด มีความเป็นอยู่ไม่ดี มีรายได้จากการใช้แรงงานเป็นหลัก ส่วนประเทศทอาศัยอยู่ในชนบท
ี่
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท าการเกษตรเพื่อเลี ยงชีพเป็นหลัก ใช้เทคโนโลยีพื นบ้านเป็นหลักท าให้ได้ผลผลิตต่ า

3. วิถีการด าเนินชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้มีการเปลี่ยนแปลงจากอดีตอย่างไรบ้าง และส่งผลต่อความ
เป็นอยู่อย่างไร

สภาพความเป็นอยู่ สภาพชุมชนเปลี่ยนแปลงสู่สังคมเมืองมากขึ น การขยายตัวของเมืองเป็นไปอย่างรวดเร็ว
บางเมืองอัตราการเกิดเพิ่มขึ นอย่างรวดเร็ว เช่น เมืองเซาเปาลู รีอูดีจาเนรู ในบราซิล ท าให้เกิดชุมชนแออัดเพิ่มขึ น

มีปัญหาอาชญากรรมและโจรผู้ร้ายชุกชุม ปัญหาคนจรจัด เป็นต้น

398

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสังคมและวฒนธรรมของทวปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของประชากรในทวีปอเมริกาใต้ มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสังคมเกษตรกรรม

สู่สังคมอุตสาหกรรมคอนข้างน้อย

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.2 ม.3/1 วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ และ
ทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการท างาน

399

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ เพื่อเป็นการทบทวนความรู้
2. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและ

วัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้ พร้อม
ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง แล้วสรุปเป็นแผนผังความคิด และส่งตัวแทนกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั น

เรียน
4. ครูน าวีดิทัศน์การเต้นร าจังหวะแซมบา (Samba) และลัมบาดา (Lambada) มาเปิดให้นักเรียนดู แล้วให้
นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ท านองเพลง จังหวะและลีลาการเต้น เครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ ์
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้มาท าใบงานที่ 5.2 เรื่อง เอกลักษณ์ของทวปอเมริกาใต้

6. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคด


นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวฒนธรรมของทวปอเมริกาใต้มีผลต่อเศรษฐกิจของ


ประเทศต่างๆ ในทวีปหรือไม่ อย่างไร
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

7. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยค าตอบในใบงานที่ 5.2
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 5.2 ใบงานที่ 5.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตการใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) วีดิทัศน์การเต้นร าจังหวะแซมบา ลัมบาดา
3) ใบงานที่ 5.2 เรื่อง เอกลักษณ์ของทวีปอเมริกาใต้

8.2 แหล่งการเรียนรู้
 แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://report-easy.blogspot.com/2009/07/blog-post-4544.html
- http://youtube.com ค้นหาค าว่า Samba dance และ Lambada

400

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง

เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจของทวปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒ เกรียรัมย์

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด


ลักษณะทางกายภาพมีอทธิพลส าคัญต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชากรในทวีป ซึ่งท าให้มีอาชีพ และความ
เป็นอยู่ที่แตกต่างกัน และจากข้อจ ากัดทางด้านลักษณะภูมิประเทศท าให้ยังคงเป็นทวีปที่ก าลังพัฒนา

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.1 ม.3/1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและ
สังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) เลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ได้
2) บอกกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส าคัญในทวีปอเมริกาใต้ได้
3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชากร
ในทวีปอเมริกาใต้ได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต้
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการท างาน 3. มีความรับผิดชอบ

401

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนดูแผนที่แสดงแหล่งเพาะปลูกและเลี ยงสัตว์ และแผนที่แสดงแหล่งแร่ของทวีปอเมริกาใต้ แล้วให้
นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนที่ดังกล่าว

2. ครูอธิบายเกี่ยวกับการเพาะปลูก การเลี ยงสัตว์ และแร่ที่ส าคัญในทวีปอเมริกาใต้ให้นักเรียนฟังจนมีความเข้าใจ
3. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะทางเศรษฐกิจ ของทวีป
อเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน

4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาเป็นพื นฐานในการเล่นเกม “จริงหรือหลอก” โดยให้
แต่ละกลุ่มตั งค าถามจริงหรือไม่ จากเนื อหาที่ได้ศึกษา กลุ่มละ 10 ค าถาม เช่น
- จริงหรือไม่ การเพาะปลูกในไร่ขนาดใหญ่เป็นการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจในทวีปอเมริกาใต้ที่เป็นผลมาจาก
การตั งถิ่นฐานของชาวยุโรป (จริง)

- จริงหรือไม่ ประเทศอาร์เจนตินาเป็นแหล่งผลิตกาแฟที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก (ไม่จริง ที่ถูกต้อง คือ
ประเทศบราซิล)
5. นักเรียนร่วมกันคัดเลือกนักเรียน 2 คน เป็นพิธีกรด าเนินรายการ เมื่อคัดเลือกพิธีกรได้แล้วให้พิธีกรรวบรวม
ค าถามจากทกกลุ่ม จากนั นคัดเลือกค าถามจากกลุ่มต่างๆ ประมาณ 15-20 ค าถาม

6. พิธีกรเริ่มด าเนินรายการ “จริงหรือหลอก” ด้วยค าถามจริงหรือไม่ ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดค าตอบพร้อมแสดง
เหตุผลประกอบ ในกรณที่ตอบผิด พิธีกรจะไม่เฉลยค าตอบ แต่จะให้กลุ่มที่ตอบถูกเป็น ผู้เฉลยค าตอบแทน

โดยมีครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคะแนนให้กลุ่มของตนเอง กลุ่มใดที่ตอบถูกมากที่สุดเป็นผู้ชนะ

ี่
8. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพทมีผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
ประชากรในทวีปอเมริกาใต้ พร้อมทั งบอกกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส าคัญในทวีปอเมริกาใต้
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันน าความรู้ที่ได้มาท าใบงานที่ 5.3 เรื่อง ลกษณะทางเศรษฐกิจของทวปอเมริกาใต้


10. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตการใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และมีความรับผิดชอบ

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) แผนที่ทวีปอเมริกาใต้แสดงแหล่งเพาะปลูก เลี ยงสัตว์ และแหล่งแร่

3) ใบงานที่ 5.3 เรื่อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
8.2 แหล่งการเรียนรู้

402

เอกสารประกอบการสอน

แผนที่แสดงแหล่งเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ของทวีปอเมริกาใต ้







ี่
ทมา : วิโรจน เอียมเจริญ และอภิสิทธิ์ เอียมหนอ [ม.ป.ป.]. หนงสอเรยน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปท 3. พิมพ์ครั้งที 7. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน.



ี่

403

ใบงานที่ 5.3

ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

ตอนที่ 1

ี่
ค าชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความทก าหนด แล้วขีด ลงใน  ใช่ หรือ ไม่ใช่ พร้อมกับบอกเหตุผล

1. ทุ่งหญ้าปัมปัสในประเทศอาร์เจนตินา เป็นแหล่งเลี ยงโคเนื อ โคนม แกะ ที่ส าคัญของโลก
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

2. อเมริกาใต้เป็นแหล่งผลิตกาแฟที่ส าคัญของโลก
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

3. ยามาเป็นสัตว์พื นเมืองไว้ขนสัมภาระในเขตเทือกเขาแอนดีส

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

4. บริเวณลุ่มน าปารานา-ปารากวัย-อุรุกวัย เป็นศูนย์กลางการเลี ยงสัตว์

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

5. บริเวณน่านน าเปรูเป็นแหล่งปลาชุกชุมของโลก
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

6. ประเทศที่เป็นผู้น าด้านอุตสาหกรรม คือ เปรู ชิลี
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

7. แร่ที่ท ารายได้ให้กับอเมริกาใต้มากที่สุด ได้แก่ ทองค า ทองแดง เหล็ก

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

8. ประเทศบราซิลเป็นสมาชิกของกลุ่มโอเปก

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

9. หาดโคปาคาบานาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกอยู่ในประเทศอาร์เจนตินา
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

10. ลักษณะภูมิประเทศทางด้านตะวันตกของทวีปไม่เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคมขนส่ง
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

404

ตอนที่ 2
ค าชี้แจง ให้นักเรียนเติมข้อความเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์

1. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่

2. พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ คือ

ปลูกมากที่ประเทศ
3. ปัญหาส าคัญในการท าการเกษตรของทวีปอเมริกาใต้ คือ

ท าให้ท าการเพาะปลูกไม่ค่อยได้ผลผลิต
4. ทวีปอเมริกาใต้เป็นแหล่งเลี ยงสัตว์ที่ส าคัญของโลก เนื่องจาก

สัตว์เลี ยงที่ส าคัญ เช่น
ประเทศที่เลี ยงมากที่สุด คือ

5. แหล่งประมงที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้อยู่ที่

บริเวณประเทศ
ปลาที่จับได้มาก เช่น

6. อุปสรรคในการท าประมงของทวีปอเมริกาใต้ คือ

7. ประเทศ เป็นผู้ส่งออกปลาป่น และน ามันปลารายใหญ่ที่สุดของโลก
8. พื นที่ป่าไม้ของทวีปอเมริกาใต้ลดลงอย่างรวดเร็วเป็นเพราะ

ท าให้มีการบุกรุกพื นที่ป่าไม้อย่างกว้างขวาง
9. แหล่งแร่ทองแดงที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกอยู่ที่

แหล่งแร่เหล็กส าคัญอยู่ที่

10. เหมืองทองค ารายใหญ่ของโลกอยู่ที่
11. ตลาดส่งออกแร่ที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่


12. แหล่งผลิตปิโตรเลียม และแกสธรรมชาติที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่
13. ประเทศที่มีอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้ามากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ คือ
อุตสาหกรรมส าคัญ เช่น

เมืองอุตสาหกรรม คือ
14. ประเทศแถบชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีอุตสาหกรรมส าคัญ คือ

15. แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั่วโลกในทวีปอเมริกาใต้ คือ
อยู่ในประเทศ

405

ใบงานที่ 5.3 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

ตอนที่ 1
ี่
ค าชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความทก าหนด แล้วขีด ลงใน  ใช่ หรือ ไม่ใช่ พร้อมกับบอกเหตุผล

1. ทุ่งหญ้าปัมปัสในประเทศอาร์เจนตินา เป็นแหล่งเลี ยงโคเนื อ โคนม แกะ ที่ส าคัญของโลก
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

2. อเมริกาใต้เป็นแหล่งผลิตกาแฟที่ส าคัญของโลก

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

3. ยามาเป็นสัตว์พื นเมืองไว้ขนสัมภาระในเขตเทือกเขาแอนดีส

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

4. บริเวณลุ่มน าปารานา-ปารากวัย-อุรุกวัย เป็นศูนย์กลางการเลี ยงสัตว์
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ บริเวณลุ่มน าปารานา ปารากวัย อุรุกวัย เป็นศูนย์กลางการเพาะปลูก

5. บริเวณน่านน าเปรูเป็นแหล่งปลาชุกชุมของโลก

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

6. ประเทศที่เป็นผู้น าด้านอตสาหกรรม คือ เปรู ชิลี

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ ผู้น าด้านอุตสาหกรรมในทวีปอเมริกาใต้ คือ ประเทศบราซิล และอาร์เจนตินา

7. แร่ที่ท ารายได้ให้กับอเมริกาใต้มากที่สุด ได้แก่ ทองค า ทองแดง เหล็ก
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ

8. ประเทศบราซิลเป็นสมาชิกของกลุ่มโอเปก
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ ประเทศที่เป็นสมาชิกของกลุ่มโอเปก คือ ประเทศเวเนซุเอลา

9. หาดโคปาคาบานาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกอยู่ในประเทศอาร์เจนตินา
 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ หาดโคปาคาบานาอยู่ในประเทศบราซิล

10. ลักษณะภูมิประเทศทางด้านตะวันตกของทวีปไม่เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคมขนส่ง

 ใช่  ไม่ใช่ เพราะ ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา และที่สูง มีความทุรกันดาร

406

ตอนที่ 2
ค าชี้แจง ให้นักเรียนเติมข้อความเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์

1. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ การเพาะปลูก เลี ยงสัตว์ อุตสาหกรรม

2. พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ คือ กาแฟ

ปลูกมากที่ประเทศ บราซิล โคลอมเบีย เปรู
3. ปัญหาส าคัญในการท าการเกษตรของทวีปอเมริกาใต้ คือ พื นที่ราบในการเพาะปลูกมีจ ากัด

ระบบชลประทานไม่ดี ท าให้ท าการเพาะปลูกไม่ค่อยได้ผลผลิต
4. ทวีปอเมริกาใต้เป็นแหล่งเลี ยงสัตว์ที่ส าคัญของโลก เนื่องจาก มีที่ราบกว้างขวางและมีทุ่งหญ้าที่อุดมสมบูรณ์

มีอากาศที่เหมาะสม

สัตว์เลี ยงที่ส าคัญ เช่น วัวเนื อ วัวนม แกะ
ประเทศที่เลี ยงมากที่สุด คือ บราซิล

5. แหล่งประมงที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้อยู่ที่ ชายฝั่งด้านตะวันตก ด้านมหาสมุทรแปซิฟิก

บริเวณประเทศ ตอนบนของประเทศบราซิล โคลอมเบีย เปรู และชิลี
ปลาที่จับได้มาก เช่น ปลาแอนโชวี่ ปลาซาร์ดีน ปลาแมกเคอเรล

6. อุปสรรคในการท าประมงของทวีปอเมริกาใต้ คือ เงินทุนและเทคโนโลยี

7. ประเทศ เปรู และชิลี เป็นผู้ส่งออกปลาป่น และน ามันปลารายใหญ่ที่สุดของโลก
8. พื นที่ป่าไม้ของทวีปอเมริกาใต้ลดลงอย่างรวดเร็วเป็นเพราะ ความต้องการเยื่อกระดาษและเฟอร์นิเจอร์

ในตลาดโลกเพิ่มสูงขึ น ท าให้มีการบุกรุกพื นที่ป่าไม้อย่างกว้างขวาง
9. แหล่งแร่ทองแดงที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกอยู่ที่ ประเทศชิลี

แหล่งแร่เหล็กส าคัญอยู่ที่ ประเทศบราซิล

10. เหมืองทองค ารายใหญ่ของโลกอยู่ที่ เปรู ชิลี บราซิล
11. ตลาดส่งออกแร่ที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น


12. แหล่งผลิตปิโตรเลียม และแกสธรรมชาติที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ เวเนซุเอลา โคลอมเบีย
13. ประเทศที่มีอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้ามากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ คือ บราซิล
อุตสาหกรรมส าคัญ เช่น อุตสาหกรรมเหล็กกล้า

เมืองอุตสาหกรรม คือ เซาเปาลู รีอูดีจาเนรู
14. ประเทศแถบชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีอุตสาหกรรมส าคัญ คือ

การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์จากสัตว์น า

15. แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั่วโลกในทวีปอเมริกาใต้ คือ น าตกเอนเจล
อยู่ในประเทศ เวเนซุเอลา

407

ใบงานที่ 5.2

เอกลักษณ์ของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนดูภาพ แล้วสรุปความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของประชากร

1. 2.

3. 4.

408

ใบงานที่ 5.2 เอกลักษณ์ของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนดูภาพ แล้วสรุปความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของประชากร

1. 2.

3. 4.

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

409

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง

เรื่อง ลักษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจของทวปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

ลักษณะทางกายภาพ ความเป็นอยู่ที่แตกต่างกัน และข้อจ ากัดทางด้านลักษณะภูมิประเทศท าให้เกิดการ

เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.2 ม.3/1 วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ และ
ทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการท างาน
3. มีความรับผิดชอบ

410

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนตอบค าถามเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ เพื่อเป็นการทบทวนความรู้ ดังนี

1) ปัญหาที่ส าคัญที่มีผลต่อการพฒนาเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ คืออะไร
2) ท าไมผลผลิตจากการท าป่าไม้ในทวีปอเมริกาใต้จึงมีน้อย
3) ท าไมทวีปอเมริกาใต้จึงมีการท าประมงในปริมาณน้อยทั งๆ ที่มีน่านน าใหญ่รอบทวีป
2. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ออกมาน าเสนอค าตอบในใบงานที่ 5.3 หน้าชั นเรียน ครู

ตรวจสอบความถูกต้องและให้ข้อเสนอแนะ
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ จาก
หนังสือเรียน
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ แล้วสรุปผลการ

อภิปรายเป็นหัวข้อสั นๆ
5. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลการอภิปรายหน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้องและให้
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
6. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคด


นักเรียนคิดว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวปอเมริกาใต้จะเป็นอย่างไร

(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
8. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าแบบฝึกกิจกรรมตามตัวชี วัด กิจกรรมที่ 3.9 จากแบบวัดฯ เป็นการบ้าน

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 5.3 ใบงานที่ 5.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตการใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และมีความรับผิดชอบ

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.3
3) ใบงานที่ 5.3 เรื่อง ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

8.2 แหล่งการเรียนรู้

411

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 36

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง
เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด


ทวีปอเมริกาใต้มการเปลี่ยนแปลงทั งทางด้านธรรมชาติและสังคม ส่งผลให้เกิดสิ่งแวดล้อมใหม่และเกิดปัญหา
ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.2 ม.3/1 วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ และทาง
สังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- วิเคราะห์การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริกาใต้อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
และสังคมได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
- ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการท างาน

412

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนดูภาพเขื่อนอิไตปูที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน าที่ใหญ่ที่สุดของทวีปอเมริกาใต้ แล้วให้นักเรียน
ช่วยกันวิเคราะห์ความส าคัญของเขื่อน

2. ครูให้นักเรียนช่วยกันระดมพลังสมองถึงผลดี ผลเสีย จากการสร้างเขื่อนอิไตปู จากนั นครูเขียนค าตอบของ
นักเรียนบนกระดาน พร้อมทั งให้ข้อเสนอแนะเพมเติม
ิ่
3. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ศึกษาความรู้เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

ในทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน
4. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด
เพราะเหตุใด ชาวอเมริกาใต้ยังมประเพณีเกี่ยวกับพิธีกรรมทางพราหมณ์


(เพราะชาวอเมริกาใต้ได้รับวัฒนธรรมมาจากชาวอินเดีย ซึ่งเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจ านวนมาก)
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาท าใบงานที่ 5.4 เรื่อง การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ ในทวีป
อเมริกาใต้
6. ตัวแทนของแต่ละกลุ่มผลัดกันออกมาน าเสนอค าตอบในใบงานที่ 5.4 หน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง

7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 5.4 ใบงานที่ 5.4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบบันทึกการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตการใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3

2) บัตรภาพ
3) ใบงานที่ 5.4 เรื่อง การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกาใต้
8.2 แหล่งการเรียนรู้

413

บัตรภาพ

ภาพเขื่อนอิไตปู

ี่
ทมา : http://i.kinja-img.com/gawker-media/image/upload/s--J0AKrVg6--/uhikgxqpm1cvfupdj8s4.jpg

414