ใบงานที่ 1.5 การเปรียบเทียบศักราชแบบ ต่างๆ เฉลย

แผนการจัดการเรยนร ู้


วิช าปร ะวัตศาสต ร์ มั ธ ยมศกษาปที 1




ภา ค เรียนที 1 ป ก าร ศกษา


256 5
เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร ส อ บ ภ า ค ค . คว า ม เ ห ม า ะ ส ม กั บ ตําแ ห น่ ง
วิ ช าช พ แ ละ ก า ร ป ฏิ บั ติ ใ น ง าน ส ถ า น ศ ก ษ า

น า ย ธ น ช ต ถม ภิร ม ย ์


วิช าเอกสงคมศกษา

เ ล ขปร ะจําตว สอบ 2 1 2000 10 1


สานกงานศกษาธการจังหวัดนครราชสมา



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับ
ปรับปรุง 2560 ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้เป็น

กรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา


ผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดให้ พร้อม
ทั้งดำเนินการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักการของหลักสูตร เพื่อให้เกิดผลสำเร็จตาม
เจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาไทย ดังนั้นขั้นตอนการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของครูผู้สอน

จึงจัดเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร

โดยการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ใช้เป็นแนวทางวางแผน

จัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็น หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น

กระบวนการคิดและการประกันคุณภาพผู้เรียน

ผู้จัดทำได้ดำเนินการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบที่สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.)

กำหนดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานต่อไป

นายธนชิต ถมภิรมย ์

สารบัญ

เรื่อง หน้า

คำอธิบายรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา วิชาประวัติศาสตร์ ม.1
โครงสร้างแผนฯ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1

แผนการจัดการเรียรู้ หน่วยที่ 1
เรื่อง ที่มาของศักราชและการเปรียบเทียบศักราช แบบต่างๆ
ภาคผนวก

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา ประวัติศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีท 1 เวลา 40 ชั่วโมง/ปี
ี่

ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย ที่ตั้ง
และสภาพภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศต่างๆ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความร่วมมือผ่านการรวมกลุ่มเป็นอาเซียนที่ถือว่าเป็นพัฒนาการของภูมิภาค
ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ
ในดินแดนไทยที่มีพัฒนาการของสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวน การ
เรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการแก้ปัญหา และวิธีการทางประวัติศาสตร์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจถึงความสำคัญของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย พัฒนาการด้านต่างๆ
วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ

ตัวชี้วัด
ส 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ส 4.2 ม.1/1 ม.1/2
ส 4.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3

รวม 8 ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา วิชาประวัติศาสตร์ ม.1

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน

1 เวลาและการแบ่ง ส 4.1 ม.1/1 เวลา ช่วงเวลา และการเทียบศักราชตาม 6
ยุคสมัยทาง ม.1/2 ระบบต่างๆ มีความสำคัญต่อ

ประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์ ทำให้เห็น
ความสัมพันธ์ และความสำคัญของอดีตที่
มีต่อปัจจุบันและอนาคต

2 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ส 4.1 ม.1/3 การนำวิธีการทางประวัติศาสตร์ 7

มาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
และประวัติศาสตร์สุโขทัย
จะทำให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

3 สมัยก่อนสุโขทัย ส 4.3 ม.1/1 การศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ 7
ในดินแดนไทย สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย
จะทำให้เราเข้าใจพัฒนาการจาก
ชุมชนโบราณมาสู่รัฐโบราณ ก่อนที่
จะสถาปนาเป็นอาณาจักรสุโขทัย

และการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของ
อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย

4 พัฒนาการของ ส 4.3 ม.1/2 พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย 8

อาณาจักรสุโขทัย ม.1/3 ในด้านต่างๆ เกิดจากปัจจัยสำคัญที่มี
อิทธิพลต่อพัฒนาการของอาณาจักร
หลายประการ และมีวัฒนธรรมและ

ภูมิปัญญาที่ส่งผลต่อสังคมไทย
ในปัจจุบัน

ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน

5 พัฒนาการของ ส 4.2 ม.1/1 พัฒนาการของประเทศต่างๆ 7
ภูมิภาคเอเชีย ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยงใต้

ตะวันออกเฉียงใต้ มีปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อพฒนาการใน

แต่ละสมัย ซึ่งนอกจากนั้นยังมี

ความร่วมมือกันในภูมิภาค ก่อให้เกิด
ความเข็มแข็งและความเจริญรุ่งเรืองเช่น
ในปัจจุบัน

6 แหล่งอารยธรรม ส 4.2 ม.1/2 แหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย 5
ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีอิทธิพลต่อพัฒนาการ
ตะวันออกเฉียงใต้ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ

สังคมไทยในปัจจุบัน

โครงสร้างแผน วิชาประวัติศาสตร์ ม.1

เวลา 40 ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัด วิธีสอน/กระบวนการจัดการ ทักษะการคิด เวลา
การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโมง)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 1. ความสำคัญของ - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
เวลาและการแบ่ง เวลาและช่วงเวลา (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
ยุคสมัยทาง 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

ประวัติศาสตร 4. ทักษะการสร้างความรู้
2. การแบ่งยุคสมัย - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ทางประวัติศาสตร์ สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

3. ตัวอย่างการใช้เวลา - วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ช่วงเวลา ยุคสมัย 2. ทักษะการวิเคราะห์
และศักราชใน 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น
หลักฐานทาง 4. ทักษะการสร้างความรู้
ประวัติศาสตร์
4. ที่มาของศักราช - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการสร้างความรู้

5. การเปรียบเทียบ - วิธีสอนตามรูปแบบโมเดล 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 2
ศักราชแบบต่างๆ ซิปปา (CIPPA Model) 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการสรุปลงความเห็น
4. ทักษะการสร้างความรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 1. ความหมายและ - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 2
วิธีการทาง ความสำคัญของ สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ประวัติศาสตร ์ ประวัติศาสตร์ 3. ทักษะการให้คำจำกัดความ

2. วิธีการทาง - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ประวัติศาสตร์ (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการให้คำจำกัดความ

3. หลักฐานทาง - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ประวัติศาสตร์ไทย แบบร่วมมือ : เทคนิค 2. ทักษะการวิเคราะห์
คู่คิดสี่สหาย 3. ทักษะการสร้างความรู้

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัด วิธีสอน/กระบวนการจัดการ ทักษะการคิด เวลา
การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโมง)

4. การศึกษาประวัติ- - วิธีสอนโดยใช้วิธีการทาง 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ศาสตร์ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการตั้งสมมติฐาน
4. ทักษะการสร้างความรู้
5. เหตุการณ์สำคัญ - วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 2
ในสมัยสุโขทัย กระบวนการเรียนความรู้ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ความเข้าใจ 3. ทักษะการตั้งสมมติฐาน
4. ทักษะการสร้างความรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 1. เรื่องราวสมัยก่อน - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
สมัยก่อนสุโขทัย ประวัติศาสตร์ (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
ในดินแดนไทย ในดินแดนไทย 3. ทักษะการตีความ
4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2. พัฒนาการของชุมชน - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
โบราณในภาคต่างๆ แบบร่วมมือ : เทคนิค 2. ทักษะการวิเคราะห์
ของไทย การต่อเรื่องราว (Jigsaw) 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

3. การสร้างสรรค์ - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ภูมิปัญญาของมนุษย์ แบบร่วมมือ : เทคนิค 2. ทักษะการวิเคราะห์
ก่อนประวัติศาสตร์ใน คู่คิดสี่สหาย 3. ทักษะการตีความ
ดินแดนประเทศไทย

4. พัฒนาการจากชุมชน - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
มาสู่รัฐโบราณ (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการตีความ
4. ทักษะการสรุปลงความเห็น
5. รัฐโบราณและรัฐไทย - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 2
ในดินแดนไทย (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการตีความ
4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

6. การสร้างสรรค์ - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ภูมิปัญญาของ สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
อาณาจักรโบราณ 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น
ก่อนสมัยสุโขทัย

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัด วิธีสอน/กระบวนการจัดการ ทักษะการคิด เวลา
การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโมง)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 1. การสถาปนา - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
พัฒนาการของ อาณาจักรสุโขทัย (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
อาณาจักรสุโขทัย 3. ทักษะการสังเคราะห์
2. พัฒนาการทาง - วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ด้านการเมืองการ กระบวนการเรียนความรู้ ความ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ปกครองสมัยสุโขทัย เข้าใจ 3. ทักษะการสังเคราะห์
3. พัฒนาการทาง - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ด้านเศรษฐกิจ แบบร่วมมือ : เทคนิค 2. ทักษะการวิเคราะห์
สมัยสุโขทัย คู่คิดสี่สหาย 3. ทักษะการสังเคราะห์

4. พัฒนาการทาง - วิธีสอนตามรูปแบบโมเดล 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 2
ด้านสังคมและ ซิปปา (CIPPA Model) 2. ทักษะการวิเคราะห์
ศิลปวัฒนธรรม 3. ทักษะการสังเคราะห์
สมัยสุโขทัย
5. พัฒนาการทาง - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ด้านความสัมพันธ ์ สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ระหว่างประเทศ 3. ทักษะการสังเคราะห์
สมัยสุโขทัย

6. การสร้างสรรค์ - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ภูมิปัญญาในสมัย สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
สุโขทัย 3. ทักษะการสังเคราะห์
4. ทักษะการให้เหตุผล
7. ความเสื่อมอำนาจ - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ของอาณาจักรสุโขทัย (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการสังเคราะห์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1. ที่ตั้งและสภาพทาง - วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 2
พัฒนาการของ ภูมิศาสตร์ กระบวนการกลุ่ม 2. ทักษะการวิเคราะห์
ภูมิภาคเอเชียตะวันออก 3. ทักษะการตีความ
เฉียงใต ้ 4. ทักษะการสรุปลงความเห็น
2. พัฒนาการในสมัย - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
โบราณของภูมิภาค (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
เอเชียตะวันออก- 3. ทักษะการคิดอย่างมี
เฉียงใต้ วิจารณญาณ

4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัด วิธีสอน/กระบวนการจัดการ ทักษะการคิด เวลา
การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโมง)

3. พัฒนาการในสมัยใหม่ - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ของภูมิภาคเอเชีย สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ตะวันออกเฉียงใต้ 3. ทักษะการสังเคราะห์
4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

4. พัฒนาการใน - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
สมัยปัจจุบันของ สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ภูมิภาคเอเชีย 3. ทักษะการสังเคราะห์
ตะวันออกเฉียงใต้ 4. ทักษะการสรุปลงความเห็น
5. ความร่วมมือของ - วิธีสอนตามรูปแบบโมเดล 1. ทักษะการวิเคราะห์ 2
ประเทศในภูมิภาค ซิปปา (CIPPA Model) 2. ทักษะการคิดอย่างมี
เอเชียตะวันออก- วิจารณญาณ
เฉียงใต้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 1. แหล่งอารยธรรม - วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
แหล่งอารยธรรม ในภูมิภาคเอเชีย (Inquiry Method : 5E) 2. ทักษะการวิเคราะห์
ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ 3. ทักษะการสังเคราะห์
ตะวันออกเฉียงใต ้ 4. ทักษะการสรุปลงความเห็น
2. แหล่งมรดกโลก - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
ในภูมิภาคเอเชีย สัมพันธ ์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ตะวันออกเฉียงใต้ (1) 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

3. แหล่งมรดกโลก - วิธีสอนโดยใช้วิธีการทาง 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 2
ในภูมิภาคเอเชีย ประวัติศาสตร์ 2. ทักษะการวิเคราะห์
ตะวันออกเฉียงใต้ (2) 3. ทักษะการสังเคราะห์
4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

4. อิทธิพลของ - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ 1. ทักษะการสำรวจค้นหา 1
อารยธรรมโบราณ แบบร่วมมือ : เทคนิค 2. ทักษะการวิเคราะห์
ในดินแดนไทย คู่คิดสี่สหาย 3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

แผนการจัดการเรียรู้ วิชาประวัติศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

แผนการจัดการเรียรู้ที่ 1 เรื่อง ทมาของศักราชและการเปรียบเทียบศักราช แบบต่างๆ
ี่
ี่
ชั้นมัธยมศึกษาปีท 1 เวลา 1 ชั่วโมง

1 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การศึกษาที่มาและการใช้ศักราชตามระบบต่างๆ ที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ย่อมทำให้เกิดความเข้าใจ
เหตุการณ์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง

2 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 4.1 ม.1/2 เทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

- บอกที่มาของศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทยได้
- นับและเปรียบเทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ในการบันทึกประวัติศาสตร์ไทยได้

3 สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ที่มาของศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่ จ.ศ./ม.ศ./ร.ศ./พ.ศ./ค.ศ. และ ฮ.ศ.
- วิธีการเทียบศักราชต่างๆ และตัวอย่างการเทียบ

4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการสำรวจค้นหา

2) ทักษะการวิเคราะห์
3) ทักษะการสร้างความรู้
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน

6 กิจกรรมการเรียนรู้

วิธีสอนแบบ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์

ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน
สื่อการเรียนรู้ : บัตรภาพ คำถามกระตุ้นความคิด

1. ครูนำบัตรคำของศักราชระบบต่างๆ มาให้นักเรียนดู แล้วให้  นักเรียนทราบหรือรู้จัก การนับศักราชที่

นักเรียนช่วยกันบอกคำเต็ม โดยครูเป็นผู้ตรวจสอบความ นิยมใช้ในปัจจุบัน หรือเคยใชในอดีตทืผ่าน
ถูกต้อง มา มีแบบใดบ้าง
2. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ คำถามกระตุ้นความคิด

1. สื่อการเรียนรู้เรื่องศักราช  เพราะเหตุใด บางประเทศจึงใช้ศักราชท ี่
2. หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ม.1 แตกต่างกัน
3. หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม สารสนเทศ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้

4. ใบงานที่ 1.1 ,ใบงานที่ 1.2 อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
5. ห้องสมุด
6. แหล่งข้อมูล

1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตาม

ความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง
ค่อนข้างออน และออน


2. ครูอธิบายความรู้เรื่อง ที่มาของศักราช ให้นักเรียนฟัง เพื่อให้
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น

3. นักเรียน ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ที่มาของศักราชระบบ
ต่างๆ และคาวมรู้เเรื่อง การเปรียบเทียบศักราช ในประเด็น

ที่กำหนดให้ ดังนี้
- การเปรียบเทียบศักราชระหว่าง ค.ศ. และ พ.ศ.
- การเปรียบเทียบศักราชระหว่าง พ.ศ. และ ร.ศ.
- การเปรียบเทียบศักราชระหว่าง ม.ศ. และ พ.ศ.

- การเปรียบเทียบศักราชระหว่าง จ.ศ. และ พ.ศ.
- การเปรียบเทียบศักราชระหว่าง ฮ.ศ. และ พ.ศ.
แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึก

4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายความรู้ที่ได้จากการศกษา


ผลัดกันซักถามขอสงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจ
ชัดเจนตรงกัน
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทำ ใบงานที่ 1.1 / ใบงานที่ 1.2
6. ครูเฉลยคำตอบในใบงานที่ สมาชิกแต่ละกลุ่มตรวจสอบ

ความถูกต้อง

7. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด

ขั้นที่ 3 สรุปและนำหลักการไปประยุกต์ใช้

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ คำถามกระตุ้นความคิด

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ที่มาของศักราช  นักเรียนคิดว่า ศักราชใดที่ไม่นิยม
และการเปรียบเทีบยศักราชระบบต่างๆ นำมาใช้มากที่สุด อธิบายเหตุผล
2. ครูแนะนำให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการศกษาไป (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้

ประยุกต์ใช้ในการศกษาประวัติศาสตร์ต่อไป อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

3. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
ขั้นที่ 4 วัดและประเมินผล

สื่อการเรียนรู้ :

1. แบบวัดฯ
2. ใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.2

ครูวัดและประเมินผลนักเรียนจากการทำใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.2 และกิจกรรมฝึกทักษะ : กิจกรรมที่ 1 จากแบบวัดฯ

7 การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ์
ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2


สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคณภาพ 2 ผ่าน
เกณฑ์


สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคณภาพ 2 ผ่าน
ทำงาน เกณฑ์

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) สื่อการเรียรู้ เรื่องการนักศักราช
2) หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.1
3) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม


- วินัย พงศ์ศรีเพียร. 2544. วนวาร กาลเวลา แลนานาศักราช. กรุงเทพมหานคร :
กระทรวงศึกษาธิการ.
4) บัตรคำ
5) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ที่มาของศักราช และใบงานที่ 1.5 เรื่อง การเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ

8.2 แหล่งการเรียนรู้

1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

- http://th.wikipedia.org/wiki/ศักราช
- http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ศักราช

แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม

ชื่อกลุ่ม ชั้น

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่อง

ที่ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1

1 การแบ่งหน้าที่กันอย่างเหมาะสม

2 ความร่วมมือกันทำงาน
3 การแสดงความคิดเห็น

4 การรับฟังความคิดเห็น
5 ความมีน้ำใจช่วยเหลือกัน

รวม

ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน

................ /................ /................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน 14 - 17 ดี
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน 10 - 13 พอใช ้
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง

แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่อง
ที่ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1

1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย
กษัตริย์ ความหมายของ เพลงชาติ

1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน


1.3 ให้ความร่วมมอ ร่วมใจ ในการทำงานกับสมาชิกในชั้นเรียน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์

ต่อโรงเรียนและชุมชน
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของ

ศาสนา
1.6 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียน

และชุมชนจัดขึ้น
2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถกต้อง และเป็นจริง

2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทำความผิด ทำ
ตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพอน พ่อแม่หรือผู้ปกครอง และครู
ื่
2.3 ปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง

3. มีวินัย 3.1 ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว

รับผิดชอบ และโรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
ในชีวิตประจำวัน

4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ

4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ

4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล
5. อยู่อย่าง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด

พอเพียง คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม
5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแล
อย่างดี

5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล

คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อ

ผู้อื่นกระทำผิดพลาด

5.5 วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันบนพื้นฐาน
ของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับ

และปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
6. มุ่งมั่นในการ 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย

ทำงาน 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ

7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน

8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ และแบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่น

8.3 รู้จักดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน
โรงเรียน ชุมชน
ื่
8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพอสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน

................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน 191 - 108 ดีมาก
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน 73 - 90 ดี

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน 54 - 72 พอใช ้
ต่ำกว่า 54 ปรับปรุง

บันทึกหลังแผนการสอน

 ด้านความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์


 ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถามี))

 ปัญหา/อุปสรรค

 แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ
( )
ตำแหน่ง

ภาคผนวก

บัตรค ำ

พ.ศ. ค.ศ.

ม.ศ. ร.ศ.

จ.ศ. ฮ.ศ.

บัตรค ำ

พุทธศักราช 

คริสต์ศักราช

ฮิจเราะห์ศักราช

มหาศักราช

จุลศักราช

รัตนโกสินทร์ศก

ใบงานที่ 1.1

ที่มาของศักราช

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1. การนับศักราชที่ 1 ของแต่ละศักราชเริ่มนับเมื่อใดบ้าง

- พุทธศักราช เริ่มนับจากปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน
- คริสต์ศักราช เริ่มนับจากปีประสูติของพระเยซู

- ฮิจเราะห์ศักราช เริ่มนับจากปีที่นบีมูฮัมมัดอพยพจากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินะ
- มหาศักราช เริ่มนับจากปีที่พระเจ้ากนิษกะแห่งราชวงศ์กุษาณะทรงตั้งขึ้น

- จุลศักราช เริ่มนับจากปีทโปปะสอระหันกษัตริย์พม่าขึ้นครองแผ่นดิน
ี่
- รัตนโกสินทร์ศก เริ่มนับจากปีทรัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
ี่

2. ศักราชใดบ้างที่ยังคงนิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน

พุทธศักราช คริสต์ศักราช และฮิจเราะห์ศักราช

3. ประเทศไทยใช้ศักราชใดบ้างในการบันทึกประวัติศาสตร์
มหาศักราช จุลศักราช และพุทธศักราช

4. เพราะเหตุใด การนับศักราชจึงมีความแตกต่างกันในบางประเทศ

เพราะฮิจเราะห์ศักราช เป็นศักราชทางศาสนาอิสลามใช้ดวงจันทร์ในการกำหนดเวลา ทำให้ 1 ปี มี 354 วัน

ต่างจากคริสต์ศักราชที่มี 365 ¼ วัน

5. ศักราชมีความสำคัญอย่างไรในการศึกษาประวัติศาสตร์

ศักราช ช่วยบอกเวลาในการเกิดเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ให้ชัดเจนขึ้น ทำให้เราทราบว่า เหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์ต่างๆ นั้น เกิดขึ้นเมื่อใดหรือในช่วงเวลาใด

ใบงานที่
1.1
ที่มาของศักราช

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1. การนับศักราชที่ 1 ของแต่ละศักราชเริ่มนับเมื่อใดบ้าง

- พุทธศักราช เริ่มนับจากปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี
- คริสต์ศักราช เริ่มนับจากปีประสูติของพระเยซู

- ฮิจเราะห์ศักราช เริ่มนับจากปีที่นบีมูฮัมมัดอพยพจากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินะ
- มหาศักราช เริ่มนับจากปีที่พระเจ้ากนิษกะ แห่งราชวงศ์กุษาณะทรงตั้งขึ้น

ี่

- จุลศักราช เริ่มนับจากปีทโปปะสอระหัน กษตริย์พม่าขึ้นครองแผ่นดิน
- รัตนโกสินทร์ศก เริ่มนับจากปีทรัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
ี่

2. ศักราชใดบ้างที่ยังคงนิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน

พุทธศักราช คริสต์ศักราช และฮิจเราะห์ศักราช

3. ประเทศไทยใช้ศักราชใดบ้างในการบันทึกประวัติศาสตร์
มหาศักราช จุลศักราช และพุทธศักราช

4. เพราะเหตุใด การนับศักราชจึงมีความแตกต่างกันในบางประเทศ

เพราะขึ้นอยู่กับการนับถือศาสนาและนโยบายทางการเมืองของรัฐบาลของแต่ละประเทศ

5. ศักราชมีความสำคัญอย่างไรในการศึกษาประวัติศาสตร์

ศักราช ช่วยบอกเวลาในการเกิดเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ให้ชัดเจนขึ้น ทำให้เราทราบว่า เหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์ต่างๆ นั้น เกิดขึ้นเมื่อใดหรือในช่วงเวลาใด

ใบงานที่ 1.1

การเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. พ่อขุนรามคำแหง ทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใน ปี มหาศักราช ๑๒๐๕ ตรง กับ ปีพุทธศักราชใด

2. ขุนเดชเข้าทำงานเป็นเจ้าหน้าที่อนุรักษ์โบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยเมื่อ 20 เมษายน ร.ศ.

127 แสดงว่า ขุนเดชทำงานเป็นเจ้าหน้าที่อนุรักษ์โบราณสถานในอทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยในปี พ.ศ. ใด

พ.ศ. 245

3. “ศุภมัศดุ จุลศักราช 1236 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินในรัชกาล ที่ 5
ทรงพระราชดำริว่าได้ทรงประกาศตั้งเคาน์ซิลลอร์ออฟสเตด ที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ไว้แต่วันศุกร์ เดือนหก

ื่
แรมแปดคำ ปีจอศก เพอจะได้ช่วยคิดราชการแผ่นดิน” พระราชบัญญัติดังกล่าวประกาศใน พ.ศ. ใด
พ.ศ. 2417 รุงศรีอยุ

4. ถ้านักเรียนนับถือศาสนาอิสลาม แล้วสำนักจุฬาราชมนตรีประกาศวันออกบวชของชาวมุสลิม ให้ตรงกับวันที่
30 สิงหาคม พ.ศ. 2555 จะตรงกับฮิจเราะห์ศักราชใด

ฮ.ศ. 1433 กรุงศรีอยุ

5. “๑๒๐๕ ศก ปีมะแม พอขุนรามคำแหงหาใครใจในใจ แลใส่ลายสือไทยนี้” แสดงให้เห็นว่า พ่อขุนรามคำแหง

มหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใน พ.ศ. ใด และตรงกับ จ.ศ. ใด

พ.ศ. 1826 และตรงกับ จ.ศ. 645กรุงศรีอยุ

บทสรุป

การเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ มีความสำคัญต่อการศกษาประวัติศาสตร์อย่างไรบ้าง

ใบงานที่ 1.2

การเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. พ่อขุนรามคำแหง ทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใน ปี มหาศักราช ๑๒๐๕ ตรง กับ ปีพุทธศักราชใด

พุทธศักราช ๑๘๒๖

๒. สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำ ยุทธหัตถีกับสมเด็จพระมหาอุปราชา แห่งกรุงหงสาวดี ในปีมหาศักราช
๑๕๑๔ ตรงกับปีคริสต์ศักราชใด
คริสต์ศักราช ๑๕๙๒

๓. กรุงศรีอยุธยาเสียเอกราชครั้งที่ ๒ ใน ปี พุทธศักราช ๒๓๑๐ ตรงกับ ปีฮิจเราะห์ศักราชใด

ฮิจเราะห์ศักราช ๑๑๘๘

๔. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนา กรุงธนบุรีเป็นราชธานี ในปีจุลศักราชใด

จุลศักราช ๑๑๒๙

5. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเสด็จไปทอดพระเนตร ปรากฏการณ์ สุริยุปราคา ณ บ้านหว้ากอ

จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ในรัตนโกสินทร์ศก ๘๗ ตรงกับ ปีคริสต์ศักราชใด
คริสต์ศักราช ๑๘๖๘

บทสรุป


การเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ มีความสำคัญต่อการศกษาประวัติศาสตร์อย่างไรบ้าง

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)