ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม

ใบงานหน่วยที่ 1 การตั้งประเด็นปัญหา
IS01 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
 ID: 3089924
Language: Thai
School subject: IS
Grade/level: ม.5
Age: 16-18
Main content: การตั้งประเด็นปัญหา
Other contents: Worksheet

ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
 Add to my workbooks (2)
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
 Embed in my website or blog
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
 Add to Google Classroom
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
 Add to Microsoft Teams
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม

Koonnoona


ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม

What do you want to do?

ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
ใบงานที่ 1 เรื่อง การตั้งประเด็นปัญหาหรือตั้ง คํา ถาม
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม from Ploykarn Lamdual

คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนช่วยกนั คิดระดมพลังสมองตัง้ คาถาม/ขอ้ สงสยั และระบปุ ระเดน็ ปัญหาทีก่ ลมุ่ ตนเองสนใจ

ท่ี คาถาม/ข้อสงสัย ประเด็นปัญหา

1 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

2 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

3 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

4 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

5 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

6 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

7 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

8 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

9 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

10 …………………………………………………….. ……………………………………………………..
…………………………………………………… ……………………………………………………

ชอื่ ………………………...…………………………ชน้ั ………….เลขท…ี่ ………..

15

ใบความร้ทู ่ี 2
เรื่อง การต้ังสมมติฐาน

1. สมมติฐาน หมายถึง ความเช่ือของบุคคลใดบุคคลหน่ึง หรือ ของกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงหรืออาจกล่าวได้
ว่า สมมติฐานเปน็ สง่ิ ทบ่ี ุคคลหรอื กล่มุ บุคคลคาดว่าจะเกิดขึ้นโดยท่ีความเช่ือหรือส่ิงท่ีคาดนั้นจะเป็นจริงหรือไม่
กไ็ ด้ เชน่

- เจ้าของร้านค้าปลกี คาดวา่ จะมีกาไรสุทธิจากการขายสินคา้ ต่อปไี ม่ต่ากวา่ 500,000 บาท
- หัวหน้าพรรคการเมือง A …..คาดว่าการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในคราวหน้า
พรรคอนื่ ๆ จะไดท้ นี่ ง่ั ในสภาตา่ กว่า 50% ของทัง้ หมด
- คาดว่ารายไดเ้ ฉลีย่ ตอ่ เดอื นของประชากรในจังหวัดพิษณุโลกเทา่ กับ 15,000 บาท
2. ความแตกตา่ งของสมมติฐานกบั การพยากรณ์
การต้ังสมมติฐาน คือ การทานายผลล่วงหน้าโดยไม่มีหรือไม่ทราบ ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องระหว่าง
ข้อมลู
การพยากรณ์ คือ การทานายผลล่วงหน้าโดยการมีหรือทราบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เก่ียวข้อง
ในการทานายลว่ งหน้า
3. หลักการต้งั สมมตุ ิฐาน
1) สมมตฐิ านต้องเปน็ ข้อความทีบ่ อกความสัมพันธ์ระหวา่ ง ตวั แปรตน้ กับ ตัวแปรตาม
2) ในสถานการณ์หน่ึง ๆ อาจต้ังหนึ่งสมมติฐานหรือหลายสมมติฐานก็ได้ สมมติฐานท่ีต้ังข้ึน
อาจจะถูกหรือผิดก็ได้ ดังนั้นจาเป็นต้องมีการทดลองเพ่ือตรวจสอบว่า สมมติฐานที่ตั้งข้ึนนั้นเป็นท่ียอมรับ
หรือไม่ซ่งึ จะทราบภายหลงั จากการทดลองหาคาตอบแล้วตวั อยา่ งการตัง้ สมมติฐาน
อะไรมผี ลต่อความเร็วรถ (ความเรว็ รถขึ้นอย่กู บั ปัจจัยอะไรบา้ ง)
สมมติว่า นักเรียนเลือกขนาดของยางรถยนต์ เป็นตัวแปรที่ต้องการทดสอบ ก็อาจ
ตัง้ สมมติฐานไดว้ ่าเมอ่ื ขนาดของยางรถยนต์ใหญ่ขน้ึ ความเร็วของรถยนตจ์ ะลดลง
(ตวั แปรตน้ : ขนาดของยางรถยนต)์ (ตัวแปรตาม : ความเร็วของรถยนต์)
4. การตง้ั สมมติฐานท่ดี ี ควรมีลกั ษณะดงั นี้
1) เปน็ สมมติฐานทเ่ี ขา้ ใจง่าย มักนิยมใชว้ ลี “ถ้า…ดงั น้ัน”
2) เปน็ สมมตฐิ านทแี่ นะลทู่ างท่จี ะตรวจสอบได้
3) เป็นสมมตฐิ านทตี่ รวจไดโ้ ดยการทดลอง
4) เป็นสมมตฐิ านทสี่ อดคลอ้ งและอยู่ในขอบเขตข้อเทจ็ จริงที่ได้จากการสังเกตและสัมพันธ์กับ
ปญั หาทตี่ งั้ ไว้
สมมตฐิ านทเ่ี คยยอมรบั อาจล้มเลิกไดถ้ ้ามีข้อมลู จากการทดลองใหม่ๆ มาลบล้าง แต่ก็มีบางสมมติฐาน
ที่ไมม่ ีข้อมลู จากการทดลองมาคดั คา้ นทาใหส้ มมติฐานเหล่านั้นเปน็ ท่ี
ยอมรับว่าถูกต้อง เช่น สมมติฐานของเมนเดลเกี่ยวกับหน่วยกรรมพันธ์ุ ซึ่งเปลี่ยนกฎการแยกตัวของยีน หรือ
สมมตฐิ านของอโวกาโดรซ่ึงเปล่ียนเปน็ กฎของอโวกาโดร

16

ตัวอยา่ งการต้ังสมมติฐาน

ขอ้ สงสัย/ขอ้ สังเกต/ปญั หา “ทาไมหญ้าบรเิ วณใตต้ ้นไม้จงึ ไมง่ อกงามเท่าหญา้ ท่ีอยู่กลางแจ้ง”
ประเดน็ ปัญหา “แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้า
หรือไม”่
สมมติฐาน “ถ้าแสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้า
ดงั น้ัน
ต้นหญา้ บรเิ วณทีไ่ ม่ไดร้ ับแสงแดดจะไม่งอกงามหรือตายไป”
หรอื “ถ้าแสงแดดมีส่วนเก่ียวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้า
ดงั นน้ั
ต้นหญา้ บรเิ วณท่ไี ด้รับแสงแดดจะเจริญงอกงาม”

ข้อสงสัย/ข้อสงั เกต/ปญั หา “ความเรว็ รถข้นึ อยูก่ บั ปจั จยั อะไรบ้าง”

ประเดน็ ปญั หา “ขนาดของยางรถยนตม์ ีผลตอ่ ความเร็วของรถยนต์หรือไม่”

สมมตฐิ าน “เม่ือขนาดของยางรถยนต์ใหญข่ นึ้ ความเรว็ ของรถยนต์จะลดลง”

ขอ้ สงสัย/ขอ้ สังเกต/ปัญหา “นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/…..ชอบอา่ นหนงั สอื ประเภทใด”

ประเด็นปญั หา “ศึกษาพฤตกิ รรมการเลือกอ่านหนังสือของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ...”

สมมตฐิ าน “ถ้านกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ……. มนี ิสัยชอบเพ้อฝนั ดังน้นั นกั เรยี น

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี…..ชอบอ่านหนงั สอื นวนิยาย”

(การวจิ ัยเชงิ สารวจไม่ต้องตง้ั สมมติฐานก็ได้)

17

ใบงานที่ 7
เรือ่ ง การต้งั สมมติฐาน

คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามลงในชอ่ งว่างใหไ้ ด้ใจความถกู ต้องสมบรู ณ์

1. สมมตฐิ าน
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................

2. การตั้งสมมติฐาน คือ
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................

3. การพยากรณ์ คือ
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................

4. บอกหลักในการต้ังสมมติฐาน
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................

5. บอกลกั ษณะการตัง้ สมมตฐิ านทด่ี ี
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………........................................................

ช่อื ………………………...…………………………ช้นั ………….เลขท…ี่ ………..

18

ใบงานที่ 8
เร่ือง การฝกึ ตั้งสมมติฐาน

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นต้ังสมมติฐานตามประเด็นปญั หาท่ีกาหนดให้ ดงั น้ี

ท่ี ประเด็นปญั หา สมมติฐาน

ตวั วธิ กี ารเลยี้ งดขู องผู้ปกครองมีผลต่อ วิธีการเล้ยี งดขู องผู้ปกครองมผี ลต่อพฤติกรรมการ

อย่าง พฤติกรรมการก้าวร้าวของเดก็ กา้ วร้าวของเด็ก

1 การสารวจพฤติกรรมการใชผ้ งชูรสในการ ……………………………………………………………………………
ประกอบอาหารของแม่คา้ โรงเรยี น…. ……………………………………………………………………………

2 การสารวจพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพทข์ อง ……………………………………………………………………………
นกั เรียน ……………………………………………………………………………

3 ผลกระทบท่เี กิดจากการท่ีไม่ได้อยูอ่ าศัยกับ ……………………………………………………………………………
บิดา-มารดาของนักเรียน ……………………………………………………………………………

4 การสกดั สีจากวสั ดธุ รรมชาติเพ่ือนามาใช้ ……………………………………………………………………………
แทนสนี า้ ……………………………………………………………………………

5 การศกึ ษาสมุนไพรที่มีผลตอ่ การดับกลน่ิ เท้า ……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………

6 สารวจพฤติกรรมเกย่ี วกับการบรโิ ภค ……………………………………………………………………………
เครือ่ งดื่มของนกั เรยี น ……………………………………………………………………………

7 ผลกระทบที่เกดิ จากสภาวะน้ามนั แพง ……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………

8 การสารวจการเลน่ เกมออนไลน์ของนักเรียน ……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………

9 การสารวจการประหยดั พลงั งานไฟฟ้าของ ……………………………………………………………………………
นกั เรยี น ……………………………………………………………………………

10 การศกึ ษาผลการจัดทาบญั ชีครวั เรอื นของ ……………………………………………………………………………
ครอบครัว ……………………………………………………………………………

ช่อื ………………………...…………………………ชนั้ ………….เลขท…่ี ………..

19

ใบความร้ทู ี่ 3
เรื่อง ประเดน็ ปัญหาและสมมติฐาน

การตง้ั ประเดน็ ปัญหา

การวจิ ยั เป็นการหาคาตอบทอี่ ยากรู้ ทสี่ งสัย ท่ีเป็นปัญหาข้องใจ แต่คาตอบนั้นต้องเช่ือถือได้ ไม่ใช่

การคาดเดา หรือคิดสรุปไปเองโดยใช้ความรู้สึก วิธีการหาคาตอบจึงต้องเป็นกระบวนการ ข้ันตอนอย่างเป็น

ระบบ ตัวอย่าง เช่น

- ถ้าต้องการทราบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/…..โรงเรียนลือคาหาญวารินชาราบ ชอบ
อ่านหนังสอื ประเภทใด

จะคาดเดาเองหรอื ไปสอบถามนักเรียนเพียงหนึง่ คน สองคน แลว้ มาสรุปว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่

2/…..โรงเรียนลือคาหาญวารินชาราบ ชอบอา่ นหนังสอื ประเภทน้นั ประเภทนไ้ี มไ่ ด้

แต่ต้องทาแบบสอบถามให้นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/…..โรงเรียนลือคาหาญวารินชาราบ เป็น

ผู้ตอบแล้วนามาสรุปคาตอบข้อคน้ พบท่ไี ด้ เป็นตน้

ผลท่ีได้จากการทาวจิ ัย นอกจากจะได้คาตอบท่ีต้องการแล้ว ผู้วิจัยเองก็ได้ประโยชน์จาก

การทาวิจัย คือ การเป็นคนช่างคิด ช่างสังเกต ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และเขียนเรียบเรียง อย่างเป็นระบบ

นอกจากน้นั การวจิ ยั จะเกดิ ประโยชนใ์ นภาพรวม ดังนี้

1. การวจิ ยั ทาให้เกิดความรู้ทางวชิ าการใหม่ๆ

2. การวจิ ยั ทาให้เกิดนวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ แนวคดิ ใหมๆ่

3. การวิจัยช่วยตอบคาถามทอ่ี ยากรู้ ใหเ้ ขา้ ใจปัญหา และชว่ ยในการแก้ปญั หา

4. การวิจยั ชว่ ยในการวางแผนและตดั สนิ ใจ

5. การวจิ ยั ช่วยใหท้ ราบผลและขอ้ บกพร่องจากการดาเนินงาน

การค้นหาความรู้ ความจรงิ และตรวจสอบความถูกตอ้ ง ความรู้ ความจรงิ ของ ชาร์ล ดาร์วนิ

( Charles Darwin ) ซ่ึงปัจจุบันเรียกว่า วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็นวิธีการหาความรู้

ความจริงท่ีน่าเช่ือถือที่สุดการวิจัยได้นาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ขึ้นมาประยุกต์เป็นกระบวนการวิจัย

ประกอบดว้ ย 5 ข้ันตอน ดังน้ี

1. ขั้นปัญหา (Problem) เป็นข้ันตอนท่ีเราสังเกตพบปัญหาความต้องการความรู้ความจริงหน่ึงว่ามี

เหตุการณห์ รอื สภาพการณ์เปน็ อย่างไร มีเหตุหรือปัจจยั อะไรทีท่ าให้เกดิ เหตกุ ารณ์หรือสภาพเหตุการณ์นั้น

2. วิธีตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) ในข้ันตอนนี้เราจะต้องศึกษาทบทวนความรู้เดิมมาประกอบการ

พิจารณาว่าคาตอบของปัญหาในขั้นท่ี1 นั้นจะเป็นอย่างไร ซ่ึงเรียกว่า การตั้งสมมติฐาน ซึ่งจะเป็นแนวในการ

ตรวจสอบวา่ สมมติฐานท่ีต้ังขึ้นจะเปน็ จริงหรอื ไม่

3. ข้นั รวบรวมข้อมลู (Gathering Data) ในขนั้ น้เี ราจะทาการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง มาอย่าง

เพียงพอและตรงกบั ส่งิ ท่ตี อ้ งการศกึ ษา

4. ขัน้ วเิ คราะหข์ อ้ มลู (Analysis) ในขัน้ น้จี ะเปน็ การนาข้อมูลท่ีรวบรวมมาทาการวิเคราะห์เพ่ือมาหา

ลกั ษณะร่วมหรอื สอดคลอ้ งกนั ของข้อมลู เหล่าน้ัน และพจิ ารณาวา่ ขอ้ มลู เหล่านม้ี ีกี่ลักษณะและแตกต่างอย่างไร

เป็นต้น

5. ขน้ั สรุป (Conclusion) ในขน้ั ตอนนนี้ าผลการวิเคราะห์มาแปลผลและตีความผลการวิจัยท่ีพบ อัน

เป็นการสรุปผลการวจิ ัย

20

กระบวนการและขนั้ ตอนการทาวจิ ัยอย่างง่าย

1. ขั้นปัญหา (Problem) เป็นขั้นตอนที่เราสังเกตพบปัญหาความต้องการความรู้ความจริงหนึ่งว่ามี
เหตกุ ารณ์หรือสภาพการณ์เปน็ อยา่ งไร มเี หตุหรือปัจจยั อะไรท่ีทาใหเ้ กิดเหตกุ ารณห์ รือสภาพเหตกุ ารณน์ ัน้
การต้ังประเด็นปัญหานั้นสาคัญกว่าปัญหา เพราะการตั้งประเด็นปัญหาที่ดีและชัดเจนจะทาให้ผู้ต้ังปัญหาเกิด
ความเขา้ ใจและมองเหน็ ลู่ทางของการคน้ หาคาตอบเพือ่ แก้ปัญหาท่ตี งั้ ข้ึน

การสังเกตและการตั้งปญั หา (Observation problem)
การสังเกต (Observation) วิธที างการวิทยาศาสตร์มกั จะเรมิ่ จากการสงั เกตปรากฎการณ์ต่างๆที

อยู่รอบตัวเรา เมื่อได้ข้อสังเกตบางอย่างที่เราสนใจจะทาให้ได้ส่ิงที่ตามมาคือ ปัญหา (Problem) เช่น การ
สงั เกต ตน้ หญ้าใต้ตน้ ไม้ใหญ่ หรือต้นหญ้าท่ีอยู่ใต้หลังคามักจะไม่งอกงาม ส่วนต้นหญ้าบริเวณใกล้เคียงท่ีได้รับ
แสงแดดเจริญงอกงามได้ดี

การต้ังปัญหา “แสงแดดมีสว่ นเกีย่ วข้องกับการเจรญิ งอกงามของตอ้ นหญา้ หรือไม่”
ดังน้ันการต้งั ประเด็นปัญหาตอ้ งหมั่นฝึกการสังเกตสิ่งที่สังเกตนั้น เป็นอะไร เกิดข้ึนเมื่อใด เกิดข้ึน
ท่ี
ไหน เกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร ทาไมถงึ เป็นเช่นนัน้
ข้นั ตอนแรกของการวจิ ยั มักจะเรมิ่ ตน้ จากผวู้ ิจัยอยากรู้อะไร มีปัญหาขอ้ สงสัยอะไร เป็นขน้ั ตอน
การกาหนดคาถามวิจัย/ปัญหาวิจัย
ตวั อยา่ งคาถามการวิจยั /ปญั หาการวจิ ยั (การต้งั ประเด็นปญั หา)
- นักร้องในดวงใจวัยรนุ่ คอื ใคร นกั การเมืองในดวงใจวัยร่นุ คอื ใคร
- วัยรุ่นใชเ้ วลาว่างทาอะไร
- การศึกษาผลการจัดบญั ชคี รัวเรือนของ…
- วธิ กี ารเล้ยี งดูของผปู้ กครองที่ลดพฤติกรรมของบตุ ร
- วธิ กี ารลดสภาวะโลกร้อนของนกั เรยี นในโรงเรียน..
- การสารวจความพงึ พอใจของนักเรียนโรงเรยี น..ในการใช้หอ้ งไอซีที-
- การใช้กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอร่ีกบั แมแ่ รงเพ่ือกับลอ้ รถยนต์
- การผลติ เซลลพ์ ลังงานไฟฟ้าด้วยวิธีการหมักกลว้ ยหยวก
- การสารวจพฤติกรรมการใชโ้ ทรศัพทข์ องนกั เรยี นในโรงเรยี น..
- การสารวจพฤตกิ รรมการใหข้ องขวญั ของนกั เรียนในโรงเรยี น..
- การสารวจการเลอื กอ่านหนังสอื นอกเวลาของนกั เรียน..
- การสารวจการประหยัดพลังงานไฟฟา้ ของนกั เรยี น
- การสารวจพฤติกรรมการเข้าวัดของนกั เรยี น..
- ผลกระทบท่เี กิดจากสภาวะนา้ มันแพงของผปู้ กครองนักเรยี นโรงเรียน..
- ผลกระทบทเ่ี กิดจากการไม่ได้อาศัยกบั บิดามารดาของนักเรียน..
- สารวจความนิยมและเหตผุ ลของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาปที ี่1 ของโรงเรยี น..ตอ่ การเลอื กเรยี นใน
สถาบันกวดวชิ า
- ความคิดเห็นของนกั เรียนช้นั …ปีการศึกษา..ทม่ี ีโปรแกรมเรียนอังกฤษแบบเข้ม
- ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสรมิ ดา้ นความงามของ..
- สารวจพฤติกรรมการบริโภคเครือ่ งด่มื ของนักเรียน
- ศึกษาสาเหตขุ องความเครียดและวธิ ีคลายเครียดของ..

21

- การศกึ ษาการใชโ้ ปรแกรม Facbook ของนักเรยี น..
- การศกึ ษาและสารวจปญั หาดา้ นตัวนกั เรียนและดา้ นสภาพแวดลอ้ ม
- สารวจพฤติกรรมการเลน่ เกมออนไลนข์ องนักเรียน..
- ความพงึ พอใจต่อส่งิ อานวยความสะดวกของนกั เรียน..
- พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารที่เสยี่ งตอ่ การเกิดโรคมะเรง็ ของนกั เรียน
- วัฒนธรรมต่างชาติมีอทิ ธพิ ลต่อนักเรยี น
- การสารวจการมีมารยาทในการใชห้ อ้ งสมุดของนักเรยี น
- การสารวจพฤติกรรมการทาความสะอาดของนักเรียนระดับช้ัน….
- การผลติ น้ายาขัดรองเท้าจากเปลือกสม้
- การผลติ แชมพูสุนขั จากใบนอ้ ยหน่า
- การศกึ ษาสมนุ ไพรทีม่ ผี ลต่อการดบั กล่ินเทา้
- การสารวจพฤตกิ รรมการใช้ผงชรู สในการประกอบอาหารของแม่คา้ โรงเรียน…..
- การเปรยี บเทยี บวธิ กี ารบาบัดน้าเสียระหว่างการกรองด้วยผักตบชวา กับ การบาบัดด้วย EM ที่
มี
ประสิทธิภาพมากที่สดุ
- การศกึ ษาประสิทธภิ าพของสมนุ ไพรในการยบั ย้งั การเจรญิ เติบโตของเชอื้ ราในถั่วลิสง
- การศึกษาการชาร์จแบตเตอรรี่เคร่ือง MP 3 ด้วยมะนาว
- การเปรียบเทียบการปลูกผกั แบบไฮโดรโปนกิ สท์ ใี่ ชป้ ุ๋ยสารละลายธาตุอาหารกบั ปยุ๋ ชวี ภาพ
- การฟงั ดนตรคี ลาสสิค ปอ๊ ป และรอ็ คท่มี ีตอ่ ความสามารถในการจดจา
- การสกัดสจี ากวสั ดุธรรมชาติเพอ่ื นามาใชแ้ ทนสีน้า
- การศกึ ษาจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษ์พลังงานและสงิ่ แวดล้อมของนักเรียนโรงเรยี น…
- การสารวจความคดิ เห็นเกีย่ วกับการจดั แขง่ ขนั กีฬาสีภายในโรงเรยี น….
- การสารวจความรู้และความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั เทคโนโลยรี ะบบ 3 G ของนกั เรียน….
- การศึกษาความสดของดอกไม้ เม่ือปักไว้ในสารละลายตา่ งชนิดกนั
- การศึกษาการใช้เวลาว่างของนักเรียน…
- การศึกษาปัญหาการติดเกมของนักเรียน….

ฯลฯ

22

ใบงานที่ 9
เรอ่ื ง ประเด็นปัญหากับการตง้ั สมมตฐิ าน

คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ท่ี 3 เร่ือง ประเดน็ ปัญหาและสมมตฐิ าน
แลว้ ให้ระดมความคิดเหน็ จากสมาชกิ ในกลมุ่ ต้ังประเด็นปัญหาทส่ี นใจมาสกั 10 ประเดน็ (อาจเลือกประเดน็
จากในใบความรู้หรอื เลือกประเด็นอน่ื ตามทส่ี นใจได)้

1. ประเดน็ ปัญหาจากการระดมความคดิ เห็นของสมาชิกในกลุ่ม ทส่ี นใจ 10 ประเดน็ มีดังน้ี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มอภปิ รายเพื่อคัดเลือกประเด็น 3 ประเดน็ จากประเด็นในข้อท่ี 1 โดยบอกเหตุผล
ประกอบ
ประเด็นที่ 1……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเด็นที่ 2……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเดน็ ที่ 3……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตุผล……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

23

3. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มตงั้ สมมตฐิ านตามประเดน็ ปญั หาท่ีตั้งไว้ 3 ประเดน็

ประเดน็ ปญั หาท่ี 1…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเด็นปญั หาที่ 2…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประเด็นปัญหาที่ 3…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุม่ อภปิ รายเพ่อื คดั เลือกประเด็นเพ่ือทาการศึกษาค้นควา้ ให้เหลือเพยี ง 1 ประเดน็ พร้อม
อธิบายและใหเ้ หตุผลประกอบ
ประเดน็ ปญั หาท่เี ลือก………………………………………………………………………………….………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เหตุผลทเี่ ลือกประเดน็ นี้……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อกลุ่ม……………………………………..
ชอื่ -สกุล.................................................................... ชนั้ ม.2/.......... เลขท่ี ...............
ช่ือ-สกุล.................................................................... ชัน้ ม.2/.......... เลขที่ ...............
ชอื่ -สกลุ .................................................................... ชั้น ม.2/.......... เลขท่ี ...............
ชอ่ื -สกุล.................................................................... ชน้ั ม.2/.......... เลขท่ี ...............

24

ใบความร้ทู ่ี 4
เร่ือง การออกแบบ วางแผน รวบรวมขอ้ มลู

การตรวจสอบสมมติฐาน จะต้องยึดข้อกาหนดสมมติฐานไว้เป็นเหลักเสมอ (เน่ืองจากสมมติฐานท่ีดี
ได้แนะลทู่ างการตรวจสอบและออกแบบการตรวจสอบไวแ้ ลว้ ) โดยการตรวจสอบสมมตฐิ านนี้ได้จากการสังเกต
และการรวบรวมข้อเทจ็ จริงต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณธ์ รรมชาติ

การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือหาคาตอบหรือตรวจสอบสมมติฐานท่ีต้ังไว้โดยการทดลอง
เพอ่ื ทาการคน้ คว้าหาขอ้ มูลและตรวจสอบดวู ่าสมมติฐานข้อใดเป็นคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุด ประกอบด้วยกิจกรรม
3 กระบวนการ คอื

3.1 การออกแบบการทดลอง คือการวางแผนการทดลองกอ่ นท่ีจะลงมือปฏบิ ัติจริงโดยใหส้ อดคล้อง
กบั สมมติฐานท่ตี ง้ั ไว้เสมอ และควบคุมปจั จัยหรือตวั แปรตา่ งๆ ทมี่ ผี ลตอ่ การทดลอง แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ชนดิ คือ

3.1.1 ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated Variable)
คือปัจจยั ทเ่ี ป็นสาเหตทุ าใหเ้ กิดผลการทดลองหรอื ตัวแปรท่ีต้องศึกษาทาการตรวจสอบดวู า่ เป็นสาเหตุทีก่ ่อให้
เกดิ ผลเช่นกัน

3.1.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ผลที่เกิดจากการทดลอง ซึ่งต้องใช้วิธีการ
สงั เกตหรอื วดั ผลดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ เพอ่ื เก็บข้อมูลไว้ และจะเปลยี่ นแปลงไปตามตัวแปรอสิ ระ

3.1.3 ตัวแปรท่ตี อ้ งควบคมุ (Control Variable) คือปจั จยั อ่ืนๆ ท่ีนอกเหนือจากตัวแปรต้นที่
มีผลตอ่ การทดลอง และต้องควบคุมให้เหมือนกันทุกชุดการทดลอง เพื่อป้องกันไม่ให้ผลการทดลองเกิดความ
คลาดเคล่ือนในการตรวจสอบสมมติฐาน นอกจากจะควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลองจะต้องแบ่งชุดการ
ทดลองออกเป็น 2 ชุด ดงั น้ี

ชุดทดลอง หมายถึง ชุดท่ีเราใช้ศึกษาผลของตัวแปรอสิ ระ

ชุดควบคุม หมายถึง ชุดของการทดลองท่ีใช้เป็นมาตาฐานอ้างอิง เพ่ือเปรียบเทียบ
ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ซ่ึงชุดควบคุมนี้จะมีตัวแปรต่างๆ เหมือนชุดทดลองแต่จะแตกต่างจากชุดทดลอง
เพียง 1 ตวั แปรเทา่ นน้ั คือตัวแปรทเ่ี ราจะตรวจสอบหรอื ตัวแปรอสิ ระ

3.2 การปฏิบัติการทดลอง ในกิจกรรมนี้จะลงมือปฏิบัติการทดลองจริงโดยจะดาเนินการไปตาม
ขั้นตอนที่ได้ออกแบบไว้ และควรจะทดลองซา้ ๆ หลายๆ ครั้งเพ่อื ให้แนใ่ จว่าได้ผลเช่นนัน้ จริง

3.3 การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกท่ีได้จากการทดลองซ่ึงข้อมูลท่ีได้นี้สามารถ
รวบรวมไว้ใช้สาหรบั ยืนยันว่าสมมตฐิ านทต่ี ัง้ ไว้ถกู ตอ้ งหรอื ไม่

25
ในบางคร้ังข้อมูลอาจได้มาจากการสร้างข้อเท็จจริง เอกสาร จากการสังเกตปรากฏการณ์ หรือจาก
การซักถามผู้รอบรู้ แล้วนาข้อมูลที่ได้มาน้ันไปแปรผลและลงข้อสรุปในต่อไป ด้ังน้ัน การรวบรวมข้อมูลเป็น
สิง่ จาเปน็ ในวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ตวั อย่าง

เมื่อคาดคะเนคาตอบว่า "แสงแดดทาให้ต้นหญ้าเจริญงอกงาม ดังน้ันต้นหญ้าท่ีถูกแสงแดด
จะเจรญิ งอกงาม สว่ นต้นหญ้าทไ่ี ม่ถกู แสงแดดจะไม่เจริญงอกงามหรอื เฉาตายไป" ดังนั้นในข้ันนี้จะเป็นขั้นที่จะ
ตรวจสอบวา่ คาตอบท่เี ราคาดคะเนไว้นี้จะถูกต้องหรอื ไม่ โดยอาจออกแบบการทดลองไดด้ ังนี้

นาต้นหญ้า (หรือพืชชนิดอื่นก็ได้เช่นถั่วเขียวท่ีต้องเหมือนกันท้ัง 2 กลุ่มชุดการทดลอง) ปลูก
ในทีมีแสงแดด ส่วนอีกหน่ึงกลุ่มปลูกใช้สังกะสีมาครอบไว้ไม่ให้ได้รับแสงแดด (จัดชุดการทดลองและชุด
ควบคุมให้เหมือนกนั ทกุ ประการยกเว้นการได้รับแสงแดด กับไม่ได้รับแสงแดด) ทาการควบคุมทั้งปริมาณน้า
ที่รดทง้ั 2 กลุ่มน้ีเทา่ ๆ กัน ประมาณ 2สัปดาห์ ทาการสังเกตและบันทกึ ผล

* ตวั แปรต้นหรอื ตวั แปรอสิ ระ คอื แสงแดด
* ตัวแปรตาม คอื ต้นหญ้าเจรญิ งอกงาม (หรอื การเจรญิ เติบโตของต้นหญ้า)
* ตัวแปรท่ีต้องควบคุม คือ ปริมาณน้า, ชนิดของดิน, ปริมาณของดิน, ชนิดของกระถางท่ีใช้
ปลกู , ชนดิ ของต้นหญา้
นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยความสูงของต้นหญ้า หรือการนาจานวนใบของต้นหญ้า ซึ่งเรา
พบว่าต้นหญ้าท่ีได้รับแสงแดดจะเจริญเติบโตงอกงามดีส่วนต้นหญ้าท่ีไม่ได้รับแสงแดดจะมีสีเหลืองหรือสีขาว
ซดี และไมง่ อกงาม จากนัน้ ก็สรปุ ผลการทดลอง

ออกแบบการทดลอง

ทมี่ า http://e-learning.snru.ac.th/els/scilife/unit1/t2-33.htm
สบื คน้ เมื่อวันท่ี 7 กนั ยายน 2556

26

ใบงานที่ 10
เรื่อง การออกแบบ วางแผน รวบรวมขอ้ มูล

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นออกแบบ วางแผน และรวบรวมขอ้ มูล

1. การตรวจสอบสมมติฐานต้องยึด……………………………………………………………..เป็นหลกั ในการตรวจสอบเสมอ
โดยการตรวจสอบสมมติฐานนไี้ ดจ้ าก ……………………………………………………………………………………………………
2. บอกคาจากดั ความของการทดลอง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การทดลองประกอบด้วยกิจกรรม 3 กระบวนการ คือ
3.1………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3.2…………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.3…………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. การออกแบบการทดลอง คือ………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. การออกแบบการทดลอง แบ่งไดเ้ ป็น 3 ชนดิ คือ
5.1………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5.2…………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3…………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ตวั แปรอสิ ระหรอื ตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated Variable) คอื
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. ตวั แปรตาม (Dependent Variable) คอื
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8. ตวั แปรทต่ี อ้ งควบคมุ (Control Variable) คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
9. ชดุ ทดลอง คือ…………………………………………………………………………………………………………………………………..
ชุดควบคมุ คือ………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
10. การบนั ทึกผลการทดลอง หมายถึง ………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ………………………...…………………………ช้ัน………….เลขท…ี่ ………..

27

ใบความรู้ท่ี 5
เรอื่ ง การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ขั้นตอนสาคัญในการทาวิจัย หลังจากได้ปัญหา วัตถุประสงค์และสมมติฐานในการวิจัยแล้ว ขั้นตอนที่
สาคัญตามมา คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล
คือการที่ผู้วิจัยพยายามรวบรวมหลักฐานต่างๆ นามาพิจารณา วิเคราะห์วิจารณ์ แล้วสรุปผลมาเป็นคาตอบ
ปัญหาการวิจัยว่าเป็นไปตามท่ีได้ตั้งสมมติฐานไว้หรือไม่ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล มีวิธีการหลายอย่าง เช่น
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรงจากผู้ให้ข้อมูล รวบรวมข้อมูลที่มีอยู่เดิมแล้ว หรือใช้ผู้สังเกตการณ์เก็บรวบรวม
ข้อมลู หรอื ใชว้ ธิ ีการหลาย ๆ วิธรี วมกนั

ขน้ั ตอนสาคญั ของการรวบรวมข้อมลู

การรวบรวมข้อมูลทางพฤติกรรมศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นการรวบรวมข้อมูลภาคสนาม แบ่งได้เป็น 6
ขน้ั ตอน ตามท่ีบุญธรรม กิจปรีดาบรสิ ุทธิ์ ( 2540 ) แบง่ ไว้ ดงั นี้

1. กาหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา ท่ีสาคัญ คือ ต้องทราบว่าอะไร คือตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัว
แปรควบคมุ การวัดตัวแปรแต่ละตวั วัดอยา่ งไร มีระดับการวัดของตัวแปรคืออะไร ตัวแปรและตัวมีความหมาย
อยา่ งไร ตอ้ งนิยามความหมายเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารใหช้ ัดเจนใหส้ ามารถวดั ได้

2. กาหนดขอ้ มลู หรือตวั ช้วี ดั จากตวั แปรที่ศึกษาจะต้องระบุข้อมูลและลักษณะของข้อมูลท่ีต้องการว่า
มีลักษณะอย่างไร ที่ตรงกับสภาพความเป็นจริง ควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือปัญหาและขอบเขตของ
การวจิ ยั

3. กาหนดแหล่งขอ้ มลู ตอ้ งการขอ้ มลู หรอื รวบรวมขอ้ มลู มาจากท่ีไหนบ้างผู้ให้ข้อมูลเป็นใคร อยู่ที่ไหน
เปน็ แหล่งขอ้ มูลปฐมภูมหิ รอื ทตุ ยิ ภูมิ

4. เลือกวิธีรวบรวมข้อมูล ต้องวางแผนในวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างรอบคอบรวมท้ังคานึงถึง
ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งท่ีเหมาะสม ซ่ึงวิธีการเก็บข้อมูลจาเป็นต้องเลือกเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บว่ามีอะไร ถ้ามี
แล้วก็สามารถนาไปปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะกับงานวิจัยที่ทา ถ้าไม่มีก็ต้องสร้างเครื่องมือขึ้นมาใหม่ ซ่ึงต้อง
คานงึ ถึงหลักในการสร้างเครอื่ งมือทีด่ ี

5. นาเครือ่ งมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้ ในการใช้เคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือที่มี
อยู่แล้วหรือเครื่องมือที่สร้างขึ้นเอง ควรมีการทดลองใช้กับกลุ่มท่ีใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจานวนไม่มากก่อน
เพ่ือดูข้อบกพร่องต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เคร่ืองมือและผู้วิจัยเองต้องนาเครื่องมือไปปรับปรุงแก้ไขหรือ
อาจจะตอ้ งสรา้ งใหมเ่ พ่ือใหเ้ หมาะสมกบั งานวิจยั ทีท่ า เพื่อใหเ้ กดิ คุณภาพของเครื่องมือวิจัย ที่สาคัญ คือจะต้อง
มีความตรงและความเที่ยงของเครอื่ งมอื

28

6. ออกรวบรวมข้อมลู ข้ันตอนนเ้ี ปน็ การออกภาคสนาม ต้องมีการวางแผนเป็นอย่างดีว่าจะเก็บข้อมูล
อย่างไร คนเดียว หรือหลายคน ต้องมีการอบรมผู้เก็บข้อมูลในกรณีท่ีใช้ผู้เก็บหลายคน ที่สาคัญต้องมีการ
ประสานงานเพอื่ ใหแ้ หลง่ ที่ต้องการเกบ็ ข้อมูลยนิ ยอม

วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู

วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล มหี ลายวิธีท่ใี ชก้ ันมากในทางพฤติกรรมศาสตร์ ได้แก่

• การสัมภาษณโ์ ดยตรง

ผู้วิจัยไปทาการสัมภาษณ์จากหน่วยทดลองโดยตรง วิธีน้ีใช้กันมากในการทาสามะโนและการสารวจ
จากตัวอย่าง วิธีน้ีเหมาะสาหรับงานวิจัยท่ีมีข้อคาถามเป็นจานวนมาก ข้อคาถามมีความซับซ้อนมีคาศัพท์
เฉพาะและมคี าจากัดความทีต่ อ้ งการคาอธิบาย แต่เป็นวธิ ที ีเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ยสงู

• การสัมภาษณท์ างโทรศัพท์

ในกรณีท่คี าถามไม่มากและไม่ซบั ซอ้ น ปรมิ าณคาถามมีไม่มากนัก การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์จะทาให้
ไดข้ อ้ มลู เร็วข้นึ แต่มีข้อเสียคือ สัมภาษณ์ได้เฉพาะหน่วยตัวอย่างที่มีโทรศัพท์เท่านั้น บางกรณีผู้ตอบอาจจะไม่
เกรงใจ หรือไมพ่ อใจทจ่ี ะตอบ หรอื อาจจะวางหูโทรศัพทก์ ไ็ ด้

• การตอบแบบสอบถาม

เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลโดยมอบแบบสอบถามพร้อมท้ังอธิบายวิธีบันทึกตลอดจนคาอธิบายศัพท์
ต่างๆ ให้แก่หน่วยตัวอย่างล่วงหน้า ผู้วิจัยจะกลับไปรับแบบสอบถามตามวัน เวลาท่ีนัดหมายไว้ ถ้าการบันทึก
แบบสอบถามไม่ถูกต้องหรือไม่เรียบร้อยก็จะได้มีการสอบถามหรือสัมภาษณ์เพิ่มเติมจนกระทั่งได้ข้ อมูลตามที่
ต้องการ

• การสง่ แบบสอบถามทางไปรษณีย์

ผู้เก็บรวบรวมขอ้ มูลส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ วิธีน้ีเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่ไม่มีความสาคัญ
มากนัก เป็นข้อมูลง่ายๆ ที่ไม่ซับซ้อน ไม่มีศัพท์หรือคาจากัดความท่ีต้องการคาอธิบาย จานวนข้อคาถามมีไม่
มากนกั วธิ นี ้มี ขี อ้ ดคี ือ เสียค่าใช้จา่ ยน้อยแต่มขี ้อเสียคือ ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาน้อยหรือผู้บันทึกอาจจะ
เข้าใจข้อคาถามไม่ถูกต้อง หรือบันทึกอย่างขาดความรับผิดชอบ ข้อจากัดคือ วิธีนี้ใช้สาหรับหน่วยตัวอย่างที่
อ่านออกเขยี นไดเ้ ท่าน้นั

• การนบั และการวัด

ในการเก็บรวบรวมข้อมูลบางอย่างต้องใช้วิธีนับ เช่น การสารวจจานวนรถท่ีผ่านจุดท่ีต้องการศึกษา
และในเวลาที่สนใจศึกษา จานวนลูกค้าท่ีเข้าแถวเพื่อชาระเงินในคาบเวลาหนึ่งๆ จานวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ
ในโรงพยาบาลในคาบเวลาหนงึ่ การเก็บข้อมูลโดยให้กลมุ่ ตัวอย่างทาแบบสอบ แบบวดั เป็นตน้

• การสังเกต วิธีนี้ใช้ในโครงการวิจัยต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ และทางสังคมศาสตร์ เช่น การสังเกตตาแหน่ง
ของดวงดาวบนท้องฟ้า การสังเกตพฤติกรรมของคนในชุมชนที่มีต่อผู้ป่วยเอดส์ เป็นต้น ข้อมูลท่ีได้จากการ
สังเกตอาจจะเป็นข้อมูลเชิงคุณลักษณะหรือปริมาณก็ได้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยต้องกาหนดขั้นตอนให้
รัดกุมต้ังแต่ การวางแผนการเก็บรวบรวมกาหนดวิธีการให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง กาหนดวิธีบันทึกข้อมูล
ถ้ามีผู้ชว่ ยในการเก็บขอ้ มูลตอ้ งอบรมวธิ กี ารเก็บใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจและชานาญเทา่ เทียมกัน จากน้ันจึงเก็บ
ข้อมูลตามท่ีวางแผนไว้ เม่ือได้ข้อมูลกลับมาต้องตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลท่ีได้รับก่อนนาไปวิเคราะห์
ข้อมูลตอ่ ไป

29

( ตวั อย่าง )
แบบสอบถามความพงึ พอใจ / ไม่พึงพอใจต่อการให้บรกิ าร

สานักงาน.....................................................................
เดอื น.................................พ.ศ.2553

ขอ้ ช้ีแจง กรณุ าทาเครือ่ งหมายในขอ้ ท่ตี รงกบั ความเปน็ จริงและในช่องท่ตี รงกบั ความคดิ เห็นของทา่ นมากท่ีสดุ