เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน

ประโยชน์ของการบำรุงรักษาเชิงป้องกันคืออะไร?
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) มีเป้าหมายครอบคลุม 2 ประการ : เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร และเพิ่มผลผลิต และ เพื่อให้ผู้คนและทรัพย์สินปลอดภัยจากอันตรายจากอุปกรณ์ต่างๆ ผู้จัดการฝ่ายซ่อมบำรุงและทีมสามารถใช้หลักการของการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่างๆ ดังต่อไปนี้

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน

• ประหยัดเงินโดยการยืดอายุการใช้งานให้นานขึ้น
• เพิ่มความปลอดภัยและลดโอกาสบาดเจ็บของพนักงาน
• ลดค่าเสื่อมสภาพที่ไม่จำเป็นของอุปกรณ์ต่างๆลง
• ป้องกันอุปกรณ์หลักพังก่อนเวลาอันควร
• ลดขั้นตอนการตรวจสอบและตรวจจับที่ไม่จำเป็นลง
• พร้อมรับมือและป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
• ลดข้อผิดพลาดในการดำเนินงานประจำวันลง
• ปรับปรุงความน่าเชื่อถือของอุปกรณ์ (Machine Reliability)

11 สิงหาคม 2564

ผู้ชม 2128 ครั้ง

Details Blog Last Updated: 24 January 2020 Hits: 16541

การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) เป็นการบำรุงรักษาตามวาระหรือระยะเวลาการใช้งานที่กำหนด เพื่อรักษาสภาพทำงานของเครื่องจักรให้เหมาะสมก่อนที่จะมีการหยุดชะงัก โดยอาจใช้ประสบการณ์ของฝ่ายบำรุงรักษาหรือ คู่มือการใช้งานของเครื่องจักรนั้น ๆ

อย่างไรก็ตามการชำรุดของเครื่องจักรโดยไม่คาดคิดก็สามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งนี้รูปแบบการชำรุดของเครื่องลักษณะนี้มีการกระจายอยู่ในลักษณะไม่สม่ำ เสมอ ดังนั้นจึงยากที่จะเลือกช่วงการบำรุงรักษาตามแผนที่เหมาะสม หรือแม้แต่ในบางกรณีถึงแม้ว่าได้ปฏิบัติงานตามแผนแล้วก็ตาม ก็อาจมีโอกาสที่จะเกิดการชำรุดของเครื่องจักรโดยไม่คาดคิดได้

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน

Preventive Maintenance Building การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน

 

          เป็นการบำรุงรักษาตามวาระหรือระยะเวลาการใช้งานที่กำหนด เพื่อรักษาสภาพทำงานของเครื่องจักรให้เหมาะสมก่อนที่จะมีการหยุดชะงัก โดยอาจใช้ประสบการณ์ของฝ่ายบำรุงรักษาหรือ คู่มือการใช้งานของเครื่องจักรนั้น ๆ อย่างไรก็ตามการชำรุดของเครื่องจักรโดยไม่คาดคิดก็สามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งนี้รูปแบบการชำรุดของเครื่องลักษณะนี้มีการกระจายอยู่ในลักษณะไม่สม่ำเสมอ ดังนั้นจึงยากที่จะเลือกช่วงการบำรุงรักษาตามแผนที่เหมาะสม หรือแม้แต่ในบางกรณีถึงแม้ว่าได้ปฏิบัติงานตามแผนแล้วก็ตาม ก็อาจมีโอกาสที่จะเกิดการชำรุดของเครื่องจักรโดยไม่คาดคิดได้

ประโยชน์หรือผลสำเร็จของการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
1) ทำให้สามารถซ่อมเครื่องจักรเครื่องมือที่ชำรุด ได้อย่างถูกต้อง
2) สามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดทำคู่มือในการซ่อมบำรุงได้
3) ใช้วางแผนหรือกำหนดดำเนินการซ่อมบำรุง
4) เป็นแนวทางในการจัดเตรียมของใหม่สำหรับซ่อมบำรุงรักษา
5) ใช้เป็นข้อมูลในการวิจัยเครื่องจักรนั้น

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน
เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน
เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน

องค์ประกอบของการบำรุงรักษาเชิงป็องกัน
1. การออกแบบระบบการบำรุงรักษาป้องกัน
2. การจัดหน่วยงาน ( ผู้ที่มีการรับผิดชอบเฉพาะ )
3. การวางแผนปฏิบัติอย่างรัดกุม
4. การปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและจริงจัง
5. ความเข้าใจและสนับสนุนจากผู้บัญชาทุกระดับ

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลหลังการใช้งาน

วัตถุประสงค์ของการบํารุงรักษา
1. เพื่อให้อุปกรณ์อย่ในสภาพพร้อมใชงานตลอดเวลา คือการบำรุงรักษาที่กระทำก่อนที่อุปกรณ์จะชำรุด
2. เพื่อแก้ไขซ่อมแซมอุปกรณ์ที่ชำรุดใหกล้บมาอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
3. เพื่อเพิ่มความไว้วางใจหรือความน่าเชื่อถือ(Reliability)ในการใช้อุปกรณ์เครื่องจักรนั้น
4. ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงเมื่อมีการวางแผนที่เหมาะสมการ จัดสรรกำลังคนวัสดุอะไหล่รวมถึงระยะเวลาในการซ่อมที่เป็นไปอย่างรัดกุมและมีประสิทธิภาพ
5. ลดจานวนหรือความถี่ของอุปกรณ์ที่ขัดข้องเสียหาย โดยการใช้ ระบบการบำรุงรักษาแบบป้องกัน (Preventive maintenance)
6. ลดจานวนงานค้าง (Backlog) เครื่องจักรที่ดีมีคุณภาพจะทำให้ได้ งานตามเป้าหมายทั้งคุณภาพและปริมาณ

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบำรุงรักษาผลิตภัณฑ์หลังการใช้งานอยู่เสมอ

วัตถุประสงค์ของการบํารุงรักษา 1. เพื่อให้อุปกรณ์อย่ในสภาพพร้อมใชงานตลอดเวลา คือการบำรุงรักษาที่กระทำก่อนที่อุปกรณ์จะชำรุด 2. เพื่อแก้ไขซ่อมแซมอุปกรณ์ที่ชำรุดใหกล้บมาอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 3. เพื่อเพิ่มความไว้วางใจหรือความน่าเชื่อถือ(Reliability)ในการใช้อุปกรณ์เครื่องจักรนั้น

ทำไมต้องบำรุงรักษาเครื่องจักร

การบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ เป็นการรักษาสมรรถนะของความสามารถในการผลิตสินค้าของเครื่องจักรและอุปกรณ์ให้สามารถใช้งานได้อย่างดี ไม่เกิดความชำรุดเสียหาย อันเป็นการสูญเสียทั้งเวลาในการผลิตเมื่อถึงครั้งเวลาเครื่องจักรเกิดการชำรุดบ่อยหรือเสียหายโดยไม่ได้ดูแลรักษา หรือเครื่องจักรและอุปกรณ์สามารถทำงานได้ดีไม่สึกหรอ ซึ่ง ...

การบำรุงรักษาเครื่องจักร มีอะไรบ้าง

เทคนิคการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลในอุตสาหกรรม.
การบำรุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดข้อง (Breakdown Maintenance) ... .
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM) ... .
การบำรุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง (Corrective Maintenance) ... .
การป้องกันเพื่อบำรุงรักษา (Maintenance Prevention) ... .
การบำรุงรักษาทวีผล (Productive Maintenance).

ข้อใดเป็นการบํารุงรักษาตามระยะเวลา

* การบำรุงรักษาตามระยะเวลา (Periodic Maintenance หรือ Time Based Maintenance: TBM) คือ การดำเนินการอยู่เป็นระยะ ๆ ผ่านการตรวจสอบ ทำความสะอาดอุปกรณ์ และเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่เพื่อป้องกันความเสียหายอย่างฉับพลัน หรือเกิดปัญหาต่อกระบวนการผลิต