เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี

ตุ๊บเก่ง  เป็นดนตรีพื้นบ้านของเพชรบูรณ์ที่มีมายาวนาน แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัดว่า การเล่นดนตรีตุ๊บเก่งมีมาตั้งแต่เมื่อไร แต่นักดนตรีตุ๊บเก่งบ้านป่าเลาซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมสำคัญของเพชรบูรณ์ก็ยืนยันได้ว่า การเล่นดนตรีตุ๊บเก่งมีมายาวนานนับร้อยปี และปัจจุบันยังคงมีดนตรีตุ๊บเก่งในพื้นที่ตำบลป่าเลา เพียง ๒ วง ได้แก่

๑.      วงดนตรีตุ๊บเก่ง ของนายสงวน  บุญมา

๒.    วงดนตรีตุ๊บเก่ง ของนายสอน บุญเรือง

วงดนตรีตุ๊บเก่งจะเกิดขึ้นในระยะใด หรือสมัยใดไม่ชัดเจน เพราะผู้ที่ให้ข้อมูลที่ละเอียดเกี่ยวกับดนตรีตุ๊บเก่งนี้ก็หาได้ยาก ส่วนมากจะเป็นคนมีอายุสูงมากแล้ว ความทรงจำเลอะเลือน ข้อมูลที่ได้มาจึงน้อยมาก

แม้ว่าดนตรีตุ๊บเก่ง จะเป็นดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดเพชรบูรณ์ก็ตาม จากหลักฐานที่ได้จากการศึกษาพบว่า นักดนตรีที่บรรเลงในวงตุ๊บเก่ง ล้วนแต่เป็นผู้สูงอายุทั้งสิ้น มีอายุตั้งแต่ ๕๐ ปีขึ้นไป รุ่นหนุ่มสาวหาเล่นยากมาก ทั้งนี้น่าจะเป็นไปตามค่านิยมของคนรุ่นใหม่ที่มองว่า ดนตรีไทยเดิม หรือดนตรีพื้นบ้านเป็นสิ่งที่ล้าสมัย หันไปนิยมเครื่องดนตรีที่เป็นดนตรีสากลเป็นส่วนใหญ่ จึงหาผู้สืบสานได้น้อยลงทุกที

การฝึกดนตรีตุ๊บเก่ง

จากการสัมภาษณ์ นายสงวน  บุญมา หัวหน้าวงดนตรีตุ๊บเก่งบ้านป่าเลา พอสรุปได้ว่า การเรียนรู้การเล่นดนตรีตุ๊บเก่ง มักจะใช้การถ่ายทอดแบบโบราณ คือ ถ่ายทอดแบบจดจำเป็นรายบุคคล ถ่ายทอดแบบตัวต่อตัว ใครจำได้มากเท่าไร ก็สามารถเล่นบทเพลงต่าง ๆ ได้มากเท่านั้น ลักษณะของทำนองเพลงก็มีลักษณะของใครของมัน เพราะต่างก็จดจำมาจากครูของตน แล้วยึดเป็นแบบแผนในการถ่ายทอด ไปยังลูกหลานอีกครั้งหนึ่ง

แต่ปัจจุบันผู้ที่จะรับการถ่ายทอดก็หาได้ยาก เนื่องจากไม่เป็นที่นิยมดังเช่นเมื่อก่อน ผู้ที่จะฝึกดนตรีชนิดนี้ มักจะเป็นสมาชิกในครอบครัวของนักดนตรีเอง การฝึกการถ่ายทอดจะต้องรอให้ครูท่านนั้นว่างจากการงานเสียก่อน จึงจะมีเวลา ผู้รับการถ่ายทอดจะต้องอาศัยการจำจากครูเป็นบทเพลงที่สอน โดยไม่มีกฏเกณฑ์ที่แน่นอน สรุปได้ว่า ในการถ่ายทอด จะถ่ายทอดด้วยสายตา เสียง มือ เท่านั้น ไม่มีการบันทึกในรูปตัวโน้ตเหมือนดนตรีสากลทั่วไป

นักดนตรีและเครื่องดนตรี

วงดนตรีตุ๊บเก่ง มีนักดนตรีรวมทั้งวง ๕ คน โดยรับผิดชอบเครื่องดนตรี ดังนี้

๑.      เครื่องเป่า      ใช้นักดนตรี ๑ คน ทำหน้าที่เป่า เครื่องเป่าที่ใช้บรรเลง เรียกว่า ปี่แต้

ปี่แต้ เป็นเครื่องดนตรีที่ไม่มีขาย ดังนั้น นักดนตรีที่เป่าปีแต้ จำเป็นต้องผลิตขึ้นเอง

ในการทำปีแต้ ต้องใช้ความประณีตในการทำ

(การทำปี่แต้ ได้จัดเก็บข้อมูล ตามโครงการ “ภูมิบ้านภูมิเมือง” จัดเก็บข้อมูลช่างฝีมือพื้นบ้าน ปี ๒๕๔๘) จะสรุปในบทเครื่องดนตรีต่อไป  

๒.    เครื่องตี         ใช้นักดนตรี ๔ คน ทำหน้าที่แตกต่างกัน คือ

-                   กลองตุ๊บเก่ง (กลองแขก (มี ๒ หน้า)

ใช้นักดนตรี ๒ คน โดยใช้กลอง ๒ หน้า คนละ ๑ ใบ

-                   ฆ้องโหม่ง    ใช้นักดนตรี ๑ คน

-                   ฆ้องกระแต ใช้นักดนตรี ๑ คน

สรุปได้ว่า เครื่องดนตรีที่ประกอบวงดนตรีตุ๊บเก่ง ประกอบด้วย  ปีแต้ ๑ เลา กลอง ๒ หน้า (กลองตุ๊บเก่งหรือกลองแขก ๒ หน้า) จำนวน ๒ ลูก  ฆ้องโหม่ง ๒ ลูก  ฆ้องกระแต ๑ ลูก รวม ๖ ชิ้น นักดนตรี ๕ คน เครื่องดนตรีที่เป็นตัวนำหลักของเสียง คือ ปีแต้

โอกาสในการเล่นดนตรีตุ๊บเก่ง

แต่เดิมนั้น การเล่นดนตรี “ตุ๊บเก่ง” นิยมเล่นทั้งงานที่เป็นงานมงคล เป็นการฉลองการแต่งงาน งานบวช งานขึ้นบ้านใหม่ และแสดงในงานศพ (เพื่อแสดงความโศกเศร้า) ต่อมามีการเล่นดนตรีหลากหลายชนิดประกอบกับการเล่นดนตรีตุ๊บเก่งมีน้อยลง การเล่นก็พลอยหดหายไป คงเหลืออยู่เฉพาะงานศพเท่านั้น

ผู้คนรุ่นหลังจึงมักเข้าใจว่า ดนตรีตุ๊บเก่งใช้เล่นเฉพาะในงานศพซึ่งคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง 

�����͡�ӵͺ���١��ͧ����ش��§�ӵͺ����

         1. ����ͧ����բͧ�Ҥ��㹢��㴷�������ŧ㹾Ը�Ⱦ

          1. ������ 2. ����˹ 3. ������
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
�ա����

         2. ���㴤���������͹��ҹ���������㹡���ʴ��Ҥ��

          1. �����ҹҴ� 2. �������Ҵ�
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
��������
4. ���Һ���

         3. ����ʴ���������ᴧ �繡���ʴ��ͧ�Ҥ�

      
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
�Ҥ���ҹ�˹��
2. �Ҥ���ҹ�� 3. �Ҥ�˹�� 4. �Ҥ��

         4. ����վ�����ͧ��ǹ�˭�����������֡���ҧ��

          1. ����� 2. ʧ� 3. �ѹ��
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
ʹءʹҹ

         5. ���㴤�ʹ���շ������Ǣ�ͧ�Ѻ��������

          1. �����ԧ 2. ��͹Ᾱ
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
�Ӽտ��
4. �Ӵ֧�á�֡�ҡ

         6. ���㴤�ʹ���շ������Ǣ�ͧ�Ѻ��оط���ʹ�

          1. ���ҷ���Сͺ�Ը�������     2. ���ҷ���Сͺ�Ը�⡹�ء
          3. ���ҷ���Сͺ�Ը��á�Ң�ѭ
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
���ҷ���Сͺ�Ը��ȹ���Ҫҵ�

          7. ���㴤�͡������������͹��ѡ�촹�����

          1. �Թ�� 仴١���ʴ�������·ء���駷�����͡��
          2. �ѭ�� ���¹������´��µ��ͧ ��н֡�����ҧ��ԧ�ѧ
          3. ���Թ� �ӡ���ʴ����������ʴ�����ҧ�����
      
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
�١��駢�� � � ��� �

         8. ���㴤�͡���ʴ��ͧ��������

      
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
������ ����ѡ
2. ������ ����ѡ����
          3. �Фþ�������� 4. ����ʴ�������ѹ��

         9. ���㴤��ǧ����բͧ������Թⴹ����

          1. ǧ�������
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
ǧ�����ѹ
3. ǧ���ҷ�� 4. ǧ�����

         10. ����ʴ��ͧ��������͹��ҹ㴷�����Ѻ�Ѳ������Ҩҡ����Ȩչ

          1. ���� 2. ���� 3. ���Ի�Թ��
เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี
���´���

เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี

เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี

เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี ทุกครั้งก่อนบรรเลง

การเล่นดนตรีไทย สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือ คือ การไหว้ ทุกคนที่เล่นและเรียนดนตรีไทยก่อนเริ่มเล่นต้องยกมือไหว้ และเมื่อเลิกเล่นก็จะยกมือไหว้อีกครั้ง โดยมีความเชื่อว่า เครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น จะมีครูบาอาจารย์สถิตอยู่ด้วย การไหว้เครื่องดนตรีไทยจึงเป็นการแสดงความเคารพ และกตัญญูต่อครูบาอาจารย์นั่นเอง

ผู้คนนิยมนำวงดนตรีไทยมาบรรเลงในพิธีใด

งานที่มีพระสงฆ์สวดมนต์ และฉันอาหาร เช่น งานขึ้นบ้านใหม่ งานทำบุญวันเกิด หรืองาน ที่ต้องการให้ผู้อื่นร่วมอนุโมทนา เช่น งานบวชพระ งานทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เป็นต้น ควรใช้ วงปี่พาทย์ จะเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ ก็แล้วแต่เห็นสมควร งานแต่งงาน หรือที่เรียกกันว่า งานมงคลสมรส ควรใช้วงมโหรี หรือวงเครื่องสาย

การพิจารณาคุณค่าและความงามของดนตรีไทยนั้นพิจารณาจากอะไร

ดนตรีไทยเป็นศิลปะที่บ่งบอกถึงความเป็นชาติคุณค่า และความงามของดนตรีไทยสามารถ พิจารณาได้จากบทเพลงที่นักประพันธ์เพลงประพันธ์ขึ้น มีท่วงท านองตามโครงสร้างของระบบเสียง เนื้อร้องที่ร้อยเรียงกันอย่างสละสลวย มีนักดนตรีท าหน้าที่ถ่ายทอดบทเพลง โดยใช้ระบบวิธีบรรเลง เครื่องดนตรีที่มีความหลากหลาย มีวิธีขับร้องที่กลมกลืนกัน และมี ...

วงดนตรีไทยประเภทใดที่นิยมนำมาบรรเลงในงานอวมงคล

พาทย์มอญนั้นเป็นวงดนตรีรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อสังคมไทยมาแต่สมัยโบราณแล้ว ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน บทบาของวงปี่พาทย์มอญจะมีการเปลี่ยนแปลงไป คือ วงปี่พาทย์มอญจะใช้บรรเลงสำหรับงานที่เกี่ยวข้องกับความตาย หรืองานศพ ซึ่งหมายถึงงานอวมงคลเท่านั้น ทำให้วงปี่พาทย์มอญกลายเป็นสัญลักษณ์ของงานอวมงคลไปในที่สุด เครื่องดนตรี ...

เหตุใด ผู้ที่จะบรรเลงดนตรีไทยต้องยกมือไหว้เครื่องดนตรี ทุกครั้งก่อนบรรเลง ผู้คนนิยมนำวงดนตรีไทยมาบรรเลงในพิธีใด การพิจารณาคุณค่าและความงามของดนตรีไทยนั้นพิจารณาจากอะไร วงดนตรีไทยประเภทใดที่นิยมนำมาบรรเลงในงานอวมงคล เหตุใด จึงต้องมีการประเมินคุณภาพผลงานดนตรีไทย ภาคใด ที่มีการแข่งขันวงดนตรีกลองยาวเหมือนกัน ในการบรรเลงดนตรีไทยแบบหมู่ ผู้บรรเลงต้องตรวจสอบสิ่งใด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ดนตรีพื้นบ้าน แบ่งออกเป็นกี่ปัจจัยใหญ่ๆ ประเพณีแห่นางแมว เป็นประเพณีที่เกิดจากการสร้างสรรค์ดนตรีจากปัจจัยใด ปัจจัยด้านวิถีมนุษยสังคม ประกอบด้วยอะไรบ้าง