ข้อใดคือเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนกลาง

การปกครองในสมัยสุโขทัยจะมีลักษณะเป็นการกระจายอำนาจการบริหารจากราชธานีออกไปสู่หัวเมืองต่าง ๆ ซึ่งหัวเมืองในอาณาจักรสุโขทัยแบ่งออกเป็น 4 ชั้น ในแต่ละชั้นกษัตริย์ทรงใช้อำนาจการปกครอง ดังนี้

ข้อใดคือเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนกลาง

ที่มารูปภาพ : https://sites.google.com/site/social00083/hawkhx-yxy1

1. เมืองหลวง (ราชธานี) อาณาจักรสุโขทัย มีกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ดังนั้นพระมหากษัตริย์ ดังนั้นพระมหากษัตริย์จึงทรงรับผิดชอบดูแลทั้งในด้านการปกครอง ด้านการศาสนา และด้านศิลปวัฒนธรรม โดยมีบรรดาขุนนางข้าราชการคอยช่วยเหลือในการดำเนินกิจการ
2. เมืองลูกหลวง (หัวเมืองชั้นใน) เป็นเมืองหน้าด่านาตั้งอยู่รายรอบราชธานีทั้ง 4 ทิศ คือ
ทิศเหนือ ได้แก่ เมืองศรีสัชนาลัย (สวรรคโลก)
ทิศใต้ ได้แก่ เมืองสระหลวง (พิจิตรเก่า)
ทิศตะวันออก ได้แก่ เมืองสองแคว (พิษณุโลก)
ทิศตะวันตก ได้แก่ เมืองนครชุม (ปากคลองสวนหมาก หน้าเมืองกำแพงเพชร)
เมืองลูกหลวงเหล่านี้ กษัตริย์จะทรงแต่งตั้งพระราชโอรส หรือเจ้านายเชื้อพระวงศ์ชั้นสูงไปปกครองดูแล โดยรับนโยบายจากเมืองหลวง
3. เมืองพระยามหานคร (หัวเมืองชั้นนอก) เป็นเมืองที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงออกไป พระมหาษัตริย์จะทรงแต่งตั้งขุนนางชั้นสูงหรือผู้ที่มีความสามารถไปปกครองดูแล เมืองพระยามหานครในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมีหลายเมือง เช่น เมืองพระบาง เมืองเชียงทอง เมืองบางพาน เมืองบางฉลัง เป็นต้น
เมืองเหล่านี้มีลักษณะการปกครองเหมือนกับหัวเมืองชั้นใน
4. เมืองประเทศราช (เมืองขึ้น) เป็นเมืองชายแดนที่อยู่นอกราชอาณาจักร จะทรงให้ชาวพื้นเมืองเป็นเจ้าเมืองปกครองเอง พระองค์จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับการปกครองภายใน ยกเว้นกรณีที่จำเป็น
ในยามศึกสงครามหัวเมืองเหล่านี้จะต้องส่งกองทัพและเสบียงอาหารไปช่วย แต่ในยามที่ไม่มีศึกจะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้กับอาณาจักรสุโขทัย
ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชมีเมืองประเทศราช ดังนี้ ทิศเหนือ ได้แก่ เมืองมะละกา เมืองยะโฮร์ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เมืองเซ่า (หลวงพระบาง) เมืองเวียงจันทน์ ทิศตะวันตก ได้แก่ เมืองทวาย เมืองหงสาวดี เมืองเมาะตะมะ

ข้อใดคือเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนกลาง

http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/1630

ข้อใดคือเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนกลาง

          3. ��û�Ѻ��ا��û���ͧ��ǹ��ͧ��� ��кҷ���稾�Ш�Ũ���������������Ƿç�Ѵ����ա�ú����çҹ�Ҫ�����ǹ��ͧ�����ٻ�آ��Ժ�� �����˹�ҷ�������Ⱥ��㹻Ѩ�غѹ �����á����� �.�. 2440 ���ô����� ����� �.�.�.�آ��Ժ�š�ا෾� �.�. 116 (�.�. 2440) ��鹺ѧ�Ѻ��㹡�ا෾� �����������价���ҩ��� ��кҷ���稾�����خ���������������ô��������� �.�.�.�آ��Ժ�� �.�. 2448


��èѴ����º��û���ͧ������ظ��

��èѴ����º��û���ͧ���͡�� 3 ����
1. ������ظ�ҵ͹�� (�.�.1893-1991)
2. ������ظ�ҵ͹��ҧ (�.�.1991-2231)
3. ������ظ�ҵ͹���� (�.�. 2231-2310)
������ظ�ҵ͹���������¡���ҧ�ҡ�ҹ��û���ͧ �觡�û���ͧ�͡�� 2 ��ǹ
1. ��û���ͧ��ǹ��ҧ�����Ҫ�ҹջ���ͧẺ���ʴ��� ���ʹҺ�� 4 ���˹�
1.1 ���§ �բع���§�����˹�Ҵ��ŷء���آ�ͧ��ɮ�
1.2 �ѧ �բع�ѧ�����˹�� ���šԨ�����������Ǣ�ͧ�麾���Ҫ�ӹѡ��оԨ�ó�Ծҡ�Ҥ��
1.3 ��ѧ �բع��ѧ�����˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
1.4 �� �բع�������˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ������ǹ������ͧ
2.1 ���ͧ�١��ǧ�������ͧ˹�Ҵ�ҹ�����ͺ�Ҫ�ҹ� 4 ��� ��ҧ�ҡ�Ҫ�ҹ��������Թ�ҧ 2 �ѹ �����ҡ�ѵ�����觵�駾���Ҫ����������ҹ�ª���٧任���ͧ
2.2 ������ͧ���� ������ͧ�����������ͺ��й�� ���� ��Ҩչ���� �Ҫ���� ྪú��� ��� �բع�ҧ�ҡ���ͧ��ǧ任���ͧ
2.3 ������ͧ��鹹͡�������ͧ�������ҹ�� ���ͧ��Ҵ�˭�������ҧ�Ũҡ�Ҫ�ҹ�
2.4 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���Ҷ��µ����˹� 3 �յ�ͤ���

������ظ�ҵ͹��ҧ �������¡�û�Ѻ��ا��û���ͧ ���������¾�к�����š�Ҷ ��û�Ѻ��ا��û���ͧ �ִ��ѡ�������ӹҨ�������ٹ���ҧ ����ǹ�Ҫ����͡��
1. ��û���ͧ���ǹ��ҧ������ǹ�Ҫ�ҹ� �觡�û���ͧ�͡�� 2 ����
1.1 ���·��� �����ˡ����������˹�� ���ŷ��÷����Ҫ�ҳҨѡ�
1.2 ���¾����͹ �����˹�¡�����˹�� ����Ѻ�Դ�ͺ���ʴ��� 4 �������¹�������¡���� ��� ���§ �� ��ú��
�ѹ �� ����Ҹԡó�
�� �� �ɵ�Ҹ��Ҫ
��ѧ �� ��ҸԺ��

2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ �ô���¡��ԡ���ͧ�١��ǧ �Ѵ��û���ͧ�͡��
2.1 ������ͧ���� ����¹��������ͧ�ѵ�� �ռ�黡��ͧ��ͼ�����
2.2 ������ͧ��鹹͡ ����¹������ͧ��� �͡ � ��� ����ӴѺ�����Ӥѭ ��Т�Ҵ�ͧ���ͧ
2.3 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���ҵ����˹�

������ظ�ҵ͹���� �������¶�ǧ����ӹҨ ���������¾��ྷ�Ҫ� ���¹���ִẺ���ҧ��û���ͧẺ������稾�к�����š�Ҷ�ç��Ѻ��ا �������¡�ӹҨ���ˡ�����������˹�¡�������� ���
���ˡ����� - ����������ͧ�������������駷���繽��·�����о����͹
���˹�¡ - ����������ͧ�����˹�ͷ���������繽��·�����о����͹
�ٻẺ��û���ͧ�ͧ��ظ�� ������ͧ�Ҩ��֧�Ѫ��ŷ�� 5 �֧���ա�û���ٻ��û���ͧ��������


(����Ȣͧ��� � 204 ������԰ �Է���Ѱ ��Ф��)

ข้อใดคือเมืองประเทศราชในสมัยอยุธยาตอนกลาง

สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991 - 2231)

    เริ่มตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นต้นมา หลังจากที่ได้ผนวกเอาอาณาจักร สุโขทัยมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณา จักรอยุธยาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1981 ทำให้อาณาจักรมีขนาดกว้างขวางขึ้น ดูแลไม่ทั่วถึง จำเป็นต้องมีการปรับปรุงใหม่ มีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ จัดการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางและแยกกิจการฝ่ายพลเรือนกับ ฝ่ายทหารออกจากกันซึ่งได้ใช้เป็นแบบแผนจนถึงในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5)

1.การปกครองส่วนกลาง
     สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯ ให้มีตำแหน่งสมุหกลาโหม รับผิดชอบด้านการทหาร มีหน้าที่บังคัญชาตรวจตราการทหาร รวบรวมไพร่พลและเสบียงเตรียมพร้อมเมื่อมีศึก และสมุหนายก บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายพลเรือนและดูแลจตุสดมภ์ นอกจากนี้ยังได้ทรงตั้งหน่วยงานขึ้น จากเดิม 4 กรม เป็น 6 กรม ที่เพิ่มขึ้นมาอีก 2 กรม คือ

   1) กรมมหาดไทย มีพระยาจักรีศรีองครักษ์เป็นสมุหนายก มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่ควบคุมกิจการพลเรือนทั่วประเทศ

    2) กรมกลาโหม มีพระยามหาเสนาเป็นสมุหพระกลาโหม มีฐานะเป็นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าที่ควบคุมกิจการทหารทั่วประเทศ

         นอกจากนี้ใน 4 กรมจตุสดมภ์ที่มีอยู่แล้ว ทรงให้มีการปรับปรุงเสียใหม่ โดยตั้งชื่อกรมและเสนาบดีขึ้นมาใหม่เพื่อควบคุมและรับผิดชอบในแต่ละกรม ดังนี้

1.กรมเมือง (เวียง)  เปลี่ยนเป็น"นครบาล" มีพระนครบาลเป็นเสนาบดี  

 2.กรมวัง  เปลี่ยนเป็น"พระธรรมาธิกรณ์" มีพระธรรมาธิกรณ์เป็นเสนาบดี

 3.กรมคลัง  เปลี่ยนเป็น"โกษาธิบดี "มีพระโกษาธิบดีเป็นเสนาบดี      

 4.กรมนา  เปลี่ยนเป็น"เกษตราธิการ" มีพระเกษตราธิการเป็นเสนาบดี

         อนึ่ง เนื่องจากในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงย้ายที่ประทับไปที่ เมืองพิษณุโลก เป็นเวลา 25 ปี (พ.ศ. 2006 - 2031) หลังจากที่ทรงประทับอยู่ที่ราชธานีมาตั้งแต่ครองราชย์เป็นเวลา 15 ปี (พ.ศ. 1991 - 2006) ทำให้เมืองพิษณุโลกมีฐานะเป็นเมืองหลวงอยู่ระยะหนึ่งมีศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินอยู่ที่เมืองนี้ โดยให้เมืองอยุธยามีฐานะเป็นเมืองลูกหลวง กระทั่งมาถึงในรัชกาลต่อมา คือในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 จึงได้ย้ายราชธานี กลับมาอยู่ที่กรุงศรีอยุธยาตามเดิม

 2.การปกครองส่วนภูมิภาค

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกการปกครองแบบเดิมทั้งหมด แล้วจัดระบบใหม่ดังนี้

    1) หัวเมืองชึ้นใน ทรงยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่านทั้ง 4 ทิศที่เคยมีมา แล้วเปลี่ยนเป็นเมืองชั้นใน มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ผู้ปกครองเมืองเหล่านี้เรียกว่า ผู้รั้ง พระมหากษัตริย์จะเป็นผู้แต่งตั้งขุนนางในกรุงศรีอยุธยาไปทำหน้าที่ผู้รั้งเมือง ต้องรับคำสั่งจากในราชธานีไปปฏิบัติเท่านั้น ไม่มีอำนาจในการปกครองโดยตรง เมืองที่จัดให้เป็นหัวเมืองชั้นใน ได้แก่ ราชบุรี เพชรบุรี ปราณบุรี สมุทรสงคราม นครชัยศรี สุพรรณบุรี ชัยนาท นครสวรรค์ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี นครนายก

     2) หัวเมืองชั้นนอก ( เมืองพระยามหานคร) เป็นหัวเมืองที่อยู่ภายนอกราชธานีออกไป จัดเป็นหัวเมืองชั้นตรี โท เอก ตามขนาดและความสำคัญของหัวเมืองนั้น เมืองเหล่านี้มีฐานะเดียวกันกับหัวเมืองชั้นใน คือขึ้นอยู่ในการปกครองจากราชธานีเท่านั้น พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์หรือข้าราชการชั้นสูง เป็นผู้สำเร็จราชการเมือง ซึ่งมีอำนาจสิทธิ์ขาดในเมืองนั้น และมีกรมการพนักงานปกครองทุกอย่าง เช่น ในราชธานี

 -   หัวเมืองชั้นเอก ได้แก่ เมืองพิษณุโลก นครศรีธรรมราช

 -  หัวเมืองชั้นโท ได้แก่ เมืองสุโขทัย กำแพงเพชร

 - หัวเมืองชั้นตรี ได้แก่ พิจิตร พิชัย นครสวรรค์ ฉะเชิงเทรา พัทลุง รวมถึงเมืองขนาดเล็กอื่นๆ

     3) หัวเมืองประเทศราช ยังให้มีการปกครองเหมือนเดิม มีแบบแผนขนบธรรมเนียมเป็นของตนเอง มีเจ้าเมืองเป็นคนในท้องถิ่นนั้น ส่วนกลางจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว ในด้านการปกครอง เพียงแต่ต้องมีหน้าที่ต้องส่งต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง และเครื่องราชบรรณาการมาถวายพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาตามเวลาที่กำหนด และอาจ เกณฑ์ไพร่พลและสิ่งของมาช่วยราชการตามที่ราชธานีตามที่ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ลงไป หัวเมืองประเทศราชในสมัยนั้น ได้แก่ เขมร ปัตตานี มะละกา เชียงกราน ตะนาวศรี ทวาย

   นอกจากนี้ยังมีการปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งได้มีการแบ่งการปกครองเป็นหน่วยย่อย โดยแบ่งเป็น

 1) บ้าน หรือหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้าน มีผู้ว่าราชการเมืองเป็นหัวหน้า จากการเลือกตั้งจากหลายบ้าน

 2) ตำบล เกิดจากหลายๆ หมู่บ้านรวมกันมีกำนันเป็นหัวหน้า มีบรรดาศักดิ์เป็น พัน

 3) แขวง เกิดจากหลายๆ ตำบลรวมกัน มีหมื่นแขวงเป็นผู้ปกครอง

 4) เมือง เกิดจากหลายๆ แขวงรวมกัน มีผู้รั้งหรือพระยามหานครเป็นผู้ปกครอง

 ต่อมาในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ได้มีการปรับปรุงระเบียบการปกครองทางด้านการทหาร ได้แก่

1. การจัดทำสารบัญชี (หรือสารบาญชี) เพื่อให้ทราบว่ามีกำลังไพร่พลมากน้อยเพียงใด กรมสุรัสวดีมีหน้าที่ทำบัญชีหางว่าวและแยกประเภทว่าขุนนางมีเลข ในสังกัดเท่าใด เพื่อจะได้สะดวกในการเรียกเข้าประจำการ

2. สร้างตำราพิชัยสงคราม ซึ่งเป็นตำราที่ว่าด้วยการจัดทัพ การเดินทัพ การตั้งค่าย การจู่โจมและการตั้งรับ ส่วนหนึ่งของตำราได้มาจากทหารอาสาชาวโปรตุเกส

3. การทำพิธีทุกหัวเมือง ซักซ้อมความพร้อมเพรียงเพื่อสำรวจจำนวนไพร่พล ( คล้ายกับพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณต่อธงชัยเฉลิมพลในปัจจุบัน)