ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

และส่วนตัวไม้ทีประกบกันเป็นมุม 90 องศา ใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวนอน หรือเส้นระดับอย่างเดียวเท่า นั้น ซึ่งจะต้องใช้ร่วมกับโต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขียนแบบ พร้อมนี้จะต้องใช้ร่วมกับฉากสามเหลี่ยม (Set - Square) สำหรับลากเส้นให้เป็นมุมต่าง ๆ ลักษณะของไม้ฉากที หรือ T - Square ที่ดีนั้น หัวไม้ฉากทีต้องไม่โยกคลอนยึดติดกันแน่นกับก้านไม้ตัวขวางของไม้ฉากที ขอบบนของตัวไม้ฉากทีต้องเรียบและตรงไม่บิดงอ การเขียนเส้นนอน ต้องลากเส้นจากซ้ายไปขวาเสมอ หัวไม้ฉากทีแนบกับโต๊ะเขียนแบบด้านซ้ายมือจรดปลายดินสอให้เอนไปในทิศทางของการลากเส้นทำมุมกับกระดาษเขียนแบบเป็นมุม 60 องศา ขณะเดียวกันให้ดินสอเอนออกจากขอบบรรทัดเล็กน้อย เพื่อให้ปลายดินสออยู่ชิดขอบบรรทัดมากที่สุด ในขณะที่ลากเส้น ควรหมุนดินสอไปด้วย ซึ่งจะช่วยรักษาปลายไส้ดินสอ เป็นกรวยแหลม และช่วยให้เส้นดินสอโตสม่ำเสมอกัน


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


3. ฉากสามเหลี่ยม (Set - Square) ชุดหนึ่งมีอยู่ ๒ แบบ มีมุมต่างกันดังนี้ อันแรกเรียกว่า ฉาก 30 60, และ 90 องศา ส่วนอันที่ 2 เรียกว่า ฉาก 45,  และ 90 องศา การเขียนมุมของฉากสามเหลี่ยมทั้ง 2 อันนี้ จะต้องใช้ร่วมควบคู่กับไม้ฉากทีทุกครั้ง ในขณะทำการปฏิบัติงานเขียนแบบ ฉากสาม เหลี่ยมใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวดิ่ง และเส้นเอียงทำมุมต่าง ๆ เวลาเขียนเส้นดิ่งให้ลากดินสอขึ้นไปตามแนวดิ่ง จับดินสอให้เอนไปในทิศ ทางของการลากเส้น ทำมุม 60 องศา กับกระดานเขียนแบบ และให้ดินสอเอนออกจากตัวฉากสามเหลี่ยมเล็กน้อย

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



4. วงเวียน เป็นอุปกรณ์สำหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง ด้วยดินสอดำหรือหมึกก็ได้ วงเวียนมีหลายแบบ สามารถเลือกใช้แล้วแต่ความสำคัญของความต้องการในแต่กรณี วิธีเขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง ให้ปรับขาวงเวียนที่เป็นเหล็กแหลม ให้ยาวกว่าข้างที่เป็นไส้ดินสอเล็กน้อย ใช้ปลายแหลม ปักลงตรงจุดที่กำหนดให้เป็นศูนย์กลางของวงกลม ปรับขาวงเวียนจนกางได้ระยะเท่ากับรัศมีที่ต้องการจับก้านวงเวียนไว้ระหว่างนิ้วหัวแม่ มือกับนิ้วชี้ หมุนวงเวียนเอนไปในทิศทางของการลากเส้นเล็กน้อย พยายามเขียนวงกลมให้สมบูรณ์ โดยการหมุนวงเวียนไปเพียงครั้งเดียว

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


5. ดินสอดำ หรือดินสอเขียนแบบ (Drawing Pencil) ดินสอเขียนแบบทำด้วยไส้ดินสอที่มีระดับความแข็งต่างกันความแข็งของไส้ดินสอมีการระบุไว้บนแท่งดินสอด้วยตัวเลขและตัวอักษร ดินสอที่ใช้ในการเขียนแบบ ควรมีความอ่อนแข็งดังนี้ 2H, 3H, H, HB อย่างน้อยควรมี 4 แท่ง คือ ดินสอที่มีไส้อ่อนได้แก่เกรด F, HB ไส้ขนาดกลาง H – 2H ไส้แข็ง 4H – 5H ในงานเขียนแบบปัจจุบันนี้นิยมใช้ดินสอสำเร็จแบบไส้เลื่อน หรือไส้กด เพราะสะดวกรวดเร็ว ไม่เสียเวลาต่อการเหลาดินสอ มีความยาวคงที่ บรรจุไส้ใหม่สะดวก ทำให้งานสะอาด ไม่สกปรก    


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


6. ยางลบ ควรเป็นยางลบชนิดนุ่ม ๆ มีคุณภาพใช้ลบดินสอดำที่เขียนผิด หรือลบในสิ่งที่ต้องการจะลบ

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

7. กระดาษเขียนแบบ มีทั้งขนาดความหนา 80 ปอนด์ ถึง 100 ปอนด์ เป็นชนิดไม่มีเส้นขนาดความกว้างความยาวแล้วแต่จะต้องการเขียนหรือต้องการใช้ขั้นตอนการติดกระดาษเขียนแบบที่ปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอนต่าง ๆ


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


8. ผ้ายาง หรือเทปกาว (Scotch Tape) ใช้ติดกระดาษเขียนแบบกับโต๊ะเขียนแบบ หรือกระดานเขียนแบบให้แน่นในขณะเขียนแบบทุกครั้ง เพื่อป้องกันกระดาษเลื่อน การติดกระดาษเขียนแบบที่ถูกวิธีนั้น ต้องติดขวางมุม

แบบงานที่ถูกต้องสมบูรณ์นั้น นอกจากจะอาศัยทักษะของผู้เขียนแบบแล้ว เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบก็มีส่วนสำคัญ และมีส่วนช่วยให้การเขียนแบบได้แบบงานที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ทำให้ช่างเทคนิคหรือผู้ผลิตสามารถเข้าใจรายละเอียดต่างๆ และนำไปผลิตให้ได้งานที่มีคุณภาพตามต้องการ การเขียนแบบที่ถูกต้องชัดเจนมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ ผู้เขียนต้องมีประสบการณ์และความชำนาญการใช้เครื่องมือที่ถูกต้อง ซึ่งเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบมีดังนี้

1 ชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
ในงานเขียนแบบทั่วไป แบบงานจะสำเร็จสมบูรณ์ได้มาตรฐาน นอกจากจะต้องใช้ทักษะของผู้ปฏิบัติงานแล้ว เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบ ก็มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะ เครื่องมือมีส่วนที่จะช่วยให้งานเขียนแบบมีคุณภาพได้มาตรฐาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบพื้นฐานประกอบด้วย
1. โต๊ะเขียนแบบและกระดานเขียนแบบ
การเขียนแบบทางอุตสาหกรรมขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่จะใช้โต๊ะเขียนแบบซึ่งมีโครงสร้างแตกต่างกันไป แล้วแต่บริษัทผู้ออกแบบ แต่โดยทั่วไปจะมีความสูงเป็นมาตรฐานเดียวกัน หรือบางชนิดอาจปรับความสูงให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ พื้นโต๊ะจะเรียบเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขอบด้านข้างตรงและได้ฉาก มีขนาดต่างกัน ที่นิยมใช้มากที่สุดคือ 500 x 600 มม. (ดังรูป 2.1)
กระดานเขียนแบบ ส่วนมากใช้สำหรับงานสนาม แต่ก็ใช้ในโรงเรียนบ้างเหมือนกัน ในกรณีที่ไม่มีโต๊ะเขียนแบบ(ดังรูป 1.1)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.1 โต๊ะเขียนแบบมาตรฐาน

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.2 กระดานเขียนแบบ

2. อุปกรณ์ที่ใช้ขีดเส้น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการขีดเส้น ได้แก่ ไม้ที บรรทัดสามเหลี่ยม และบรรทัดสเกล
2.1 ไม้ที เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการเขียนแบบ ไม้ที มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนหัว และ ส่วนใบ ทำจากไม้เนื้อแข็ง หรือ พลาสติกใส ทั้ง 2 ส่วน จะยึดตั้งฉากกัน ไม้ที ใช้สำหรับขีดเส้นในแนวนอน และใช้ประกอบกับฉากสามเหลี่ยม ขีดเส้นในแนวตั้งฉาก และขีดเส้นเอียงทำมุมต่างๆ (ดังรูป 2.3)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.3 ไม้ที และลักษณะการใช้งาน

2.2 บรรทัดสามเหลี่ยม โดยทั่วไปทำจากพลาสติกใส เพื่อจะได้มองเห็นส่วนอื่นๆ ของแบบได้อย่างชัดเจน บรรทัดสามเหลี่ยมใช้สำหรับขีดเส้นดิ่งและเส้นเอนทำมุมต่างๆ ปกติจะใช้คู่กับ ไม้ที มี 2 แบบ คือ แบบตายตัว ซึ่งมีค่ามุม 45-90-45 องศา กับค่ามุม 30-90-60 องศา และแบบปรับมุมต่างๆ ได้ (ดังรูป 2.4)
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
บรรทัดสามเหลี่ยม 30-60 องศาบรรทัดสามเหลี่ยม 45 องศาบรรทัดสามเหลี่ยม แบบปรับมุมได้

รูปที่ 2.4 ลักษณะของสามเหลี่ยมแบบต่างๆ

2.3 บรรทัดมาตราส่วน ใช้วัดขนาด มีความยาวต่างกัน ตั้งแต่ 150, 300, 400, และ 600 มิลลิเมตร มีมาตราส่วนต่างๆ เพื่อใช้เขียนรูปได้หลายขนาด คือ


             - มาตราส่วนขนาดเท่าของจริง 1 : 1


             - มาตราส่วนย่อ 1 : 2, 1 : 5, 1 : 10, 1 : 100, 1 : 1000 เป็นต้น

             - มาตราส่วนขยาย 2 : 1, 5 : 1, 10 : 1, 100 : 1, 1000 : 1 เป็นต้น

มาตราส่วนเท่าของจริง, มาตราส่วนย่อ, หรือมาตราส่านขยาย จะนำไปใช้งานในแต่ละประเภทไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะงาน (ดังรูป 2.5)



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.5 บรรทัดมาตราส่วน

3. อุปกรณ์เขียนส่วนโค้ง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนส่วนโค้งมีหลายแบบขึ้นอยู่กับลักษณะงานและการนำไปใช้ เช่น วงเวียน แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ วงเวียนที่ใช้เขียนส่วนโค้ง และวงเวียนที่ใช้ถ่ายขนาด เป็นต้น
3.1 วงเวียน เป็นอุปกรณ์สำหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง วงเวียนมีหลายแบบ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน (ดังรูป 2.6)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

ลักษณะวงเวียน
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

หมุนส่วนโค้งตามเข็มนาฬิกา

รูปที่ 2.6 วงเวียนที่ใช้ในการเขียนแบบ

3.2 วงเวียนถ่ายขนาด เป็นวงเวียนที่มีปลายแหลม 2 ข้าง วงเวียนชนิดนี้ใช้สำหรับถ่ายขนาด ที่วัดขนาดจากฟุตเหล็ก หรือฉากสามเหลี่ยม แล้วนำไปถ่ายลงบนแบบทำให้สามารถแบ่งเส้นตรง แบ่งวงกลม ให้มีขนาดเท่าๆ กันได้สะดวกและรวดเร็วง่ายต่อการเขียนแบบ (ดังรูป 2.7)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.7 วงเวียนถ่ายขนาด

3.3 บรรทัดเขียนส่วนโค้ง (Curves) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการเขียนส่วนโค้งชนิดหนึ่ง การใช้บรรทัดส่วนโค้งจะต้องใช้ส่วนโค้งของบรรทัดสัมผัสจุด อย่างน้อย 3 จุด เพื่อให้ได้ส่วนโค้งที่ดี มีความต่อเนื่อง ซึ่งต่างกับการใช้วงเวียนที่มีระยะรัศมีเท่ากันทุกจุดของเส้นโค้งนั้นๆ แผ่นโค้งนี้ให้ความสะดวกในการทำงานสูง ซึ่งผู้ใช้เองก็ต้องระมัดระวังในการใช้งานให้ดี หมุนปรับให้ได้ตำแหน่ง ก่อนที่จะทำการลากเส้นโค้งนั้น แผ่นเขียนโค้งและการเขียนโค้งโดยใช้แผ่นเขียนโค้งในรูปแบบต่างๆ (ดังรูป 2.8)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

บรรทัดเขียนส่วนโค้ง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

ลักษณะการเขียนบรรทัดส่วนโค้ง

รูปที่ 2.8 แผ่นเขียนโค้งแบบต่างๆ ที่ใช้งาน

4. กระดาษเขียนแบบ
กระดาษเขียนแบบที่นิยมใช้ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบนิ้ว และ ระบบมิลลิเมตร ต่อมาได้ปรับปรุงให้เป็นระบบสากล โดยใช้ระบบ ISO (International System Organization) ซึ่งยอมรับทั้งระบบอเมริกันและยุโรป นอกจากนั้น ประเทศไทยยังได้ผลิตมาตรฐานเป็น (มอก.) โดการเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกลซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับมาตรฐาน ISO ซึ่งมาตรฐานของกระดาษในระบบต่างๆ ได้แสดงไว้ใน (ตารางที่ 1)



ตารางที่ 1 ขนาดกระดาษเขียนแบบ
เมตริก (มิลลิเมตร)อังกฤษ (นิ้ว)ขนาดกว้าง x ยาวขนาดกว้าง x ยาวA0814 x 1,189E34 x 34A1594 x 841D22 x 34A2420 x 594C17 x 22A3297 x 420B11 x 17A4210 x 297A8.50 x 11A5148 x 210-5.83 x 8.27A6105 x 148-4.13 x 5.83

กระดาษเขียนแบบขนาด A0 ขนาด 841 x 1189 ม.ม. สามารถแบ่งได้เป็นขนาด A1 จำนวน 2 แผ่น และถ้านำกระดาษ A1 มาแบ่งจะได้กระดาษ A2 จำนวน 2 แผ่น ........... ดังนั้น สามารถแบ่งกระดาษได้จนถึง A6 (ดังรูป 2.9)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.9 แสดงสัดส่วนการแบ่งกระดาษ A0-A6

ตารางรายการ เป็นตารางบอกรายละเอียดของชิ้นงานแต่ละชิ้นที่ประกอบกันหลายชิ้น เช่น จำนวนที่ใช้ ชื่อชิ้นงาน ขนาดวัสดุ ประเภทของวัสดุที่ใช้ หมายเลขแบบ ผู้เขียน และผู้ตรวจ สามารถจำแนกได้ตามลักษณะการใช้งานในสถานศึกษา หรือสถานประกอบการ (ดังรูป 2.10)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.10 แสดงตารางประกอบแบบ

5. ดินสอเขียนแบบ
เป็นเครื่องมือที่ใช้ขีดเส้นบนกระดาษเขียนแบบ เพื่อแสดงรูปร่างต่างๆ ให้เป็นแบบที่ใช้งาน ดินสอเขียนแบบสามารถแบ่งได้เป็นหลายชนิดคือ



5.1 ดินสอชนิดเปลือกไม้ (ดังรูป 2.11)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.11 ดินสอชนิดเปลือกไม้

5.2 ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้ได้ จะเป็นดินสอที่มีโครงด้ามเป็นโลหะ หรือพลาสติก และใส่ไส้ดินสออยู่ข้างใน ดินสอชนิดนี้จะมีการออกแบบมาใช้งานไว้มากมายหลายชนิด (ดังรูป 2.12 และ 2.13)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


รูปที่ 2.12 ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.13 ดินสอชนิดเปลี่ยนไส้แบบไส้เข็ม และขนาดของไส้ดินสอ


เกรดใส้ดินสอ แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 3 เกรด คือ


         - ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard)

         - ดินสอที่มีไส้แข็งปานกลาง (Medium)

         - ดินสอแบบไส้อ่อน (Soft)

แล้วจึงแบ่งย่อยตามลำดับความแข็งอ่อนของแต่ละกลุ่ม โดยใช้วิธีให้ตัวเลขเป็นตัวกำหนดร่วมกับตัวอักษร ดังนี้

1. ดินสอที่มีไส้แข็งมาก (Hard) มีตั้งแต่ เบอร์ 9H-4H ใช้สำหรับขีดเส้นร่างรูป เส้นที่ใช้เขียนต้องเป็นเส้นบาง เช่น ร่างรูป เส้นบอกขนาด และเส้นช่วยบอกขนาด (ดังรูป 2.13)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.13 ดินสอไส้แข็ง

2. ดินสอที่มีไส้แข็งปานกลาง (Medium) มีตั้งแต่ เบอร์ 3H-B ใช้สำหรับใช้สำหรับงานเขียนแบบงานสำเร็จรูป เช่น เส้นขอบชิ้นงาน เส้นแสดงแนวตัด และสัญลักษณ์แนวเชื่อม (ดังรูป 2.14)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.14 ดินสอไส้แข็งปานกลาง

3. ดินสอแบบไส้อ่อน (Soft) มีตั้งแต่ เบอร์ 2B-7B ใช้ในงายศิลปะ วาดภาพ แรเงา ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้ในการเขียนแบบ (ดังรูป 2.15)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.15 ดินสอไส้อ่อน

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.16 ลักษณะปลายดินสอที่ใช้ในงานเขีบนแบบ

6. ปากกาเขียนแบบ
ปากกาเขียนแบบในปัจจุบันนิยมใช้ปากกาเขียนแบบหมึกซึม ขนาดความโตของปากกาเขียนแบบจะมีขนาดเท่าขนาดของเส้นมาตรฐานสากลที่ใช้ในงานเขียนแบบ (ดังรูป 2.17)



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.17 ปากกาเขียนแบบ

7. อุปกรณ์ทำความสะอาด
แบบงานที่มีคุณภาพนั้น นอกจากจเขียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ได้มาตรฐานแล้วนั้น แบบงานจะต้องสะอาด ดังนั้นอุปกรณ์ทำความสะอาดจึงมีความจำเป็นมาก เช่น 


7.1 แปรงปัด เป็นแปรงขนอ่อนใช้สำหรับปัดฝุ่นบนกระดาษเขียนแบบ และปัดเศษยางลบ (ดังรูป 2.18)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.18 แปรงปัดฝุ่น ทำความสะอาดงานเขียนแบบ

7.2 ยางลบ ใช้สำหรับลบงาน มีลักษณะเป็นยางอ่อนซึ่งจะไม่ทำให้กระดาษเป็นขุยหรือเป็นรอย (ดังรูป 2.19)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.19 ยางลบดินส

7.3 แผ่นกันลบ ทำจากโลหะบางเบา เจาะรูไว้หลายลักษณะ ใช้กันลบตรงบริเวณที่ขีดเส้นผิดพลาด (ดังรูป 2.20)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.20 แผ่นกันลบ

    2 การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ
1. การติดกระดาษเขียนแบบ
การติดกระดาษเขียนแบบควรติดด้วยเทปสำหรับติดกระดาษโดยเฉพาะ เพื่อความะดวกในการแกะแบบ และป้องกันมุมของกระดาษเสียหายเนื่องจากการแกะแบบ การติดกระดาษควรจัดกระดาษให้ขนานกับโต๊ะเขียนแบบ โดยใช้ ไม้ที เป็นเครื่องตรวจสอบความขนานของกระดาษ จากนั้นใช้เทปติดกระดาษที่มุมบนทั้งสองข้าง แล้วเลื่อนไม้ทีลงไปข้างล่าง ซึ่งไม้ทีจะช่วยกดกระดาษให้เรียบกับพื้นโต๊ะ จากนั้นจึงใช้เทปติดมุมกระดาษข้างล่างทั้งสองข้าง (ดังรูป 2.21)



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.21 จัดกระดาษให้ขนานกับไม้ที ติดเทปยึดกระดาษเขียนแบบ

2. การใช้ไม้ที ประกอบการขีดเส้นด้วยบรรทัดสามเหลี่ยม
การขีดเส้นตรงในแนวนอนจะใช้ไม้ทีแนบกับขอบโต๊ะเขียนแบบ พร้อมทั้งหมุนดินสอช้าๆ ขณะลาดเส้น ดินสอจะเอียงทำมุม 60 องศา กับกระดาษเขียนแบบ(ดังรูป 2.22, 2.23 และ 2.24)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.22 การขีดเส้นตรงในแนวนอน

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.23 การขีดเส้นตรงในแนวดิ่ง

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.24 ลักษณะ วิธีการใช้ไม้ทีและบรรทัดสามเหลี่ยมประกอบการขีดเส้น


3. การใช้วงเวียน เขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง

          วิธีการเขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง ให้ปรับขาวงเวียนข้างที่เป็นเหล็กแหลมยาวกว่าข้างที่เป็นไส้เล็กน้อย เพราะปลายแหลมต้องปรับจมลงในกระดาษ เมื่อปรับได้รัศมีที่ต้องการแล้ว ให้จับด้านวงเวียนด้วยนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ หมุนวงเวียนตามเข็มนาฬิกา และให้เอนวงเวียนไปในทิศทางของการลากเส้นเล็กน้อย พยายามหมุนวงเวียนเพียงครั้งเดียว เพื่อให้ได้เส้นที่คมและสมบูรณ์ (ดังรูป 2.25)



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.25 การใช้วงเวียนเขียนส่วนโค้ง


             การใช้วงเวียนวัดระยะหรือดิไวเดอร์ ต้องระวังอย่ากดแรงเกินไป เพราะจะทำให้เกิดรูที่ไม่เรียบร้อยบนกระดาษ และจะทำให้วงเวียนถ่างออกเสียระยะอีกด้วย

             การหมุนดิไวเดอร์ควรหมุนสลับข้างซ้ายขวาของเส้นตรง เพื่อหักล้างความคลาดเคลื่อนสะสมใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น (ดังรูป 2.26)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 2.26 การใช้งานของวงเวียนถ่ายขนาดวัดระยะ


ประเภทของการเขียนเเบบ

           งานเขียนแบบ มีความสำคัญสำหรับช่างทุกช่าง ซึ่งจะต้องมีการออกแบบ เขียนแบบทุกครั้งที่จะทำการผลิตชิ้นงานออกมา จึงพูดได้ว่างานเขียนแบบเป็นหัวใจของช่างทุกชนิด ในสมัยโบราณการเขียนแบบไม่เจริญเหมือนสมัยนี้ แต่ช่างพยายามถ่ายทอดความคิดลงในแผ่นหิน โดยมิได้แยกชิ้นส่วนให้เห็นชัด ตามชนบทเมื่อมีการปลูกสร้างบ้านก็มีการเขียนแบบแปลนบ้านตามพื้นดินในบริเวณปลูกสร้าง ซึ่งจะดีกว่าที่จะทำโดยไม่มีแบบแผนเลย




          การกำเนิดของการเขียนแบบไม่มีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับวัน เวลาที่ชัดเจน การเขียนแบบสันนิษฐานว่า เกิดขึ้นในหมู่มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ เพราะจะสังเกตจากถิ่นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ จะบันทึกโดยการเขียนเส้นหรือภาพไว้บนก้อนหิน ผนังถ้ำ เมื่ออารยธรรมได้รับการพัฒนา มีการคิดค้นและสร้างเครื่องมือ และเครื่องใช้ที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวันมากขึ้น จากผลงานการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ของ นักวิทยาศาสตร์ โดยการแสดงออกด้วยแนวความคิดถ่ายทอดมาเป็นกราฟิกแล้วค่อยๆพัฒนาจนเป็นระบบที่ทันสมัย โดยคำนึงถึงประสิทธิภาพสูงสุด ดังจะเห็นได้ทุกวันนี้ 

          ฉะนั้นการเขียนแบบก็เป็นวิชาหนึ่ง ซึ่งใช้กันในงานอุตสาหกรรมทั่วโลก เพื่อแสดงรูปร่างและลักษณะของสิ่งที่ต้องการผลิตออกมา วิชาเขียนแบบเป็นวิชาที่ไม่มีคำอธิบายบอกรูปลักษณะ และขนาดของสิ่งของ แต่วิชาเขียนแบบเป็นการแสดงให้เห็นภาพอย่างแจ่มชัด ทั้งลักษณะรูปร่าง ขนาด ทุกส่วนอยู่แล้ว ดังนั้นการเขียนแบบเป็นสิ่งที่จะขาดไม่ได้ในงานช่างและงานสร้างสรรค์


                  ลักษณะอาชีพงานเขียนแบบ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

       1. การเขียนแบบทางวิศวกรรม ( Engineering Drawing ) นำเอาไปใช้ในงานเครื่องจักรกลมากกว่าอย่างอื่น การเขียนแบบชนิดนี้แยกออกได้ดังนี้

             1.1 การเขียนแบบเครื่องกล

             1.2 การเขียนแบบงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า

             1.3 การเขียนแบบเครื่องยนต์

             1.4 การเขียนแบบงานแผนที่และช่างสำรวจ

             1.5 การเขียนแบบงานช่างกลและโลหะแผ่น

        2. การเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม ( Architectural Drawing ) เป็นการเขียนแบบทางด้านก่อสร้าง แยกงานเขียนแบบชนิดนี้ออกได้ดังต่อไปนี้

             2.1 การเขียนแบบโครงสร้าง

             2.2 การเขียนแบบสัดส่วนของรูปต่างๆ

             2.3 การเขียนแบบภาพหวัด


         การเขียนแบบ มีความหมาย คือ การเขียนรูปลงในกระดาษเขียนแบบ ซึ่งมีคำอธิบายไว้ในแบบอย่างพร้อมมูล โดยการเขียนรูปสัญลักษณ์ หรือเส้นลงไว้ในแบบ ซึ่งทำให้ผู้นำเอาไปสร้างของจริงขึ้นมาได้ การเขียนแบบเทคนิค เป็นวิชาชีพหนึ่งที่ต้องมีความรู้ทางทฤษฎีประกอบ เช่น ช่างอุตสาหกรรมทุกสาขา คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ และอื่นๆมาประยุกต์เป็นรูปแบบภาพลายเส้นที่มีสัญลักษณ์ประกอบ เพื่อนำมาแสดงให้ผู้อ่านแบบงานได้เข้าใจความหมายได้รวดเร็ว โดยไม่ต้องมีคำบรรยายประกอบมากมาย ทำให้การทำงานได้รวดเร็วขึ้น ผู้เขียนแบบจะต้องเป็นผู้ถ่ายทอดความคิด หรือเสนอความคิดของตนเอง และเขียนภาพสเก็ตซ์จากวิศวกร สถาปนิก และนักวิทยาศาสตร์ให้มาเป็นภาพเขียนแบบเทคนิคที่จะนำมาใช้ในการผลิตและสร้างในการสเก็ตซ์ภาพหรือเขียนแบบที่กำหนดให้มีมาตราส่วนและแสดงรายละเอียด บางครั้งผู้เขียนแบบอาจจะต้องคำนวณความแข็งแรง คุณภาพ ปริมาณ และราคาวัสดุ ก่อนที่จะเริ่มเขียนแบบ เราควรจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับเครื่องมืออุปกรณ์ในสำหรับเขียนแบบ และวิธีใช้ให้ดี เพื่อให้ได้ผลงานเรียบร้อยรวดเร็ว ประหยัดเวลาในการทำงาน ตลอดจนการบำรุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบให้มีสภาพดีอยู่ได้นาน การใช้เครื่องมืออุปกรณ์เครื่องมือเขียนแบบและหน้าที่วิธีการใช้   

มีดังนี้


         1.โต๊ะเขียนแบบ หรือกระดานเขียนแบบ ( Drawing Board ) ใช้รองกระดาษเขียนแบบ ในกรณีที่ไม่มีโต๊ะเขียนแบบ ให้ใช้กระดานเขียนแบบแทนก็ได้


            
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
 
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


        2.ไม้ฉากรูปตัวที ( T - Square ) มีลักษณะคล้ายรูปตัว T ซึ่งมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนหัว ( Fixed Head ) และส่วนตัวไม้ทีประกบกันเป็นมุม 90 องศา ใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวนอน หรือเส้นระดับอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งจะต้องใช้ร่วมกับโต๊ะเขียนแบบหรือกระดานเขียนแบบ พร้อมนี้จะต้องใช้ร่วมกับฉากสามเหลี่ยม (Set - Square)สำหรับลากเส้นให้เป็นมุมต่างๆ ลักษณะของไม้ฉากที หรือ T - Square ที่ดีนั้น หัวไม้ฉากทีต้องไม่โยกคลอน ยึดติดกันแน่นกับก้านไม้ตัวขวางของไม้ฉากที ขอบบนของตัวไม้ฉากทีต้องเรียบและตรงไม่บิดงอ การเขียนเส้นนอนต้องลากเส้นจากซ้ายไปขวาเสมอ หัวไม้ฉากทีแนบกับโต๊ะเขียนแบบด้านซ้ายมือจรดปลายดินสอให้เอนไปในทิศทางของการลากเส้นทำมุมกับกระดาษเขียนแบบเป็นมุม 60 องศา ขณะเดียวกันให้ดินสอเอนออกจากขอบบรรทัดเล็กน้อย เพื่อให้ปลายดินสออยู่ชิดขอบบรรทัดมากที่สุด ในขณะที่ลากเส้น ควรหมุนดินสอไปด้วย ซึ่งจะช่วยรักษาปลายไส้ดินสอเป็นกรวยแหลม และช่วยให้เส้นดินสอโตสม่ำเสมอกัน


                   
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
           
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

        3.ฉากสามเหลี่ยม ( Set - Square ) ชุดหนึ่งมีอยู่ 2 แบบ มีมุมต่างกันดังนี้ อันแรกเรียกว่า ฉาก 30 60, และ 90 องศา ส่วนอันที่ 2 เรียกว่า ฉาก 45, 45, และ 90 องศา การเขียนมุมของฉากสามเหลี่ยมทั้ง 2 อันนี้ จะต้องใช้ร่วมควบคู่กับไม้ฉากทีทุกครั้ง ในขณะทำการปฏิบัติงานเขียนแบบ ฉากสามเหลี่ยมใช้สำหรับเขียนเส้นตรงในแนวดิ่ง และเส้นเอียงทำมุมต่างๆ เวลาเขียนเส้นดิ่งให้ลากดินสอขึ้นไปตามแนวดิ่ง จับดินสอให้เอนไปในทิศทางของการลากเส้น ทำมุม 60 องศา กับกระดานเขียนแบบ และให้ดินสอเอนออกจากตัวฉากสามเหลี่ยมเล็กน้อย


                       
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
            
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



      4.วงเวียน เป็นอุปกรณ์สำหรับเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง ด้วยดินสอดำหรือหมึกก็ได้ วงเวียนมีหลายแบบ สามารถเลือกใช้แล้วแต่ความสำคัญของความต้องการในแต่กรณี วิธีเขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง ให้ปรับขาวงเวียนที่เป็นเหล็กแหลม ให้ยาวกว่าข้างที่เป็นไส้ดินสอเล็กน้อย ใช้ปลายแหลม ปักลงตรงจุดที่กำหนดให้เป็นศูนย์กลางของวงกลม ปรับขาวงเวียนจนกางได้ระยะเท่ากับรัศมีที่ต้องการจับก้านวงเวียนไว้ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ หมุนวงเวียนเอนไปในทิศทางของการลากเส้นเล็กน้อย พยายามเขียนวงกลมให้สมบูรณ์ โดยการหมุนวงเวียนไปเพียงครั้งเดียว



                      
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
      
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



        5. ดินสอดำ หรือดินสอเขียนแบบ ( Drawing Pencil ) ดินสอเขียนแบบทำด้วยไส้ดินสอที่มีระดับความแข็งต่างกัน ความแข็งของไส้ดินสอมีการระบุไว้บนแท่งดินสอด้วยตัวเลขและตัวอักษร ดินสอที่ใช้ในการเขียนแบบ ควรมีความอ่อนแข็งดังนี้ 2H, 3H, H, HB อย่างน้อยควรมี 4 แท่ง คือ ดินสอที่มีไส้อ่อนได้แก่เกรด F, HB ไส้ขนาดกลาง H – 2H ไส้แข็ง 4H – 5H ในงานเขียนแบบปัจจุบันนี้นิยมใช้ดินสอสำเร็จแบบไส้เลื่อน หรือไส้กด เพราะสะดวกรวดเร็วไม่เสียเวลาต่อการเหลาดินสอ มีความยาวคงที่ บรรจุไส้ใหม่สะดวก ทำให้งานสะอาด ไม่สกปรก



             
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



      6. ยางลบ ควรเป็นยางลบชนิดนุ่มๆมีคุณภาพใช้ลบดินสอดำที่เขียนผิด หรือลบในสิ่งที่ต้องการจะลบ



             
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



         7. กระดาษเขียนแบบ มีทั้งขนาดความหนา 80 ปอนด์ ถึง 100 ปอนด์ เป็นชนิดไม่มีเส้นขนาดความกว้างความยาว แล้วแต่จะต้องการเขียนหรือต้องการใช้ขั้นตอนการติดกระดาษเขียนแบบที่ปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอนต่างๆ มีดังนี้ ให้นำกระดาษเขียนแบบที่มีขนาดต่างๆตามความต้องการเขียนแบบวางลงบนพื้นกระดานโต๊ะเขียนแบบหรือแผ่นกระดานรองกระดาษเขียนแบบ โดยให้พอเหมาะกับผู้ที่จะเขียนแบบทำการเขียนแบบมีความคล่องตัวในการเขียนแบบ กระดาษเขียนแบบจะต้องวางไม่สูงเกินไปจนเกือบจะชิดกับขอบด้านบนของโต๊ะเขียนแบบ,แผ่นกระดานรองกระดาษเขียนแบบหรือวางต่ำลงมาจนเกือบชิดขอบด้านล่างของโต๊ะ,แผ่นกระดานรองกระดาษเขียนแบบ กระดาษเขียนแบบให้ห่างจากขอบโต๊ะเขียนแบบทางด้านซ้ายมือประมาณ 1 ผ่ามือ หรือ 10 - 15 เซนติเมตร จากนั้นให้นำไม้ฉากที (T-Square) วางทับบนกระดาษเขียนแบบ โดยให้หัวของไม้ฉากทีแนบชิดกับขอบโต๊ะเขียนแบบด้านซ้ายมือ ซึ่งบรรทัดยาวไม้ฉากทีจะทำมุมฉากกับขอบโต๊ะเขียนแบบ ใช้ฉากสามเหลี่ยม (Set-Square) วางบนขอบบรรทัดไม้ฉากที ให้ขอบด้านมุมฉากของฉากสามเหลี่ยมอยู่ในแนวเดียวกันกับขอบด้านซ้ายกระดาษเขียนแบบ และฉากสามเหลี่ยมทำมุมฉากกับไม้ฉากที จัดขอบกระดาษเขียนแบบให้อยู่ในแนวเดียวกันกับด้านมุมฉากของฉากสามเหลี่ยม เมื่อจัดเข้าที่เรียบร้อยแล้วให้ติดมุมกระดาษเขียนแบบทั้ง 4 ด้าน ด้วยกระดาษกาวหรือเทปใส (Scottape) โดยให้ติดขวางมุม แต่จะต้องติดลึกเข้าไปในพื้นที่กระดาษเขียนแบบมากนัก การติดขวางมุมเพื่อป้องกันกระดาษเขียนแบบ หลุดออกได้ง่ายขณะทำการเขียนแบบ เมื่อติดมุมกระดาษเขียนแบบเรียบร้อยแล้ว ยกเครื่องมือเขียนแบบออก ก็จะได้การติดกระดาษเขียนแบบที่ถูกต้องและใช้ในการเขียนแบบต่อไป



          8. ผ้ายาง หรือเทปกาว ( Scotch Tape ) ใช้ติดกระดาษเขียนแบบกับโต๊ะเขียนแบบ หรือกระดานเขียนแบบให้แน่นในขณะเขียนแบบทุกครั้ง เพื่อป้องกันกระดาษเลื่อน การติดกระดาษเขียนแบบที่ถูกวิธีนั้น ต้องติดขวางมุมกระดาษเขียนแบบทั้ง 4 มุมกระดาษ


                

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
     



             9. บรรทัดโค้ง ( Irregular Curves ) บรรทัดโค้งใช้สำหรับเขียนเส้นโค้งที่วงเวียนไม่สามารถเขียนได้ โดยทำการจุดไว้ให้ได้ 3 จุด แล้วลากเส้นผ่านตามจุดนั้นๆตามบรรทัดโค้งเลื่อนบรรทัดโค้งความโค้งตามไปครั้งละ 3 จุด จนกว่าจะได้รูปตามต้องการ


                       

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
     
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

             10. บรรทัดสเกล ( Scale ) ใช้สำหรับย่อส่วนตามต้องการ มีลักษณะเป็นแท่งสามเหลี่ยม 6 ด้าน ในแต่ละด้านจะมีมาตราส่วนย่อไว้ดังนี้ 1 : 20, 1 : 25, 1 : 50, 1 : 75, และ 1 : 100

                
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง




             
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

วิธีการเขียนภาพ 2 มิติ


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


            เริ่มต้นฝึกฝนจากการลากเส้นตรง เส้นตั้ง เส้นนอน เส้นเฉียง โดยกำหนดจุดต้นและปลายขึ้นมา จากนั้นเล็งให้ตรงและลากผ่านทั้ง 2 เส้น


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



การฝึกลากเส้นโค้ง โดยกำหนดจุดไว้อ้างอิง 3 จุดและให้แต่ละครั้งที่ลากเส้นมีการเหลื่อมกันเล็กน้อย



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



            ฝึกการลากเส้นโค้งโดยมีโครงสร้างของรูปทรงในใจเนื่องจากเมื่อออกแบบเสร็จ งานของเราสามารถกำหนดระยะได้อย่างแม่นยำ ทำให้สามารถผลิตในระบบอุตสาหกรรมได้ง่าย



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



ภาพนี้แสดงโครงสร้างรูปทรงที่ซ่อนอยู่ในเส้นโค้งเช่น วงกลม วงรี



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



         ภาพ PERSPECTIVE ประกอบด้วยเส้นระดับสายตา HORIZON LINE (H.L.) และจุดสายตา VIEW POINT (V.P.) 1 POINT PERSPECTIVE ลักษณะการเขียนจะเห็นด้านระนาบของวัตถุเช่นด้านหน้าหรือด้านข้างเป็น 2 มิติ จากนั้นลากเส้นความลึกเข้าไปในจุด V.P. ดังภาพ



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


2 POINT PERSPECTIVE เริ่มจากการเขียนเส้นระดับาสยตา จากนั้นกำหนดจุดV.P.ซ้ายขวาทั้งสองจุด เริ่มเขียนเส้นสันของกล่องก่อน จากนั้นให้ลากไปที่จุด V.P.ทั้งสองจุด เพื่อกำหนดระยะความลึก


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



3 POINT PERSPECTIVE จะคล้ายการเขียน 2 POINT จะต่างกันตรงที่เส้นตั้งจะลากไปยังจุด V.P.3



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



           ฝึกเขียนกล่องในมุมมองต่างๆตั้งแต่ 1,2,3 จุด และจินตนาการถึงการลากเส้นระดับสายตาและจุดสายตาในสมอง ฝึกเขียนกล่องตามหลักการนี้ให้คล่อง



การกำหนดระยะให้วัตถุ

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



          เมื่อรู้จักกับภาพ PERSPECTIVE แล้ว ก็มาถึงขั้นตอนการกำหนดระยะพิกัด ให้กับกล่องโดยให้มีระยะเท่ากันและให้ความลึกเป็นระยะลดหลั่นกันไปตามระยะทางใกล้ไกล เริ่มโดยการเขียนกล่องแรกให้สมบูรณ์จากนั้นเขียนเส้นทะแยงมุมเพื่อหาจุดศูนย์กลางของกล่อง ลากเส้นผ่านจุดศูนย์กลางกล่องขนานไปกับขอบบน ขอบล่างของกล่อง จากนั้นให้ลากเส้นจากมุมกล่องผ่านเส้นตัดกึ่งกลางที่ตัดกับเส้นสันของกล่อง ไปตัดกับสันอีกครั้งหนึ่งจะได้ระยะที่เท่ากันของอีกกล่อง




การเขียนแสง - เงา

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


            แสงแบบแสงธรรมชาติ (Sun Light) วิธีการเขียน ลากเส้นจากฐานของสี่เหลี่ยมเป็นเส้นขนาน จากนั้นลากเส้นจากมุมด้านบนของสี่เหลี่ยมเป็นเส้นเฉียง องศาเท่าใดก็ได้ขึ้นอยู่กับการกำหนดตำแหน่งของแสง



ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



แสงจากแหล่งกำเนิดแสงโดยมนุษย์สร้างขึ้นหรือแสงจากไฟฟ้า (Artificial Light) จะมีข้อสังเกตคือเงาจะบานออกจากแหล่งกำเนิดแสง


การเขียนวงกลม วงรี

 

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง



             การเขียนวงกลมวงรี ฝึกโดยลากเส้นนอนสองเส้นเพื่อกำหนดความสูงของวงรี และเริ่มวาดวงกลมวงรีโดยพยายามให้เส้นสัมผัสกันพอดีเพื่อให้เกิดทักษะความแม่นยำ ในการกำหนดมุมมองของทรงกระบอก จากนั้นทำความรู้จักกับเส้น MAJOR AXIS ที่เป็นเส้นความยาวของวงรีและ MINOR AXIS

แทนความกว้างหรือความลึกของวงรี ซึ่ง 2 เส้นนี้จะตั้งฉากกันเสมอ จากนั้นสามารถวาดรูปเพื่อสร้างสรรค์ทรงกระบอกได้ตามต้องการ

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


 ฝึกเขียนสิ่งของใกล้ตัว โดยเริ่มเขียนจากรูปทรงกล่องแล้วทำการเพิ่มเติมรายละเอียดเข้าไป ลบมุมชิ้นงาน

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


ฝึกเขียนผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ง่ายไปจนซับซ้อน จากเหลี่ยมไปโค้งมนไปเรื่อยๆจนคล่อง

                                                                           


                                                                              วิธีการเขียนภาพ 3 มิติ


        1. ความหมายของภาพ

ภาพสามมิติหมายถึง การเขียนภาพโดยการนำพื้นผิวแต่ละด้านของชิ้นงานมาเขียนประกอบกันเป็นรูปเดียว ทำให้สามารถมองเห็นลักษณะรูปร่าง พื้นผิว ได้ทั้งความกว้าง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน ทำให้ภาพสามมิติมีลักษณะคล้ายกับการมองชิ้นงานจริง ภาพสามมิติที่เขียนในงานเขียนแบบมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีความแตกต่างกันในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง กับขนาดชิ้นงานในการเขียนแบบซึ่งผู้เขียนแบบต้องศึกษาลักษณะของภาพสามมิติแต่ละประเภทต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อสามารถปฏิบัติการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง

2. ประเภทของภาพสามมิติ

ภาพสามมิติสามารถแบ่งออกได้หลายประเภท ดังนี้2.1 ภาพสามมิติแบบ TRIMETRIC เป็นภาพสามมิติที่มีความสวยงาม และลักษณะ
คล้ายของจริงมากที่สุดและเป็นภาพที่ง่ายต่อการอ่านแบบเพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่อง
จากมุมที่ใช้เขียนเอียง 12 องศา และ 23 องศา และอัตราความยาวของแต่ละด้านไม่เท่ากัน
(ดังรูป 7.1)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 7.1 ลักษณะของภาพ TRIMETRIC


2.2 ภาพสามมิติแบบ DIMETRIC เป็นภาพสามมิติที่มีลักษณะคล้ายกับภาพถ่ายและ
ง่ายต่อการอ่านแบบ แต่ไม่ค่อยนิยมในการเขียนแบบเพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่องจากมุม
ที่ใช้เขียน เอียง 7 องศา และ 42 องศา และขนาดความหนาของภาพที่เขียนจะลดขนาดลงครึ่ง
หนึ่งของความหนาจริง (ดังรูป 7.2)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 7.2 ลักษณะของภาพ DIMETRIC


2.3 ภาพสามมิติแบบ ISOMETRIC เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมาก เพราะภาพที่
เขียนง่าย เนื่องจากภาพมีมุมเอียง 30 องศา ทั้งสองข้างเท่ากัน และขนาดความยาวของภาพ
ทุกด้านจะมีขนาดเท่าขนาดงานจริง ภาพที่เขียนจะมีขนาดใหญ่มากทำให้เปลืองเนื้อที่กระดาษ
(ดังรูป 7.2)


ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

รูปที่ 7.3 ลักษณะของภาพ ISOMETRIC


2.4 ภาพสามมิติแบบ OBQIUE
เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมาก สำหรับงานที่มีรูปร่างเป็นส่วนโค้ง หรือรูกลมเพราะสามารถเขียนได้ง่ายและรวดเร็วเนื่องจากภาพ OBQIUE จะวางภาพด้านหนึ่งอยู่ในแนวระดับ เอียงทำมุมเพียงด้านเดียว โดยเขียนเป็นมุม 45 องศา สามารถเขียนเอียงได้ทั้งด้านซ้ายและขวาความหนาของงานด้านเอียงขนาดลดลงครึ่งหนึ่ง ภาพ OBQIUE มี 2 แบบ คือ แบบคาวาเลียร์ (CAVALIER) และแบบคาบิเนต (CABINET) (ดังรูป 7.4)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ภาพสามมิติแบบ Cavalierภาพสามมิติแบบ Cabinetรูปที่ 7.4 ภาพสามมิติแบบ Cavalier และแบบ Cabinet



2.5 ภาพสามมิติแบบ PERSPECTIVE หรือ ภาพทัศนียภาพ
เป็นภาพสามมิติที่มีมุมในลักษณะการมองไกล โดยจะเขียนภาพเข้าสู่จุดรวมของสายตา การเขียนภาพสามมิติชนิดนี้มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด (ดังรูป 7.4)



แบบ 1 จุดแบบ 2 จุดแบบ 3 จุด
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
รูปที่ 7.5 แสดงภาพ PERSPECTIVE แบบต่างๆ



3. การเขียนภาพสามมิติ
แกนไอโซเมตริก (ISOMETRIC AXIS) เส้น XO, YO, ZO ทำมุมระหว่างกัน 120 องศา เท่ากันทั้งสามมุม เส้นทั้งสามนี้เรียกว่า แกนไอโซเมตริก ซึ่งแกนไอโซเมตริกนี้สามารถวางได้หลายทิศทาง ขึ้นอยู่กับรูปร่างของชิ้นงานที่ต้องการแสดงรายละเอียด ดังรูป 7.6

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
รูปที่ 7.6 แสดงกาวางแกนไอโซเมตริก



3.1 การเขียนภาพ ISOMETRIC ทุกภาพจะเริ่มจากการเขียนเส้นร่างจากกล่องสี่เหลี่ยม โดยมีขนาดความกว้าง ความยาว และความสูง ซึ่งจะได้จากการกำหนดขนาดจากภาพฉาย จากนั้น เขียนรายละเอียดส่วนต่างๆ ของชิ้นงาน (ดังรูป 7.7)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 1ขั้นที่ 2ขั้นที่ 3รูปที่ 7.7 การเขียนภาพ ISOMETRIC



ลำดับขั้นตอนการเขียนภาพ ISOMETRIC

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 1 ขีดเส้นร่างแกนหลักทั้งสามแกน
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 2 เขียนเส้นร่างกล่องสี่เหลียม โดยใช้ขนาด ความกว้าง ยาว และความหนาของชิ้นงาน
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 3 เขีนเส้นร่างรายละเอียดของภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน ลงบนกล่องสี่เหลียม
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ขั้นที่ 4 ขีดเส้นเต็มหนาทับขอบเส้นร่างของ ด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ของกล่องสี่เหลียม ISOMETRIC



3.2 การเขียนภาพ OBLIQUE ทุกภาพจะเริ่มจากการเขียนเส้นร่างจากกล่องสี่เหลี่ยม โดยมีขนาดความยาว ความยาว และความสูงเท่ากับขนาดของชิ้นงานจริง ซึ่งจะได้จากการบอกขนาดในภาพฉาย ลากเส้นเอียง 45 องศา จากขอบงานด้านหน้าไปยังด้านหลัง โดยให้มีความยาวเท่ากับครึ่งหนึ่งกับความกว้างที่กำหนดให้จากภาพฉายด้านข้าง ลากเส้นร่างเป็นรูปกล่องสี่เหลียม จากนั้น เริ่มเขียนส่วนต่างๆ ของชิ้นงาน ลบเส้นที่ไม่ใช้ออก และลงเส้นหนักที่รูปงาน (ดังรูป 7.9)

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
รูปที่ 7.8 แสดงลำดับการเขียนรูปภาพออบลิค



4. การเขียนวงรีภาพสามมิติ
4.1 การเขียนวงรีแบบ ISOMETRIC 
ชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอก หรืองานที่มีหน้าตัดกลม เช่น รูปกลม ส่วนโค้ง เมื่อเขียนเป็นภาพไอโซเมตริกแล้ว หน้าตัดของรูปทรงกระบอกหรือรูกลมนั้นจะเอียงเป็นมุม 30 องศา หรือทำให้มองเห็นเป็นลักษณะวงรี ดังรูป 7.9

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง




รูปที่ 7.9 ลักษณะชิ้นงานรูกลม




ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
รูปที่ 7.10 ลักษณะของรูปวงรี ISOMETRIC



ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านหน้า

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

ขั้นตอนการเขียน
1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทำมุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1
2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2
3. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยังจุดที่ 1 และ 2 ดังรูปในช่องที่ 3
4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยังจุดที่ 3 และ 4 จะได้เส้นตัดกันที่จุด E และจุด F ดังรูปในช่องที่ 4
5. จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนย์กลางของส่วนโค้งเล็ก กางวงเวียนออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้งวงเล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 4 และใช้รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งโดยใช้จุด F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งเล็ก ดังรูปในช่องที่ 5
6. ที่จุด B กางวงเวียนรัศมี B-4 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และที่จุด D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งวงใหญ่ จะได้วงรีของภาพไอโซเมตริก ดังรูปในช่องที่ 6



ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านข้าง

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง

                                ขั้นตอนการเขียน
1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทำมุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1
2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2
3. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยังจุดที่ 1 และ 2 ดังรูปในช่องที่ 3
4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยังจุดที่ 3 และ 4 จะได้เส้นตัดกันที่จุด E และจุด F ดังรูปในช่องที่ 4
5. จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนย์กลางของส่วนโค้งเล็ก กางวงเวียนออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้งวงเล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 4 และใช้รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งโดยใช้จุด F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งเล็ก ดังรูปในช่องที่ 5
6. ที่จุด B กางวงเวียนรัศมี B-4 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และที่จุด D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโค้งวงใหญ่ จะได้วงรีของภาพไอโซเมตริก ดังรูปในช่องที่ 6



ขั้นตอนการเขียนวงรี ISOMETRIC ด้านบน

                             

                               ขั้นตอนการเขียน

1. เขียนสี่เหลียมขนมเปียกปูน เอียงทำมุม 30 องศา กับเส้นในแนวระดับ ดังรูปในช่องที่ 1

2. ลากเส้นแบ่งครึ่งทั้งสี่ด้าน ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดังรูปในช่องที่ 2

3. ที่จุด A ลากเส้นทะแยงมุมไปยังจุดที่ 2 และ 3 ดังรูปในช่องที่ 3

4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด C ไปยังจุดที่ 4 ไปตัดกับเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งที่จุด F และลากเส้นจากจุด C ไปจุดที่ 1 ไปตัดกับเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งที่จุด E ดังรูปในช่องที่ 4

5. ที่จุด E กางวงเวียน รัศมี E-1 เขียนส่วนโค้งวงเล็กจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 2 และที่จุด F จากจุด 3 ไปจุดที่ 4 ดังรูปในช่องที่ 5

6. ที่จุด A กางวงเวียนรัศมี A-3 เขียนส่วนโค้งวงใหญ่จากจุดที่ 3 ไปจุดที่ 2 และที่จุด C จากจุด 4 ไปจุดที่ 1 จะได้วงรีแบบไอโซเมตริกด้านบน ดังรูปในช่องที่ 6



  4.2 การเขียนวงรีแบบ OBQIUE

ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง
ข้อใด ไม่ใช่วิธีการบำรุงรักษาดินสอเขียนแบบที่ถูกต้อง


รูปที่ 7.11 ตัวอย่างชิ้นงานเขียนแบบ OBQIUE



การวางภาพออบลิค ภาพด้านหน้าที่เห็นรายละเอียดชัดเจนที่สุดหรืองานที่เป็นรูปทรงกระบอกส่วนโค้ง หรือรูกลม ซึ่งจะทำให้งานเขียนแบบทำได้ง่าย เช่น ข้อต่อ ซึ่งมีวิธีเขียนดังนี้