ข้อ ใด ไม่ใช่ ตรา ประทับ ใน กฎหมายตราสามดวง

เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2561 มีพิธีจัดมอบประกาศนียบัตรขึ้นทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลกของประเทศไทย โดยราชบัณฑิตยสภา  รายงานว่า คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยแผนงานความทรงจำแห่งโลก ของคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรให้แก่ "หนังสือสมุดไทย เรื่อง กฎหมายตราสามดวง" โดยยกให้เป็นเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลกของประเทศไทยในปี 2560

รางวัลดังกล่าว ระบุว่า กฎหมายตราสามดวง เป็นเอกสารประวัติศาสตร์ที่มีความสำคัญยิ่ง และต้นฉบับที่มีอยู่นั้นเป็นต้นฉบับหลวงมีเนื้อหาข้อความครบถ้วนตั้งแต่ต้นจนจบ ถือเป็นสมบัติล้ำค่าของชาติ โดยราชบัณฑิตยสภา กล่าวให้ความสำคัญของกฎหมายตราสามดวงว่า “เป็นหนังสือรวบรวมตัวบทกฎหมายต่างๆ ของไทยโบราณโดยนำต้นฉบับกฎหมายที่มีอยู่เดิมในสมัยอยุธยา มาจัดทำเป็นหมวดหมู่ ชำระ ดัดแปลง ปรับปรุงบทกฎหมายลักษณะต่างๆ ที่วิปลาสทำให้เสียความยุติธรรมจัดทำเป็นประมวลกฎหมายฉบับใหม่ฉบับแรกแห่งสมัยรัตนโกสินทร์”

ข้อ ใด ไม่ใช่ ตรา ประทับ ใน กฎหมายตราสามดวง

โดยจุดเริ่มต้นของ กฎหมายตราสามดวง สืบเนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ ให้นักปราชญ์ราชบัณฑิต 11 ท่าน ร่วมกันชำระใหม่เมื่อ พ.ศ.2348 โดยให้เก็บความจากกฎหมายเก่าของเดิมที่ใช้อยู่ในสมัยอยุธยาตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ซึ่งเริ่มต้นขึ้นปี พ.ศ.1893 จนถึงเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมื่อปีพ.ศ.2310 เมื่อชำระปรับปรุงเสร็จแล้วโปรดเกล้าฯ ให้เขียนลงสมุดข่อยคัดลอกไว้ 3 ชุด ประทับตรา 3 ดวง ไว้ที่ปกหนังสือทุกเล่มคือ ตราพระราชสีห์ ประจำกระทรวงมหาดไทย ตราพระคชสีห์ ประจำกระทรวงกลาโหม และตราบัวแก้ว ประจำกรมท่า ทั้งยังทรงกำชับว่าหากสมุดกฎหมายใดที่นำมาใช้ ไม่มีตราทั้งสามดวงนี้ห้ามมิให้เชื่อฟังเป็นอันขาด จึงเป็นที่มาของชื่อ กฎหมายตราสามดวง โดยกฎหมายตราสามดวง ได้ใช้เป็นหลักในการปกครองของไทยมาเป็นเวลายาวนานถึงนานกว่า 500 ปี

ทั้งนี้ในประเทศไทยปัจจุบันมีสิ่งที่ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นความทรงจำแห่งโลกทั้งสิ้น 5 รายการด้วยกัน ซึ่งได้แก่

1.ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ 1 ขึ้นทะเบียนในปี 2546

2.เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ของรัชกาลที่ 5 ขึ้นทะเบียนปี 2552

3.จารึกวัดโพธิ์ประกาศขึ้นทะเบียนในระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อปี 2551 และขึ้นทะเบียนในระดับโลกปี 2554

 ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งบรมราชจักรีวงศ์ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่า ที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อ จุลศักราช 1166 ตรงกับ พ.ศ. 2347 โปรดให้เรียกว่า “กฎหมายตราสามดวง” ให้อาลักษณ์ชุบเส้นหมึกสามชุด แต่ละชุดประทับตรา 3 ดวง คือ ตราพระราชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง

กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กระทรวงยุติธรรม 37 เล่ม และที่หอสมุดแห่งชาติ 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู จ.ศ.1167 (พ.ศ. 2348) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปีเถาะ จ.ศ. 1169 (พ.ศ. 2350) ข้อแตกต่างระหว่าง ฉบับหลวง และฉบับรองทรง ก็คือ ฉบับรองทรงจะไม่มีตราสามดวงประทับไว้ และฉบับหลวงจะมีอาลักษณ์สอบทาน 3 คนส่วนฉบับรองทรงมีอาลักษณ์สอบทานเพียง 2 คน สำหรับกฎหมายตราสามดวง ฉบับรองทรงนี้ ปัจจุบันนี้พบเพียง 18 เล่ม โดยเก็บรักษาไว้ที่ หอสมุดแห่งชาติ 17 เล่มและที่พิพิธภัณฑ์อัยการไทย สำนักงานอัยการสูงสุด 1 เล่ม

ความสำคัญกฎหมายตราสามดวง

  • กฎหมายตราสามดวงมีลักษณะเป็นกฎหมายของนักกฎหมาย (Juristenrecht) กล่าวคือ กฎเกณฑ์ส่วนใหญ่ของกฎหมายตราสามดวงโดยเฉพาะในส่วนที่เป็นพระธรรมศาสตร์ ที่มีลักษณะทั่วไปและมีฐานะสูงกว่าจารีตประเพณี มีการจัดระบบกฎหมายที่เป็นระบบและมีการใช้เหตุผลของนักกฎหมายปรุงแต่ง
  • กฎหมายตราสามดวงมีลักษณะที่เป็นกฎหมายธรรมชาติ ทุกคนแม้แต่พระมหากษัตริย์ก็ต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย
  • ไม่มีการบัญญัติโดยแท้ บทกฎหมายใหม่นี้จึงเป็นผลงานของ นักกฎหมาย อันได้แก่ ศาลและพระมหากษัตริย์ ซึ่งทรงเป็นนักกฎหมายด้วย ไม่ใช่กฎหมาย ที่บัญญัติขึ้นด้วยเหตุผลทางเทคนิค โดยกระบวนการนิติบัญญัติอย่างปัจจุบัน
  • มีความนับถือตัวบทกฎหมาย เชื่อว่าไม่มีใครสามารถแก้กฎหมายได้เพราะกฎหมายไม่ใช่สิ่งที่คนสร้างขึ้น แม้แต่กษัตริย์ก็แก้ไม่ได้ หากเห็นว่ากฎหมายนั้นไม่เหมาะสมจะใช้การชำระสะสางไม่ใช่ยกร่างขึ้นใหม่หรือแก้ไขกฎหมายเดิม
  • ไม่ใช่ประมวลกฎหมายที่มีเนื้อหาครอบคลุมทุกด้านเพราะเป็นที่รวมของบทกฎหมายที่ปรุงแต่งโดยนักกฎหมายและจารีตประเพณีที่สำคัญเท่านั้น การเรียกว่าประมวลกฎหมายตราสามดวงนั้นเป็นเพียงการใช้คำว่าประมวลเพื่อยกย่องเท่านั้น
  • เป็นกฎหมายที่ใช้เป็นคู่มือในการชี้ขาดตัดสินคดีเพราะเป็นกฎหมายที่เกิดขึ้นจากการพิจารณาพิพากษาคดี และใช้ในการพิจารณาพิพากษาคดีเป็นหลัก ไม่ใช่กฎหมายที่เขียนขึ้นในลักษณะตำรากฎหมาย
    ข้อ ใด ไม่ใช่ ตรา ประทับ ใน กฎหมายตราสามดวง

ข้อ ใด ไม่ใช่ ตรา ประทับ ใน กฎหมายตราสามดวง

ยูเนสโกมอบประกาศนียบัตรยื่นทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลกของประเทศไทย

ข้อ ใด ไม่ใช่ ตรา ประทับ ใน กฎหมายตราสามดวง

กฏหมายตราสามดวง

คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นปบีบีกันหนาเล่นขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ สมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง

กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กระทรวงยุติธรรม 37 เล่ม และที่หอสมุดแห่งชาติ 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู จ.ศ.1167 (พ.ศ. 2348) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปีเถาะ จ.ศ. 1169 (พ.ศ. 2350) ข้อแตกต่างระหว่าง ฉบับหลวง และฉบับรองทรง ก็คือ ฉบับรองทรงจะไม่มีตราสามดวงประทับไว้ และฉบับหลวงจะมีอาลักษณ์สอบทาน 3 คนส่วนฉบับรองทรงมีอาลักษณ์สอบทานเพียง 2 คน สำหรับกฎหมายตราสามดวง ฉบับรองทรงนี้ ปัจจุบันนี้พบเพียง 18 เล่ม โดยเก็บรักษาไว้ที่ หอสมุดแห่งชาติ 17 เล่มและที่พิพิธภัณฑ์อัยการไทย สำนักงานอัยการสูงสุด 1 เล่ม

ตราประทับในกฎหมายตราสามดวงมีอะไรบ้าง

กฎหมาย หมายถึง ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้นสำหรับใช้ในการบริหารประเทศ. ตราสามดวง หมายถึง ตราพระราชสีห์ สำหรับตำแหน่งสมุหนายก ตราพระคชสีห์ สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม และตราบัวแก้ว สำหรับตำแหน่งพระโกษาธิบดีหรือตำแหน่งพระคลังซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศด้วย.

กฎหมายตรา 3 ดวง ใช้สําหรับทําอะไร

นอกจากนี้ กฎหมายตราสามดวงยังได้สะท้อนให้เห็นถึงการจัดกระบวนการยุติธรรมในสมัยโบราณ ได้แก่ พระธรรมนูญ พระอัยการลักษณะรับฟ้อง พระอัยการลักษณะตุลาการ พระอัยการลักษณะพยาน พระอัยการลักษณะอุทธรณ์ เป็นต้น จะเห็นว่าศาลในอดีต กระจายอยู่ตามหน่วยราชการต่าง ๆ ไม่เป็นระบบเดียวกัน ไม่มีการแยกเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา และคดีปกครอง ดังเช่น ...

กฎหมายตราสามดวง ร.ไหน

กฎหมายตราสามดวง เป็นประมวลกฎหมายที่เริ่มใช้ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 1 นี่ไม่ใช่กฎหมายฉบับแรกของประเทศไทย แต่เป็นกฎหมายที่ได้รับการพัฒนาปรับปรุงด้วยการรื้อกฎหมายเก่าทิ้งเสีย ส่วนใดที่เป็นผลดีก็เก็บไว้พร้อมกับเพิ่มแนวทางตามแบบฉบับของนักกฎหมายมากขึ้น ส่วนใดที่ใช้ไม่ได้ก็ยกเลิกไปทั้งหมด เหตุที่เรียกกันว่ากฎหมายตราสามดวงก็ ...

ตราราชสีห์คืออะไร

กระทรวงมหาดไทยก็ได้ใช้ตราพระราชสีห์เป็นตราเครื่องหมายประจำกระทรวงมหาดไทยมาจนถึงปัจจุบัน โดยได้อนุโลมใช้ตราประจำตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั่นเอง