ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

แบบที่ 1

คือ กระแสไฟฟ้าในระบบสูง เกินปกติ อาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ฉนวนสายไฟฟ้าเสื่อมแล้วสายทองแดงสองเส้นมาแตะกันเกิด “ไฟฟ้าช็อต” ทำให้กระแสไฟฟ้าวิ่งอยู่ในระบบมากกว่า
ปกติจนกลายเป็น “ไฟฟ้าลัดวงจร” เพราะไฟฟ้าจากสายไฟวิ่งลัดไปทางอื่นแทนที่ จะวิ่งผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้า

Show

แบบที่ 2

คือกระแสไฟฟ้าหายไปจากระบบ โดยปกติกระแสไฟฟ้าที่วิ่งเข้าบ้าน กับที่จะวิ่งกลับออกมาต้องเท่ากัน เมื่อไรที่กระแสไฟฟ้าวิ่งเข้าไม่เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่วิ่งกลับออกมาแสดงว่าต้องเกิด“ไฟรั่ว”ในระบบเรื่องนี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่นสายไฟฟ้าเส้นหนึ่งของตู้เย็นเสื่อมสภาพทำให้สายทองแดงแตะที่โครงตู้เย็น แต่ยังไม่เกิดไฟฟ้าลัดวงจร เพราะสายไฟฟ้าแตะแค่เส้นเดียวถ้าสายไฟฟ้าแตะกันสองเส้นจะกลายเป็น“ไฟช็อต”เหมือนแบบที่ 1

ช่วงแรกอาจยังไม่มีปัญหาเพราะไฟฟ้าที่วิ่งเข้าและวิ่งออกจากตู้เย็นยังเท่ากันอยู่ แต่เมื่อไรที่มีคนไปจับตู้เย็น กระแสไฟฟ้าที่วิ่งอยู่รอบตู้เย็นจะไหลเข้ามาที่ตัวคนแล้ว วิ่งลงดินทำให้กระแสไฟฟ้าที่วิ่งเข้า และวิ่งออกจากตู้เย็นไม่เท่ากัน เกิดเป็น “ไฟรั่ว” หรือ “ไฟดูด” นั่นเอง

แล้วจะป้องกันได้อย่างไรสำหรับไฟช็อตหรือกระแสไฟฟ้าสูงเกินปกติให้ติดตั้ง อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าเกิน สมัยก่อนคือ “ฟิวส์” ที่เมื่อเกิดไฟฟ้าเกินฟิวส์จะขาด ทำให้ไฟฟ้าที่ลัดวงจรนั้นดับ เดี๋ยวนี้มีอุปกรณ์ที่ใช้แทนฟิวส์คือ เบรกเกอร์ ซึ่งจะตัดไฟฟ้าโดยอัตโนมัติที่เรามักเรียกอาการนี้ว่า “เบรกเกอร์ทิป” เมื่อแก้ไขปัญหาจุดที่เกิดไฟฟ้าลัดวงจรได้แล้วเราก็แค่เปิดหรือสับเบรกเกอร์ขึ้นไปใหม่ โดยไม่ต้องซื้อฟิวส์มาใส่ใหม่เหมือนสมัยก่อน

ส่วนการป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้าหายไปจากระบบหรือไฟรั่วไฟดูด มีหลายวิธี เริ่มจากการติดตั้งสายดินที่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีโอกาสเกิดไฟรั่วได้ง่าย เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องทำน้ำร้อน ฯลฯ สายดินจะนำไฟฟ้าที่รั่วไหลลงดินทำให้ไม่เกิดไฟดูดหากเราไปจับเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านั้น แต่ต้องเข้าใจว่า ไฟฟ้ายังคงรั่วตลอดเวลา และเราต้องเสียค่าไฟฟ้าที่รั่วลงดินนี้ด้วย

ข้อจำกัดของสายดิน

การติดตั้งสายดิน ไม่สามารถติดตั้งได้กับอุปกรณ์ทุกประเภท เช่น ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และก็ไม่ครอบคลุมทุกชิ้นส่วนของอุปกรณ์ไฟฟ้า นอกจากนี้ ยังไม่สามารถป้องกันอุบัติเหตุจากความประมาท หรือความพลั้งเผลอได้อีกด้วย เช่น ถ้าเด็กเล็กๆ เอาแท่งโลหะแหย่เข้าไปในรูปลั๊กไฟฟ้าสายดินก็ไม่สามารถ
ป้องกันอันตรายได้

จึงมีการผลิตเครื่องป้องกันไฟดูดที่จะวัดความแตกต่างระหว่างกระแสไฟฟ้า ที่ไหลเข้ากับที่ไหลกลับ ซึ่งตามที่บอกไว้แล้วว่าปริมาณไฟฟ้าสองส่วนนี้ต้องเท่ากันเสมอ เมื่อไรที่กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามากกว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลกลับ แสดงว่า ต้องเกิดไฟดูดหรือไฟรั่วที่จุดใดจุดหนึ่ง ตัวเครื่องป้องกันไฟดูดจะตัดกระแสไฟฟ้าทันทีคนขายมักคุยว่าตัดไฟฟ้าได้เร็วมากเพียงเสี้ยววินาที

เจ้าเครื่องนี้มีหน้าปัดให้หมุนเลือกว่าจะยอมให้ไฟฟ้ารั่วได้เท่าไร ตั้งแต่ 5 มิลลิแอมป์ ไปถึง 30 มิลลิแอมป์ หรือจะต่อตรง ซึ่งปัจจุบันไม่ยอมให้มีตัวเลือกแบบต่อตรงแล้ว เพราะถ้าหมุนไปที่ต่อตรงหมายความว่าระบบนี้จะไม่ตัดไฟเลย แม้ว่าไฟจะรั่ว มากแค่ไหนก็ตาม ฉะนั้นติดไปก็เสียเงินเปล่าอย่าติดดีกว่า

ปัจจุบันเครื่องประเภทนี้มีขนาดเล็กลงจนเท่ากับเบรกเกอร์ สามารถใส่ในตู้กล่องไฟ ได้เลยมีชื่อเรียกว่า Earth Leakage Circuit Breaker หรือ ELCB ซึ่งกำหนดค่า ยอมให้ไฟฟ้ารั่วไว้ตายตัวที่ 30 มิลลิแอมป์ ซึ่งเป็นค่าสูงสุดของไฟฟ้ารั่วที่มาตรฐาน ยอมรับได้นั่นเอง

แนะนำให้แยกวงจรอุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่านี้ออกจากกัน ได้แก่ เครื่องทำน้ำอุ่น ปลั๊กในห้องน้ำ ปลั๊กใกล้อ่างล้างหน้า ปลั๊กในชั้นใต้ดิน ปลั๊กภายนอกอาคาร จากนั้นให้ติดตั้งเครื่องป้องกันไฟดูดที่วงจรนั้น ถ้ามีงบพอก็ติดแยกเป็นวงจรละตัว ถ้ามีงบจำกัดให้รวมวงจรไว้ด้วยกันแล้วติดตัวเดียว แต่ไม่ควรติดตัวป้องกันไฟดูด ตัวใหญ่เพียงตัวเดียวที่วงจรหลักอย่างที่หลายๆ บ้านทำกัน เพราะในวงจรไฟฟ้า จะมีไฟรั่วเสมอ เลยทำให้เครื่องป้องกันไฟดูดต้องตัดไฟตลอดเวลา และไม่ควรติดตัวป้องกันไฟดูดที่วงจรเครื่องปรับอากาศหรือปั๊มน้ำ เพราะเป็นอุปกรณ์ที่มี โอกาสไฟรั่วได้เสมอ แต่ให้ป้องกันไฟรั่วโดยติดตั้งสายดินแทน

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

ตรวจสอบระบบไฟฟ้าประจำปี นิติบุคคลขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบระบบไฟฟ้า

ทำไมต้องตรวจสอบระบบไฟฟ้า

มาตรฐานสากลได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจสอบระบบไฟฟ้าในโรงงานหรือสถานประกอบกิจการว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อไม่ให้ระบบไฟฟ้าเกิดความขัดข้องระหว่างที่ทำการจ่ายกระแสไฟอยู่ หากเกิดเหตุการณ์ไฟฟ้าดับกระทันหันหรือขัดข้องระหว่างที่กระบวนการผลิตกำลังดำเนินงานอยู่นั้นจะสร้างความเสียหายเป็นอย่างมากดังนั้นควรตรวจระบบไฟฟ้าให้มีความพร้อมใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพอยู่เสมอ การตรวจระบบไฟฟ้ากฎหมายในประเทศไทยได้กำหนดให้นายจ้างต้องทำการตรวจสอบระบบไฟฟ้าประจำปีตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม และ กรมสวัสดิการคุมครองแรงงานรายละเอียดการตรวจสอบต่างๆนั้นสามารถดูได้ด้านล่าง

วิศวกรรม

ได้รับอนุญาตอย่างเป็นทางการ

ได้รับใบอนุญาตอย่างเป็นทางการนิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตเป็นผู้ให้บริการตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟ้า และ บริภัณฑ์ไฟฟ้า ตามข้อ 12 เลขที่ใบอนุญาต 0302-03-2565-0023

ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าชั้นนำ

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

บริการตรวจสอบระบบไฟฟ้า

เลือกแผนการซื้อที่เหมาะสมกับธุรกิจของคุณ

ตรวจไฟฟ้าประจำปี

Inspection

ลด 30% - ตุลาคม

ฟรี Thermoscan ไม่จำกัดจุด

เอกสารที่ใช้ในการตรวจสอบเป็นไปตามที่ทางกรมสวัสดิการ และ กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด สอดคล้องกับกฎหมาย

บำรุงรักษา (PM)

Maintenance

ลด 20% - ตุลาคม

ติดตั้ง ซ่อมแซม

Inspection

ลด 35% - ตุลาคม

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

ขอใบเสนอราคา (online)

ขอใบเสนอราคาตรวจสอบระบบไฟฟ้าประจำปีผ่านระบบออนไลน์ และเราจะตอบกลับใบเสนอราคาให้กับคุณอย่างรวดเร็วที่สุด

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

รับเขียนแบบไฟฟ้า

บริการเขียนแบบไฟฟ้า Single Line Diagram โดยทีมงานมืออาชีพเพื่อใช้สำหรับยื่นหน่วยงานราชการ หรือ จัดทำแบบวงจรไฟฟ้าใหม่ในสถานประกอบกิจการ รวดเร็ว ราคาประหยัด

บริการ 77 จังหวัดทั่วประเทศไทย

มาตรฐานของเรา กับ ลูกค้าชั้นนำระดับประเทศ

ตรวจสอบระบบไฟฟ้าตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสอบและจัดให้มีการบํารุงรักษาระบบไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า ของสถานประกอบกิจการเพื่อให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง และจัดทําบันทึกผลการตรวจสอบ และรับรองระบบไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า

กำหนดมาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าในโรงงาน พ.ศ. 2550 (กรมอุตสาหกรรม)

ข้อ 5 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าในโรงงานและรับรอง ความปลอดภัยของระบบไฟฟ้าในโรงงานเป็นประจําทุกปีโดยวิศวกรหรือบุคคลอื่นที่รัฐมนตรีกําหนด โดยการตรวจสอบและรับรองดังกล่าวต้องจัดให้มีเอกสารเป็นหลักฐาน

ตรวจสอบระบบไฟฟ้าในที่พักอาศัยทุกชนิด

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

บริการตรวจสอบระบบไฟฟ้าตามอาคาร คอนโด ร้านค้า บ้านพักอาศัยทั่วไป

"ตรวจสอบโดยวิศวกรมืออาชีพ"

8 รายการสำคัญ ในการตรวจสอบระบบไฟฟ้า

  • ตรวจแบบไฟฟ้า Single Line Diagram ทั้งระบบ
  • ตรวจสอบการติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานและข้อกฎหมาย
  • ตรวจสอบการเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าถูกต้องตามหลักวิศวกรรมและมาตรฐานอุตสาหกรรม
  • ตรวจสอบแผนงาน PM ระบบไฟฟ้าประจำปี และ ซ่อมบำรุงระบบไฟฟ้า
  • เซ็นต์รับรองความปลอดภัยโดยวิศวกรไฟฟ้า
  • ตรวจสอบการกำหนดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าพร้อมให้คำแนะนำ
  • แนะนำเกี่ยวกับคู่มือการใช้งานระบบไฟฟ้า และ วิธีการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าให้ปลอดภัย
  • แผนฉุกเฉินช่วยเหลือเกี่ยวกับอุบัติเหตุถูกไฟฟ้าช๊อต

อุปกรณ์ทำงานมาตรฐาน

ออกรายงานการทำ PM

การสอบเทียบ

แคล้มป์มิเตอร์ ดิจิตอล

มัลติมิเตอร์ดิจิตอล

เครื่องเทอร์โมสแกน

เครื่องวัดกราวด์ ดิจิตอล

เครื่องวัดโวลต์

เครื่องวัดเต้ารับ

แคล้มป์มิเตอร์วัดความต้านทาน

Thermo Scan ระบบไฟฟ้า

ฟรี ! ไม่จำกัดจำนวนจุด

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าด้วยเทอร์โมสแกน ถ่ายภาพความร้อนอุปกรณ์ด้วยกล้องอินฟาเรดที่ทันสมัย

ตรวจสอบระบบไฟฟ้าในบ้านพักอาศัยของคุณตามมาตรฐานตามพร้อมรายงานรับรองการปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่องเพื่อวางแผนการซ่อมบำรุงได้ตรงจุด

บริการตรวจสอบคาปาซิเตอร์

CAPACITOR BANK

ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของคาปาซิเตอร์ ตรวจสอบค่ากระแสคาปาซิเตอร์โดยวิศวกรมืออาชีพ

บทความแนะนำเพิ่มเติม

บริการแนะนำเผื่อคุณสนใจ

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

ดูหลักสูตรทั้งหมด

อบรมความปลอดภัยฯ มากกว่า 100+ หลักสูตร

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

สินค้า PPE

อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

ตรวจรับรองวิศวกรรม

ตรวจวิศวกรรมโรงงานโดยวิศวกรมืออาชีพ

มาตรฐานด้านระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015

(Quality Management System: QMS) การประกันคุณภาพ มั่นใจได้ว่ากระบวนการต่างๆของเรานั้นมีมาตรฐาน ได้รับการควบคุม และ สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน

บริการช่วยเหลือ/ติดต่อโทร 065 – 441 – 9324 (คุณ พลอย)

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า

ข้อ ใด ไม่ใช่ เหตุผล ที่ จำเป็น ต้องมี มาตรฐาน กำหนด ในการ ติด ตั้ง ระบบไฟฟ้า