ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต “ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

แบบทดสอบที่ ๕ เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา พระไตรปิฎก

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ รายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น ม.๔ เรื่อง คำศัพท์ทางพระพุทธศาสนารวบรวมโดย คุณครูประภาพร พลไชย

ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว


Ẻ���ͺ �ԪҾ�оط���ʹ� � 4422 �дѺ �.4
����ͧ �ط���ʹ�����Ե ���Ѿ��ҧ��оط���ʹ� ����ûԮ�
�� �.�����ó� �����ص� �.�.�ѹ�������
�Ӫ��ᨧ ���ѡ���¹���͡�ӵͺ���١��ͧ����ش��§�������

��ͷ�� 1
���¶١��ҡ�Թ���Ѱ��� ���͡�Ǻ������ͧ�����������ҡ�Թ� ��á�зӢͧ������仵����ѡ�ط���ʹ�����Ե����
   �. �Եڵ� ��ڵ� �آ����
   �. � �بڨ�Ǩ� �ڳ�Ե� ����¹��
   �. ���� ��� ͹Թڷ��
   �. ⡸� ����� �آ �ʵ�

��ͷ�� 2
��á�зӢ����ʹ���ͧ�Ѻ�ط���ʹ�����Ե ⡸� ����� �آ �ʵ�
   �. ������͡���Ե÷���
   �. �����ա����§��õ���¹�ͧ������ ��þٴ���觷���
   �. ���������ִ�˹���ǨԵ�����ִ������觷���������
   �. ��÷Ӿٴ���觷��է�� ��ú�����Ҹ������ԭ��ǹ�

��ͷ�� 3
���ʧ�����ѹ���� ��Ф��ѹ�� �ѧ��骹е�������������� ��ͤ�������ʴ������Ӥѭ�ͧ����ͧ�
   �. ����������
   �. ��æ�Ҥ����ø
   �. �����ա����§������ѵ��
   �. ��ý֡�Ե

��ͷ�� 4
� �ب��Ǩ ���Ե� ���¹�� �ʹ���ͧ�Ѻ����
   �. ����Ҽ��͡
   �. �һ�ح
   �. �س��
   �. �����آ �����ء��

��ͷ�� 5
����� ��������� ���� �������� ����ǹ˹�觢ͧ��ѡ�����
   �. ��ǹ� 4
   �. �ح�������ѵ�� 10
   �. �š���� 8
   �. ��ä 8

��ͷ�� 6
�������¢ͧ �ѳ�Ե 㹢��㴪Ѵਹ����ش�����ѡ��ʹ�
   �. �ؤ�ż���оĵԴ�
   �. �ؤ�ż�����дѺ����֡���٧�дѺ��ԭ�ҵ��
   �. ����ջѭ����м����Թ���Ե���ִ��ѡ�����է��
   �. ��������Ѻ���¡��ͧ�ҡ�ѡ��Ҫ��������

��ͷ�� 7
�ѧ����ѯ �ʹ���ͧ�Ѻ��ͤ����
   �. �ѧ���������§
   �. ͹Ԩ�ѧ �ء�ѧ ͹ѵ��
   �. ��������¹�ŧ���Ե
   �. ������¹���µ���Դ

��ͷ�� 8
�Ե�����дѺ���Ե�ͧ�ؤ�ż��Ѳ�ҵ��������Է��������¶֧����
   �. �����
   �. �ٻ��
   �. ��ٻ��
   �. �šص������

��ͷ�� 9
������ԧ���������� �դ�ѹ ����ͤԴ��͹������ͧ�
   �. ��ùԹ��
   �. ��÷Ӥ�������
   �. ������������Դ
   �. ������������ء��

��ͷ�� 10
���㴺觪Ѵ��ҡ�¡Ѻ�Ե�դ�������ѹ��ѹ
   �. �Ե�繹�¡���繺���
   �. �Ѻ���������Ѻ������ҡ
   �. �Ե������Ѻ�ء���آ�ͧ���
   �. ������駻ǧ��������˹��


พุทธศาสนสุภาษิต

ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

          พุทธศาสนสุภาษิต คือ สุภาษิต ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงดำรัสไว้ ซึ่งเป็นเนื้อความสั้น ๆ ที่ทรงคุณค่า ให้ข้อคิด ข้อเตือนใจ สามารถใช้ได้ทั้งเป็นแนวทางดำเนินชีวิต และหาคำตอบที่ดีสำหรับปัญหาที่สงสัย หรือ แม้แต่เตือน สติ ให้เรา หู ตา สว่าง เกิดปัญญาเข้าใจ ได้อุบายที่ดีในการดำเนินชีวิต การแก้ปัญหา และพ้นจากเครื่องเศร้าหมองได้

    พุทธศาสนสุภาษิต มีอยู่มากมาย แต่ในระดับชั้นนี้ขอนำเสนอไว้ 4 เรื่อง ดังนี้

ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

    ภาพ  :  การฝึกจิต

จิตฺตํ ทนฺติ สุขาวหํ

อ่านว่า จิต-ตัง-ทัน-ตัง-สุ-ขา-วะ-หัง

      แปลว่า จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้

      ความหมาย จิตที่ฝึกดีแล้ว หมายถึง จิตที่ได้รับการฝึกอบรมและดูแลรักษามาเป็นอย่างดี ทำให้เป็นคนหนักแน่น มั่นคง ไม่หวั่นไหวในสิ่งแวดล้อมที่ีมากระทบ มีความสงบเยือกเย็น

      จุดมุ่งหมาย มุ่งให้ฝึกอบรมจิต ซึ่งทำได้หลายทาง เช่น การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งต่างๆ ให้รู้และเข้าใจสภาพที่เป็นจริง เช่น การระลึกถึงศีล การระลึกถึงจาคะ การระลึกถึงเทวดา และวิธีการกำหนดลมหายใจเข้าออก  เป็นต้น

ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

 

น อุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ

อ่านว่า นะ-อุจ-จา-วะ-จัง-ปัน-ทิ-ตา-ทัส-สะ-ยัน-ติ

      แปลว่า บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้นๆ ลงๆ

      ความหมาย บัณฑิต หมายถึง ผู้มีปัญญา ผู้ดำเนินชีวิตโดยยึดหลักความดีงาม ใช้ปัญญาในการดำเนินชีวิต และมีจิตใจห่างไกลจากสิ่งชั่วร้ายหรืออบายมุขต่างๆ บัณฑิตต้องมีจิตใจมั่นคง ยึดมั่นในคุณงามความดี ทำความดีเสมอต้นเสมอปลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ไม่แสดงอาการขึ้นๆ ลงๆ

      จุดมุ่งหมาย ต้องการสอนให้ผู้อยู่ในวัยเรียน มีความมั่นคงในการทำความดี เข้าใจถึงลักษณะของผู้เป็นบัณฑิต  ซึ่งผ่านการศึกษาและการฝึกอบรมมาดีแล้ว ต้องมีจิตใจมั่นคงเข้มแข็งในการทำสิ่งที่ดีถูกต้องดีงาม ไม่ดื้อร้นทำตามใจตัวเอง แต่ต้องยึดหลักธรรมเป็นใหญ่

ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต

อ่านว่า นัต-ถิ-โล-เก-อะ-นิน-ทิ-โต

      แปลว่า คนที่ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก

      ความหมาย การนินทา หมายถึง การติเตียนลับหลัง หลักธรรมในพระพุทธศาสนาเรื่อง โลกธรรม สอนว่า การนินทาเป็นเรื่องธรรมดาของโลก สรรเสริญกับนินทาเป็นของคู่กัน บุคคลที่ได้รับการสรรเสริญ ก็ย่อมถูกนินทาได้เช่นกัน

      จุดมุ่งหมาย สอนให้ชาวพุทธเข้าใจธรรมชาติของโลกและมนุษย์ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ต้องตระหนักว่าไม่มีใครในโลกรอดพ้นจากการนินทา


ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ

อ่านว่า โก-ธัง-คัด-วา-สุ-ขัง-เส-ติ

      แปลว่า ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสุข

      ความหมาย ความโกรธ เป็นความรู้สึกไม่พอใจอย่างรุนแรงต่อบุคคล หรือต่อสถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนที่มีความทุกข์ เมื่อเกิดความโกรธอาจตัดสินใจใช้อารมณ์รุนแรงกระทำต่อบุคคลหรือสิ่งของส่งผลเสียหายร้ายแรงตามมา ดังนั้นการกำจัดความโกรธออกไป

      จุดมุ่งหมาย สอนให้ชาวพุทธรู้จักโทษและผลเสียของความโกรธ รู้จักฝึกระงับความโกรธ มิให้เกิดขึ้นง่ายๆ โดยใช้หลักไตรสิกขา ได้แก่

  •        การรักษาศีล
  •      การเจริญสมาธิ
  • ·       การเจริญปัญญา

ข้อใดสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ”

จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ” พุทธศาสนสุภาษิตบทนี้กล่าวถึงการฝึกจิตเพื่ออะไร *

จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ(จิตที่ฝึกดีแล้วนำสุขมาให้)” พุทธศาสนสุภาษิตบทนี้กล่าวถึงการฝึกจิตเพื่ออะไร เพื่อให้มีจิตใจเข้มแข็ง เพื่อให้มีสติควบคุมจิต เพื่อให้อดทนต่อความผิดหวัง

โลกธรรม 8 สอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิตใด

ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า โลกวิปัตติสูตร - โลกธรรม 8 ประการ เป็นหลักธรรมมี ความสอดคล้องในการธำรงรักษาบุคลากรเป็นอย่างมากในการที่จะเรียนรู้และเข้าใจ นับว่าเป็น การ “สอนใจ” โดยแท้จริง และเป็นการการปฏิบัติตนต่อบุคลากรเสมือนกับเป็นญาติใน ครอบครัวเดียวกัน ดังมีพุทธพุทธศาสนสุภาษิตว่า “วิสฺสาสปรมา ญาตี” ความคุ้นเคย เป็น ...

ข้อใดเป็นการปฏิบัติตนตามพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า วายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา

พุทธ ศาสนสุภาษิตที่จะฝากไว้สำหรับคนกำหนดเป้าหมายในปีใหม่ ก็เป็นดังที่ว่าวายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเป็นคนต้องพยายามร่ำไป จนกว่าจะได้บรรลุสิ่งที่ตั้งเป้าหมายไว้” นี่เป็นคติสอนใจ เกิดเป็นคนต้องพยายามร่ำไป จนกว่าจะได้บรรลุสิ่งที่ตั้งเป้าหมายไว้ พุทธภาษิตต่อไปว่านิปฺผนฺนโสภิโน อตฺถา เป้าหมาย งดงาม เมื่อยาม ...

ข้อใดคือความหมายของบัณฑิตตามพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ” *

บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ บัณฑิตตามความหมายทั่วไปแล้วอาจจะหมายถึง ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีขึ้นไป แต่ในทางพระพุทธศาสนาแล้ว บัณฑิต คือ คนที่คิดแต่เรื่องดี พูดดี ทำดี เป็นผู้ใช้ปัญญาในการดำรงชีวิต