ข้อใดเป็นส่วนประกอบของกระปุกเกียร์เคลื่อนขับล้อหน้า

 โดยเพลาแบบนี้มักจะนิยมนำไปใช้กับรถบรรทุกขนาดใหญ่ ลักษณะจะคล้ายกับแบบที่สอง แต่แบบนี้ลูกปืนจะถูกติดตั้งระหว่างเสื้อกับดุมล้อ โดยที่ล้อจะถูกยึดติดกับดุมล้อ โดยน้ำหนักทั้งหมดของรถจะอยู่ที่เสื้อเพลาแทน

                เฟืองท้าย บางครั้งเรียกว่า Final gear คืออุปกรณ์ส่งต่อแรงหมุนจากเพลาขับ ไปยังดุมล้อ และในขณะเดียวกัน เฟืองท้าย จะมีอัตราส่วนการทดรอบด้วย แต่จะไม่สามารถเปลี่ยนอัตราส่วนการทดรอบ เป็นหลายระดับเหมือนเกียร์

กระปุก​เกียร์​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ระบบขับเคลื่อน (ระบบ​ส่งกำลัง) ของ​รถ​ซึ่ง​อยู่​ระหว่าง​เครื่องยนต์​กับ​ล้อขับเคลื่อน หน้าที่​ของ​กระปุก​เกียร์​คือ การ​เปลี่ยน​อัตรา​ทด​เกียร์​โดย​ขึ้นกับ​ความเร็ว​และ​กำลัง​ขับ​เคลื่อนที่ต้องการ

หน่วยท่ี 3 เรื่อง กระปุกเกยี ร์ขบั เคลอ่ื นล้อหลงั (Gearbox Rear wheel drive) เคร่ืองยนตโ์ ดยทว่ั ไป ไม่วา่ จะเป็ นเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีนและเคร่ืองยนตด์ ีเซล แรงบิดของเคร่ืองยนต์ ที่ออกมาข้ึนอยกู่ บั ความเร็วรอบของเคร่ืองยนต์ เมื่อเครื่องยนตม์ ีความเร็วรอบสูง แรงบิดของเคร่ืองยนตก์ ็จะ เพ่ิมสูงข้ึนตามไปด้วย ผลที่ตามมาก็คือ ทาให้เกิดการกระชาก ขาดความนุ่มนวล ชิ้นส่วนเกิดการชารุด เสียหาย ดงั น้นั จึงตอ้ งมีการนาเอากระปุกเกียร์เขา้ มาใชต้ อ่ ร่วมกบั เคร่ืองยนต์ กระปุกเกียร์รถขบั เคลื่อนลอ้ หลงั ทาหนา้ ท่ี เป็นอุปกรณ์ท่ีสามารถเปลี่ยนอตั ราทดเพื่อส่งกาลงั ให้ รถยนตส์ ามารถขบั เคล่ือนที่ไปดา้ นหนา้ หรือถอยหลงั ได้ กระปุกเกียร์รถขบั เคลื่อนลอ้ หลงั ประกอบ ดว้ ย ส่วนท่ีสาคญั ดงั น้ีคือ เพลาคลตั ชห์ รือเพลารับกาลงั เพลาส่งกาลงั เพลารอง ชุดปรับความเร็วหรือชุดซิงโคร เมช และขบวนเฟื องต่าง ๆ เป็ นตน้ ภาพท่ี 3.1 แสดงลกั ษณะโครงสรา้ งและส่วนประกอบของกระปุกเกียร์รถขบั เคล่ือนลอ้ หลงั

3.1 ส่วนประกอบของกระปกุ เกยี ร์รถขับล้อหลงั มีดงั น้ี 3.1.1 เพลา (Shaft) เป็นส่วนประกอบที่สาคญั ของกระปุกเกียร์ แบ่งออกไดด้ งั น้ี เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั เพลารอง ภาพท่ี 3.2 แสดงลกั ษณะเพลาต่างๆ ของกระปุกเกียร์ 1.1.1.1 เพลาคลตั ช์ (Clutch Shaft) ทาหนา้ ที่ เป็นเพลาท่ีรับกาลงั งานจาก เครื่องยนต์ และส่งกาลงั ขบั ไปใหก้ บั เฟื องของเพลาคลตั ช์ 1.1.1.2 เพลารอง (Counter Shaft) เป็นเพลาท่ีมีเฟื องเกียร์ติดอยใู่ นเพลาเดียวกนั ทาหนา้ ท่ีรับกาลงั ขบั จากเฟื องรับกาลงั ส่งผา่ นไปยงั เฟื องเกียร์ตา่ ง ๆ บนเพลาส่งกาลงั 1.1.1.3 เพลาส่งกาลงั หรือเพลาหลกั (Main Gear) เฟื องบนเพลาส่งกาลงั ทาหนา้ ที่ รับกาลงั จากเฟื องบนเพลารอง ส่งตอ่ กาลงั ไปยงั เพลากลาง เฟื องทา้ ย เพลาทา้ ยหรือเพลาขบั และลอ้ 3.1.2 เฟื อง (Gear) ในกระปุกเกียร์รถยนตท์ ว่ั ไปจะทาหนา้ ที่ส่งกาลงั และเพิม่ หรือลดอตั ราทดของ เกียร์ไดต้ ามความตอ้ งการของ การเปลี่ยนแปลงความเร็วของรถยนต์ โดยสามารถแบ่งตามลกั ษณะของฟัน เฟื องดงั น้ีคือ 3.1.2.1 เฟื องฟันตรง ลกั ษณะของฟันเฟื องตรง พบเห็นในงานส่งกาลงั ขบั ทวั่ ๆ ไป เฟื องฟันตรงจะติดต้งั อยใู่ นตาแหน่งเกียร์ถอยหลงั ซ่ึงมีความเร็วรอบต่า ในขณะเขา้ เกียร์ฟันเฟื องจะขบกนั ทาใหเ้ กิดเสียงดงั จุดสมั ผสั มีมากสึกหรอเร็ว ภาพที่ 3.3 แสดงลกั ษณะเฟื องฟันตรง ภาพที่ 3.4 แสดงลกั ษณะเฟื องฟันเฉียง

3.1.2.2 เฟื องฟันเฉียง ฟันของเฟื องมีลกั ษณะเฉียงติดต้งั บนเพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั และเพลารอง โดยเฟื องฟันเฉียงจะขบกนั ตลอดเวลา การสึกหรอมีนอ้ ย เหมาะสาหรับเกียร์รถยนตใ์ น ปัจจุบนั 3.1.3 ลกู ปื น (Bearing) ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั รองรับแรงการเสียดสีของเพลา แบ่งออกไดด้ งั น้ี 3.1.3.1 ลูกปื นรองรับเฟื อง ส่วนมากมีลกั ษณะเป็นลูกปื นเขม็ ทรงกระบอก ติดต้งั อยู่ บนเพลาคลตั ชแ์ ละเฟื องเกียร์โดยมีเฟื องเกียร์สวมทบั ใชส้ าหรับรองรับเฟื องเกียร์และเพลาส่งกาลงั ภาพท่ี 3.5 แสดงลกั ษณะลกู ปื นเขม็ 3.1.3.2 ลูกปื นรองรับเพลา มีลกั ษณะเป็นลูกปื นเมด็ กลม ติดต้งั อยรู่ อบนอกของเพลา ส่งกาลงั และเพลารอง โดยมีเส้ือเกียร์สวมทบั ใชส้ าหรับรองรับเพลารับกาลงั หรือเพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั หรือเพลาเมน และเพลารองกบั เส้ือเกียร์ มีความเที่ยงตรง แขง็ แรง ลดการสึกหรอและลดเสียงดงั ภาพท่ี 3.6 แสดงลกั ษณะลกู ปื นสาหรับเพลา 3.1.4 เสื้อเกยี ร์ (Transmission Case or Housing) ทาหนา้ ที่เป็นส่วนที่ยดึ กบั ชิ้นส่วนตา่ งๆ ทาดว้ ย อลูมิเนียม หรือเหล็กหล่อ เส้ือเกียร์แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ส่วน คือ 3.1.4.1 ส่วนหนา้ เรียกวา่ เส้ือคลตั ช์ หรือเรียกวา่ หวั หมูคลตั ช์ (Clutch Housing) ยดึ ติดกบั เส้ือสูบของเครื่องยนต์

3.1.4.2 ส่วนกลาง เรียกวา่ เส้ือเกียร์ ใชส้ าหรับยึดชิ้นส่วนตา่ ง ๆ ของฟันเฟื อง และใชเ้ ป็นที่ บรรจุน้ามนั เกียร์ 3.1.4.3 ส่วนหลงั เรียกวา่ เส้ือทา้ ยเกียร์ (Extension Housing) เพอ่ื ใชร้ องรับเพลาส่งกาลงั ดา้ น ทา้ ยเกียร์จะมีซีลเพื่อกนั น้ามนั รั่ว และติดต้งั คนั เกียร์ เส้ือคลตั ช์ เส้ือเกียร์ เส้ือทา้ ยเกียร์ ภาพท่ี 3.7 แสดงเส้ือเกียร์รถขบั ลอ้ หลงั 3.2 หน้าทข่ี องกระปกุ เกยี ร์รถขับเคลอื่ นล้อหลงั มดี ังนี้ 3.2.1 การเพ่มิ แรงบิด (Torque) เมื่อเริ่มออกรถ 3.2.2 การเปล่ียนอตั ราทด เม่ือเปลี่ยนตาแหน่งเกียร์ อตั ราทดจะเปลี่ยนตามตาแหน่งเกียร์ ส่งผลให้ ความเร็วของรถเพ่มิ ข้ึนหรือลดลง 3.2.3 เปล่ียนตาแหน่งเกียร์ เช่น เกียร์ถอยหลงั (Reverse Gear), เกียร์เดินหนา้ (Forward Gear) และ เกียร์วา่ ง (Neutral Gear) 3.2.4 การตดั กาลงั รถยนต์ ใหเ้ ป็นเป็นตาแหน่งเกียร์วา่ ง 3.2.5 การเบรกด้วยเคร่ือง (Engine Brake) สามารถใชเ้ กียร์ต่า เพื่อลดอตั ราเร็วของรถยนตไ์ ดโ้ ดย เฉพาะในการขบั ขี่รถยนตล์ งทางลาดชนั มาก ๆ 3.3 ชนิดของกระปกุ เกยี ร์ สามารถแบง่ ออกไดด้ งั น้ี 3.3.1 กระปุกเกียร์ แบบเลื่อนขบกนั (Sliding Mesh) ลกั ษณะของกระปุกเกียร์ชนิดน้ีเมื่อตอ้ งการเขา้ เกียร์ จะตอ้ งเล่ือนเฟื องบนเพลาส่งกาลงั เขา้ มา ขบกบั เฟื องบนเพลารองขณะเขา้ เกียร์ ความเร็วรอบของเพลาส่งกาลงั และเพลารองจะหมุนดว้ ยความเร็วที่ไม่ เท่ากนั ส่งผลให้เกิดการปะทะกนั ระหว่างการเล่ือนเขา้ ขบจนเกิดเสียงดงั เขา้ เกียร์ยาก ส่วนใหญ่มีใช้ใน รถบรรทุกและรถแทรกเตอร์ ไม่นิยมใชก้ บั รถนง่ั ยกเวน้ เกียร์ถอยหลงั ในรถยนต์นงั่ ซ่ึงยงั คงใชเ้ กียร์แบบ เล่ือนขบกนั อยู่

เกียร์รับกาลงั เฟื องเกียร์ถอยหลงั เพลารับกาลงั anv’gdupiN5v ps]yเ’พลาส่งกาลงั เพลารอง เฟื องขบั เฟื องเกียร์ถอยหลงั 22222 เฟื องเกียร์ 2 anv’gdupiN5v fdjfifh ps]y’ 22222fdjfi ew222 ภาพf2hท2e่ี /2w3.a82n2แv2ส’2gดงกระปุกเกียร์แบบเล่ือนขบกนั 222/2a nv’gd 3.3.2 กระปvupุกpsiเกN]yีย5’ร์แบบซิงโdคuรpเมiNชs5(]vSypy’nchromesh Gear) ในกระปุกเกียร์ซิงโครเมช แต่ละชุดเกียร์จะมืชุดกลไกปรับความเร็ว (Synchroniser) ทา หนา้ ที่ปรับความเร็วเฟื องบนเพลาส่งกาลงั ให้มีความเร็วลดลงเท่ากบั ความเร็วของปลอกเลื่อน เพื่อสามารถ เขา้ เกียร์ไดง้ ่าย นุ่มนวลและไม่เสียงดงั เกียร์ซิงโครเมชมีส่วนประกอบที่สาคญั และหลกั การทางานคลา้ ยกบั เกียร์แบบเล่ือนขบกนั เกียร์แบบน้ีเฟื องบนเพลาส่งกาลงั กบั เฟื องบนเพลารองแต่ละคูจ่ ะขบกนั อยตู่ ลอดเวลา ยกเวน้ ในเกียร์ถอยหลงั เฟื องเกียร์ 3 เฟื องเกียร์ 2 เฟื องเกียร์ 1 ชุดกลไกปรับความเร็ว เฟื องเกียร์ 5 เฟื องเกียร์ 4 เพลารับกาลงั เพลาส่งกาลงั เพลารอง เฟื องเกียร์ถอย ชุดกลไกปรับความเร็ว ภาพที่ 3.9 แสดงกระปุกเกียร์แบบซิงโครเมชแบบ 5 ความเร็ว

ชุดกลไกปรับความเร็วหรือซิงโครไนเซอร์ มีอย่หู ลายแบบ ในแต่ละแบบจะมีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไป แตย่ งั คงมีหลกั การทางานท่ีเหมือนกนั ดงั น้ีคือ 3.3.2.1 ซิงโครเมชแบบมีตวั หนอน ชุดซิงโครเมชแบบน้ี ประกอบดว้ ยเฟื อง ทองเหลือง เป็ นหลกั ในการทางาน ดุมคลตั ช์ และปลอกเลื่อนอยกู่ บั ท่ี ล่ิมเล่ือนฝังอย่ใู นดุมปลอกเลื่อน สปริงล่ิมเลื่อนมีลกั ษณะเป็นคร่ึงวงกลม อดั ลิ่มเลื่อนติดกบั ตวั ปลอกเลื่อน โดยท่ีเฟื องทองเหลืองลอยตวั อยู่ ขา้ งดุมคลตั ช์ปลอกเล่ือนและหมุนไปพร้อม ดุมปลอกเลื่อน ส่วนประกอบของซิงโครเมชแบบเฟื องทองเหลอื ง มีดงั น้ี 1. ดุมคลตั ช์ (Clutch Hub) ดุมคลตั ช์จะประกอบเขา้ กบั เพลาโดยร่องสปายน์ และมีปลอกเลื่อน สวมกบั ซี่ฟันของสปายนร์ อบนอกของดุมคลตั ช์ และเคล่ือนที่ไปมาไดต้ ามทิศทางของแนวแกนเพลา ซ่ึงมี ร่องสาหรับล่ิมเล่ือน 3 ร่อง โดยมีระยะห่างเท่ากนั 2. ล่ิมเลื่อนหรือตวั หนอน (Insert) จะสอดอยใู่ นร่องดา้ นนอกของดุมคลตั ช์ มีสปริงดนั ลิ่มเล่ือนให้ สัมผสั กบั ปลอกเล่ือนตามล่ิมเล่ือน มีหนา้ ที่ ดนั ตา้ นกบั เฟื องทองเหลืองใหส้ มั ผสั กบั กรวยเฟื องเกียร์เม่ือเขา้ เกียร์ 3. เฟื องทองเหลือง หรือแหวนซิงโครไนเซอร์ (Synchroniser Ring) เป็ นเฟื องรูปกรวยส่วนกนั กรวยเฟื องเกียร์ภายในทาเป็ นเกลียวละเอียดเพ่ือให้เกิดความฝื ด เฟื องทองเหลืองจะประกอบอยรู่ ะหวา่ งดุม คลตั ช์และส่วนที่เป็ นกรวยของเฟื องเกียร์แต่ละเฟื องจะถูกดนั ให้ติดกบั ส่วนท่ีเป็ นกรวยดา้ นในของเฟื อง ทองเหลือง ก็จะเป็ นรูปกรวยรับกบั กรวยของ เฟื องเกียร์และมีร่องเล็กยาวตลอดตามแนวรอบวง เพื่อการจบั ยดึ ท่ีดีดา้ นนอกของเฟื องทองเหลือง จะมีร่อง 3 ร่อง เพือ่ เอาไวร้ ับกบั ตวั หนอน 4. ปลอกเล่ือน (Coupling Sleeve) เป็ นตวั เลื่อนเกียร์ไดร้ ับแรงผลกั ดนั จากคนั เกียร์โดยปลอกเล่ือน พาล่ิมเล่ือนเคล่ือนที่ไปได้ดนั เฟื องทองเหลืองให้กรวยเฟื องทองเหลืองสัมผสั กรวยเฟื องเกียร์ สมดุล ความเร็วรอบเฟื องทองเหลืองใหเ้ ท่ากบั ความเร็วรอบเฟื องเกียร์ สปริงตวั หนอน เฟื องเกียร์ ปลอกดุม ตวั หนอน เฟื องทองเหลือง ร่อง ดุมคลตั ช์ กรวย ภาพที่ 3.10 แสดงส่วนประกอบชุดซิงโครเมชแบบเฟื องทองเหลอื ง

หน้าทก่ี ารทางานชุดซิงโครเมชแบบเฟื องทองเหลอื ง (1) ตาแหน่งเกียร์วา่ ง เฟื องเกียร์แต่ละเฟื องจะขบอยกู่ บั เฟื องขบั ของแตล่ ะเกียร์และจะหมุนได้ อิสระบนเพลาดุมคลตั ช์จะสวมอยกู่ บั ปลอกดุมดว้ ยร่องสไปลน์ สภาพน้ีเฟื องทองเหลืองจะหมุนฟรี (2) ข้นั ตอนที่ 1 – เริ่มเปลี่ยนเกียร์ (เร่ิมทาการปรับความเร็วของเฟื อง) ปลอกดุม เฟื องเกียร์ เฟื องทองเหลือง เฟื องเกียร์ ตวั หนอน สไปลนป์ ลอกดุม สไปลน์ เฟื องทองเหลือง สไปลน์ปลอกดุม ภาพที่ 3.11 แสดงการทางานชุดซิงโครเมชแบบเฟื องทองเหลือง ขณะท่ีคนั เกียร์ กา้ มปูเกียร์ซ่ึงสวมอยบู่ นร่อง ของปลอกดุมจะดนั ปลอกดุมไปทางดา้ นปลายลูกศร เน่ืองจากปลอกดุมและตวั หนอนจะมีส่วนที่ขบกนั โดยผ่านทางส่วนนูนที่ก่ึงกลางตวั หนอน ดงั น้นั การ เคล่ือนที่ของปลอกดุมจึงส่งถ่ายไปสู่ตวั หนอนดว้ ย ในขณะที่หมุนอยนู่ ้นั ก็จะไปดนั เฟื องทองเหลือง ใหแ้ นบ กบั ส่วนกรวยของเฟื องเกียร์เพ่ือเร่ิมทาการปรับ ความเร็ว ความเร็วที่แตกต่างกนั ของปลอกดุมและเฟื องเกียร์ และความฝื ด ระหวา่ งเฟื องทองเหลืองและส่วนกรวยของเฟื องเกียร์ ทาให้เฟื องทองเหลืองซ่ึงเคล่ือนเขา้ หา เฟื องเกียร์เป็นเหตุใหเ้ ฟื องเกียร์หมุนไปในทิศทางเดียวกนั ระยะท่ีปลอกดุมเคล่ือนท่ีไดน้ ้ี จะมีค่าเท่ากบั ค่าความแตกต่างระหวา่ งความกวา้ งของร่องปลอกดุม และความสูงของส่วนนูนของตวั หนอน เมื่อมองภาพดา้ นบน จะเห็นวา่ สไปลน์ดา้ นในของปลอกดุมและสไปลน์ของเฟื องทองเหลืองในแต่ ละฟันยงั ไม่ขบกนั (3) ข้นั ตอนที่ 2 เมื่อเขา้ เกียร์มากข้ึน (ปรับความเร็วตอ่ เน่ือง) เมื่อคนั เกียร์ถูกดนั ตอ่ ไปแรงดนั ซ่ึงดนั ปลอกดุมจะมากกวา่ แรงดนั ของสปริงตวั หนอน ทาใหป้ ลอกดุมหลุดข้ึนมาเลยอยบู่ นส่วนยอดของตวั หนอน

ปลอกดุม ปลอกดุม หลืองตวั หนอน เฟื องทองเหลือง หลืองตวั เฟื องทองเหลือง ตวั หนอนเฟื องเกียร์ หนอน ตวั หเนฟอื อนงเกียร์ ตวั หนอน ตวั หนอน ส่วนกรวย ภาพด้านบน สปริงตวั หนอน สปายน์ สไปลน์ของเฟื องทองเหลือง การเคลื่อนเขา้ ขบกนั เป็ นไปไดย้ าก ภาพที่ 3.12 แสดงการทางานชุดซิงโครเมชแบบเฟื องทองเหลือง อยา่ งไรก็ดีสไปลน์ของปลอกดุมละเฟื องทองเหลืองก็ยงั เย้ืองกนั อยู่ ดงั น้นั แรงที่ดนั ปลอกดุมกา้ มปู เกียร์จึงไปดนั เฟื องทองเหลืองให้แนบกบั ส่วนกรวยของเฟื องเกียร์มากย่ิงข้ึนโดยส่งถ่ายผา่ นเฟื องทองเหลือง และปลอกดุม ดงั น้นั ความเร็วของเฟื องเกียร์จึงถูกปรับใหเ้ ทา่ กนั กบั ความเร็วของปลอกดุม ข้อมูลอ้างองิ ร่องเลก็ ๆ ตามแนวเส้นรอบวงซ่ึงอยดู่ า้ นในของเฟื องทองเหลือง ซ่ึงเป็ นดา้ นท่ีสัมผสั กบั ส่วนกรวยของเฟื องเกียร์จะมีหน้าท่ีขจดั ฟิ ล์มน้ามนั ซ่ึงจบั อยู่บนผิวหนา้ สัมผสั เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ทางดา้ นความฝืดและนามาซ่ึงการปรับความเร็วที่ดีข้ึน (4) ข้นั ตอนที่ 3 เม่ือเขา้ เกียร์จนสุด (ปรับความเร็วไดส้ มบูรณ์แบบ) เมื่อความเร็วรอบของปลอกดุม และเฟื องเกียร์เท่ากนั เฟื องทองเหลืองก็สามารถเคลื่อนที่ไดอ้ ย่างอิสระไปมาตามทิศทางการหมุน ดงั น้ัน สไปลนด์ า้ นในของปลอกดุมจึงเคล่ือนเขา้ ขบกนั สไปลนข์ องเฟื องทองเหลืองไดเ้ ตม็ ที่ดงั แสดงในภาพ ข้อมูลอ้างอิง ถา้ หากการปรับความเร็วไม่ดีพอก็จะทาใหค้ วามเร็วเท่ากนั ไดย้ ากเฟื องขบกนั จึงเกิด เสียงดงั หรืออาจจะเขา้ เกียร์ไม่ไดห้ รือติดขดั ข้อมูลอ้างองิ กลไกซิงโครเมชในชุดเกียร์ C50 สาหรับรถยนตข์ บั เคลื่อนลอ้ หนา้ (FF) จะออกแบบ มาใหม้ ีการทางานเหมือนกบั ชุดส่งกาลงั W55 สาหรับรถยนตข์ บั เคล่ือนลอ้ หลงั (FR)

ซิงโครเมชเกียร์ 3 และ4 ซิงโครเมชเกียร์ 1 และ2 เพลาคลตั ช์ เพลากาลงั ซิงโครเมชเกียร์ 5 เฟื องรอง ภาพที่ 3.13 แสดงชุดเกียร์ซิงโครเมช E50 3.3.2.2 ซิงโครเมทแบบไมม่ ีตวั หนอน โครงสร้าง ซิงโครเมชแบบไม่มีตวั หนอนจะใช้ กบั เกียร์ท่ี 5 ของชุดเกียร์ E50 ส่วนเกียร์อ่ืน ๆ จะใชก้ ลไกซิงโครเมชแบบมีตวั หนอน (ซ่ึงเป็ นแบบเดียวกบั ที่ ใชใ้ นชุดเกียร์ C50) ส่วนประกอบของซิงโครเมชแบบไมม่ ีตวั หนอน มีดงั น้ี 1. ปลอกดุม จะมีร่องอยดู่ า้ นในของปลอกดุม 3 ร่อง และจะถูกดนั ดว้ ยสปริงวง แหวนในระหวา่ งทาการปรับความเร็ว 2. ดุมคลตั ช์ จะมีสันยน่ื อยู่ 3 สนั รอบ ๆ ดุมคลตั ช์ เพอื่ ยดึ เฟื องทองเหลือง และสปริง รูปวงแหวนใหเ้ ขา้ ดว้ ยกนั 3. สปริงรูปวงแหวน สปริงวงแหวนจะมีเข้ียวยน่ื อยู่ 4 เข้ียว เข้ียวหน่ึงจะเป็นตวั ยดึ สปริงเขา้ กบั ดุมคลตั ช์ ส่วน 3 เข้ียวที่เหลือจะนาไปยดึ กบั เฟื องทองเหลืองและสปริงตวั หนอน 4. เฟื องทองเหลือง มีรอยบากและร่องอยู่ 3 ตาแหน่งบนเฟื องทองเหลือง ตามแนว เส้นรอบวงเพ่ือใชย้ ดึ กบั เข้ียวของสปริงรูปวงแหวน เฟื องทองเหลือง เฟื องเกียร์ ปลอกดุม ดุมคลตั ช์ แหวนสปริง ภาพท่ี 3.14 แสดงส่วนประกอบของชุดซิงโครเมชเกียร์ 5

ข้อมูลอ้างองิ กลไกซิงโครเมช แบบ Triple-Cone และ Double-Cone ปัจจุบนั น้ีไดน้ าเอากลไกซิงโครเมชแบบ Triple-Cone และ Double-Cone มาใชใ้ นรถยนตโ์ ดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ เกียร์ 2 และเกียร์ 3 ซ่ึงทาใหค้ วามสามารถในการเขา้ เกียร์ทาไดง้ ่ายและน่ิมนวลข้ึน กลไกซิงโครเมช แบบ Triple-Cone กลไกซิงโครเมชแบบ Triple-cone จะประกอบดว้ ย แหวนทองเหลืองตวั นอก, ตวั กลาง, ตวั ใน และ กรวยเฟื องเกียร์ รวมท้งั เฟื องดุม, แหวนสปริงและปลอกเล่ือนสวมอยบู่ นเฟื องดุม, เมื่อเกิดการหมุนจะทาให้ กลไกชุดน้ี หมุนไปพร้อมกบั เพลาส่งกาลงั แหวนทองเหลืองตวั กลางะสวมเขา้ กบั ร่องบากของกรวยเฟื อง เกียร์ และจะหมุนไปพร้อมกบั เฟื องเกียร์ในตาแหน่งเขา้ เกียร์ แหวนสปริงดนั แหวนทองเหลืองขา้ งนอก โดย ผ่านสันยื่นภายในของปลอกเล่ือนด้วยเหตุน้ีทาให้เกิดความฝื ดระหว่างแหวนทองเหลืองท้งั 3 ตวั ซ่ึง ประกอบดว้ ย ความฝื ดระหวา่ งแหวนทองเหลืองตวั ในและความฝื ดระหว่างแหวนทองเหลืองตวั นอกและ แหวนทองเหลืองตวั กลาง ความฝื ดระหวา่ งแหวนทองเหลืองตวั กลาง และแหวนทองเหลืองตวั ในและความ ฝื ดระหว่างแหวนทองเหลืองตวั ในและกรวยเฟื องเกียร์ ดงั น้ันทาให้คามเร็วการหมุนของเฟื องเกียร์และ ปลอกเล่ือนเท่ากนั และการเขา้ ขบกนั ของกรวยเฟื องเกียร์และปลอกเล่ือนทาไดง้ ่ายและนิ่มนวล กลไกซิงโครเมทแบบ Double-Cone - กลไกซิงโครเมชแบบ Double-Cone มีโครงสร้างและการทางานข้นั พ้ืนฐานเหมือนกบั กลไกซิง โครเมชแบบ Tritple-Cone เพยี งแต่วา่ ไมเ่ กิดความฝืดระหวา่ งแหวนทองเหลืองตวั ในและกรวยเฟื องเกียร์ 3.4 หลกั การทางานของเกยี ร์แบบซิงโครเมช เกียร์แบบธรรมดาอาจจะติดต้งั ตามขวาง (ด้านซ้ายไปดา้ นขวา) หรือตามแนวยาว (ด้านหน้าไป ดา้ นหลงั ) สาหรับการติดต้งั เกียร์ตามขวางจะมีใชก้ บั รถยนตข์ บั เคล่ือนลอ้ หน้า มีเครื่องยนตด์ า้ นหนา้ (FF) ในขณะที่เกิดต้งั เกียร์ตามแนวยาวจะติดต้งั ในรถยนตข์ บั เคล่ือนลอ้ หลงั เครื่องยนต์ (FR) แนวของการส่งกาลงั จะแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ประเภทของการส่งกาลงั แบบตามขวางหรือตามแนวยาวซ่ึงมีรายละเอียดตามรูป ดา้ นล่างเป็นประเภทของการติดต้งั เพลา ตามแนวขวางเป็นการติดต้งั เพลาตามแนวยาวของการส่งกาลงั

การทางานของกระปกุ เกยี ร์รถขบั เคลอ่ื นล้อหลงั แบบ ซิงโครเมช 5 ความเร็ว 1. ตาแหน่งเกยี ร์ว่าง เพลารับกาลงั หรือเพลาคลตั ช์ เฟื องขบั หลกั หรือเฟื องเกียร์ 4 เฟื องรองหลกั เฟื องขบั หลกั เฟื องเกียร์ 4 เพลาส่งกาลงั เพลาคลตั ช์ เฟื องรอง ภาพที่ 3.15 แสดงตาแหน่งเกียร์วา่ ง 2. ตาแหน่งเกยี ร์ 1 เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์ 4) เฟื องรอง เฟื องเกียร์ 1 เพลาคลตั ช์ ปลอกดุมคลตั ช์และดุมตวั ที่ 1 เพลาส่งกาลงั ปลอกดุมคลตั ชแ์ ละดุมตวั ที่ 1 เฟื องเกียร์ 1 เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์ 4) เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั เฟื องรอง ภาพที่ 3.16 แสดงตาแหน่งเกียร์ 1

3. ตาแหน่งเกยี ร์ 2 เฟื องรอง เฟื องเกียร์ 2 เพลาคลตั ช์ เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์ 4) ปลอกดุมคลตั ช์และดุมตวั ท่ี 1 เพลาส่งกาลงั เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์ 4) เฟื องเกียร์ 2 ปลอกดุมคลตั ชแ์ ละดุมตวั ที่ 1 เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั เฟื องรอง เฟื องเกียร์ 3 ภาพที่ 3.17 แสดงตาแหน่งเกียร์ 2 4. ตาแหน่งเกยี ร์ 3 เพลาคลตั ช์ เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์ 4) เฟื องรอง ปลอกดุมคลตั ชแ์ ละดุมตวั ที่ 2 เพลาส่งกาลงั เฟื องเกียร์ 3 ปลอกดุมคลตั ชแ์ ละดุมตวั ที่ 2 เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์4 ) เฟื องขบั หลกั เฟื องเกียร์ 4 เพลาคลตั ช์ เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั เฟื องรอง ภาพท่ี 3.18 แสดงตาแหน่งเกียร์ 3

5. ตาแหน่งเกียร์ 4 เพลาคลตั ช์ เฟื องเกียร์ 4 ปลอกดุมคลตั ช์และดุมตวั ท่ี 2 เพลาส่งกาลงั เฟื องเกียร์ 4 ปลอกดุมคลตั ชแ์ ละดุมตวั ท่ี 2 เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั ภาพท่ี 3.19 แสดงตาแหน่งเกียร์ 4 6. ตาแหน่งเกยี ร์ 5 เพลาคลตั ช์ เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์ 4) เฟื องรอง ปลอกดุมคลตั ช์และดุมตวั ที่ 3 เฟื องขบั เกียร์ 5 เฟื องตามเกียร์ เพลาส่งกาลงั เฟื องขบั หลกั เฟื องเกียร์ 4 5 เฟื องเกียร์ 5 เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั เฟื องรอง เฟื องรองเกียร์ 5 ปลอกดุมคลตั ชแ์ ละดุมตวั ท่ี 3 ภาพรูปท่ี 3.20 แสดงตาแหน่งเกียร์ 5

7. ตาแหน่งเกยี ร์ถอยหลงั เพลาคลตั ช์ เฟื องขบั หลกั (เฟื องเกียร์ 4) เฟื องรอง (เฟื องขบั เกียร์ถอย) เฟื องกลบั เฟื องตามเกียร์ถอย เพลาส่งกาลงั ทิศทาง เพลาคลตั ช์ เฟื องขบั หลกั เฟื องเกียร์ 4 เฟื องเกียร์ถอย เพลาส่งกาลงั Reverse gear เฟื องรอง เฟื องกลบั ทิศทาง ภาพท่ี 3.21 แสดงตาแหน่งเกทียริศ์ถทอายงหลงั เฟื องรอง 3.5 กลไกควบคุมคันเกยี ร์ (Gear Shifting) มีหนา้ ท่ีควบคุมตาแหน่งเกียร์ต่างๆ บริษทั ผผู้ ลิตจะออกแบบ ตาแหน่งกระปุกเกียร์ใหม้ ีระยะห่างท่ีเหมาะสมกบั ตาแหน่งผขู้ บั ข่ี แบ่งไดด้ งั น้ีคือ 1. คนั เกียร์กระปุก (Floor Shift) เป็นเกียร์ท่ีมีคนั เกียร์ต่อกบั กระปุกเกียร์ เพอ่ื ใชส้ าหรับเลือก ตาแหน่งเกียร์ คนั เกียร์ ขาคนั เกียร์ จุดหมนุ ลกู ปื นลอ๊ ก สปริงดนั คนั เกียร์ ฝาครอบ แกนกา้ มปู กา้ มปู กา้ มปู ภาพที่ 2.22 แสดงคนั เกียร์กระปุก

2. คนั เกียร์พวงมาลยั (Column Shift) ใชส้ าหรับเลือกตาแหน่งเกียร์ มีลกั ษณะเป็น กา้ นต่อหลายกา้ นต่อกนั เป็ นระยะ ติดต้งั ระหวา่ งพวงมาลยั กบั กระปุกเกียร์ ปัจจุบนั ไมน่ ิยมใช้ พวงมาลยั เพลาควบคุม คนั เกียร์ กา้ นตอ่ แกนควบคุม แกนเปลี่ยนเกียร์ ภาพที่ 2.23 แสดงคนั เกียร์พวงมาลยั 3. คนั เกียร์แบบสาย ยดึ ติดกบั ชุดกลไกควบคุมคนั เกียร์ โดยติดต้งั บนพ้นื รถใกลต้ าแหน่ง ผขู้ บั ข่ี มีลกั ษณะเป็นสายเคเบิล จานวน 2 สาย ปลายดา้ นหน่ึงยดึ ติดกบั ชุดควบคุมคนั เกียร์ ปลายอีกดา้ นหน่ึง ยดึ ติดกบั กระปุกเกียร์ คนั เกียร์ สายเคเบิลเปล่ียนเกียร์ กระปุกเกียร์ ภาพที่ 2.24 แสดงคนั เกียร์แบบสาย

หลกั การทางานของกลไกป้ องกนั เกยี ร์ 1. กลไกป้ องกนั เกียร์หลุด เฟื องเกียร์ต่าง ๆ เมื่อใชง้ านไปนาน ๆ ยอ่ มมีการชารุดสึกหรอ ซ่ึงเป็นสาเหตุท่ีทาให้เกียร์หลุดได้ ดงั น้นั จึงไดม้ ีการบากที่ฟันเฟื องบนปลอกเล่ือนและเฟื องเกียร์เป็ นรูป หางเหยย่ี วในช่วงบริเวณท่ีฟันเฟื องขบกนั เม่ือเกียร์หมุนเฟื องท่ีบากไวจ้ ะขบกนั อยา่ งแนบสนิท จึงทาให้ เกียร์หลุดยากข้ึน ฟันเฟื องเกียร์ ฟันเฟื องปลอกเล่ือนเกียร์ ร่องบาก ภาพท่ี 2.25 แสดงกลไกป้ องกนั เกียร์หลดุ 2. การป้ องกนั การเขา้ เกียร์เลย บนเฟื องเกียร์จะมีอุปกรณ์ป้ องกนั การเขา้ เกียร์เลยอย่ตู วั เพ่ือเป็ นตวั ทาใหก้ ารเขา้ ขบกนั ของปลอกเลื่อนกบั เฟื องเกียร์เป็ นไปอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม กลไกจะมีเฉพาะในเกียร์บาง รุ่นเทา่ น้นั หมายเหตุ ท่ีปลอกเลื่อนจะทาเป็ นช่องเวา้ เขา้ หาตวั เองเพ่ือรับกบั ตวั ซิงโครไนเซอริง อาศยั แรง ขยายตวั ของซิงโครไนเซอร์เป็นตวั ป้ องกนั ไมใ่ หป้ ลอกเลื่อมหลุดออกมา แหวนซิงโครไนเซอร์ ปลอกเลื่อน อุปกรณ์ป้ องกนั การเขา้ เกียร์เลย เกียร์ ช่องเวา้ (กลไกป้ องกนั เกียร์หลดุ ) ภาพท่ี 2.26 แสดงการป้ องกนั เขา้ เกียร์เลย 3. กลไกป้ องกนั เกียร์หลุด ประกอบดว้ ยแกนกา้ มปู 3 แกน หรืออาจมากกวา่ น้นั ซ่ึงข้ึนอยกู่ บั การ ออกแบบของบริษทั ผผู้ ลิต แกนกา้ มปูจะมีร่องบากสาหรับใส่ลูกปื นอินเตอร์ล็อก โดยมีสปริงกดทบั ลูกปื น ใหแ้ นบสนิทกบั ร่องบากเพ่อื ป้ องกนั เกียร์หลุด

ข้อสังเกต ถา้ ใชส้ ปริงลูกปื นที่แขง็ เกินไป อาจใชแ้ รงมากในการเปลี่ยนเกียร์ แต่สามารถ ป้ องกนั เกียร์หลุดไดด้ ี แต่ถา้ ใชส้ ปริงท่ีอ่อนการเปล่ียนเกียร์จะง่าย แตท่ าใหเ้ กียร์หลุดง่ายเช่นเดียวกนั สลกั อินเตอร์ลอ็ ก เพลากา้ มปูตวั ท่ี 1 เพลากา้ มปูตวั ท่ี 3 เพลากา้ มปูตวั ท่ี 2 ภาพท่ี 2.27 แสดงกลไกลอ็ กเขา้ เกียร์ กลไกลอ็ กเขา้ เกียร์ จากรูปในจานวนกา้ มปู 3 เพลาของเกียร์แต่ละลูก เพลาตวั ท่ี 2 จะมีร่องบากท่ี เพลาอยู่ 2 ตาแหน่ง และท่ีเพลาตวั ที่ 1 ตวั ที่ 3 จะมีร่องบากเพียงร่องเดียว สลกั อินเตอร์ล็อกกนั เกียร์จะใส่ อยรู่ ะหวา่ งเพลาท้งั 3 น้ี โดยอยใู่ นตาแหน่งร่องบากท่ีอยบู่ นเพลา สลกั อินเตอร์ลอ็ กจะทาหนา้ ที่ป้ องกนั การ เขา้ เกียร์ซอ้ น ซ่ึงหมายความวา่ เม่ือเขา้ เกียร์ใดเกียร์หน่ึงแลว้ จะไมส่ ามารถเขา้ เกียร์อ่ืน ๆ ไดอ้ ีก ในเกียร์แต่ ละแบบจะมีสลกั อินเตอร์ล็อกไม่เทา่ กนั บางแบบจะมี 2 ตวั 3 ตวั หรือ 4 ตวั ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั บริษทั ผผู้ ลิต เพลาตวั ท่ี 1 เพลาตวั ที่ 1 เพลาตวั ที่ 2 เพลาตวั ที่ 2 เพลาตวั ที่ 3 เพลาตวั ท่ี 3 เพลาตวั ท่ี 1 เพลาตวั ที่ 2 เพลาตวั ที่ 3 ภาพท่ี 2.28 แสดงการทางานของสลกั อินเตอร์ลอ็ ก

ตามรูปเป็ นการทางานของสลกั อินเตอร์ล็อกในตาแหน่งเกียร์ตา่ ง ๆ ซ่ึงอธิบายไดด้ งั น้ี จากภาพท่ี (1) เม่ือเพลาตวั ท่ี 3 เคลื่อนที่ไปตามทิศทางของลูกศร สลกั อินเตอร์ล็อกท่ีอย่รู ะหวา่ ง เพลาตวั ท่ี 2 กบั 3 จะถูกเพลาตวั ท่ี 3 ผลกั ให้เขา้ ไปในร่องเพลาตวั ท่ี 2 ทาให้เพลาตวั ที่ 2 ถูกกนั ไม่ให้ เคลื่อนท่ี เมื่อเพลาเคลื่อนท่ีไม่ไดก้ ็ไม่สามารถเขา้ เกียร์ได้ ซ่ึงเป็ นการป้ องกนั ไม่ให้เขา้ เกียร์ซ้อนกนั ส่วน ภาพที่ (2) และ (3) มีลกั ษณะการทางานเหมือนกนั ภาพที่ (1) เพยี งแต่เปล่ียนเพลาที่จะเคล่ือนท่ีเท่าน้นั 3.6 สาเหตุข้อขดั ข้องและการแก้ไขของกระปุกเกยี ร์ สาเหตุขอ้ ขดั ขอ้ งและการแกไ้ ขของกระปุกเกียร์มีดงั ต่อไปน้ี ตารางท่ี 1.2 สาเหตุขอ้ ขดั ขอ้ งและการแกไ้ ขกระปุกเกียร์ขบั เคลื่อนลอ้ หลงั ปัญหาข้อขดั ข้อง สาเหตุ การแก้ไข 1. เกียร์มีเสียงดงั จาก 1. ชุดซิงโครไนเซอร์ชารุด 1. ซ่อมหรือเปล่ียนชุดซิงโครไนเซอร์ การเลือกตาแหน่ง 2. ปรับต้งั ระยะฟรีคลตั ชไ์ ม่ถูกตอ้ ง 2. ปรับต้งั ระยะฟรีคลตั ช์ใหถ้ ูกตอ้ ง เกียร์ 3. ผขู้ บั ขี่เหยยี บแป้ นเหยยี บคลตั ช์ 3. เหยยี บแป้ นเหยยี บคลตั ชจ์ นสุด ไม่สุด ใหค้ ลตั ชจ์ าก 4. น้ามนั เกียร์ไม่ไดม้ าตรฐาน 4. เปลี่ยนน้ามนั เกียร์ตามมาตรฐาน ตามที่บริษทั ผผู้ ลิตกาหนด ที่บริษทั ผผู้ ลิตกาหนด 5. น้ามนั เกียร์ต่ากวา่ ระดบั ปกติ 5. เติมน้ามนั เกียร์ถึงระดบั ที่กาหนด 6. ระบบไฮดรอลิกส์ของคลตั ช์ 6. ซ่อมระบบไฮดรอลิกส์ของคลตั ช์ ชารุดเฉพาะคลตั ช์แบบไฮดรอลิกส์ 7. ลูกปื นปลายเพลาคลตั ชช์ ารุด 7. เปล่ียนลูกปื นปลายเพลาคลตั ช์ 8. ฟันของเฟื องเกียร์แตกหกั หรือบิ่น 8. เปล่ียนเฟื องเกียร์ 9. ตลบั ลูกปื นเพลารับกาลงั และ 9. เปล่ียนตลบั ลูกปื น เพลาส่งกาลงั ชารุด 2. เลื่อนตาแหน่ง 1. เหยยี บแป้ นเหยยี บคลตั ชไ์ ม่สุด 1. เหยยี บแป้ นเหยยี บคลตั ช์ใหส้ ุด เขา้ เกียร์ยาก หรือคลตั ชไ์ ม่จาก 2. ปรับต้งั ระยะฟรีคลตั ช์ไมถ่ ูก 2. ปรับต้งั ระยะฟรีคลตั ชใ์ หถ้ ูกตอ้ ง ตอ้ ง หรือระยะฟรีมากเกินไป 3. ชุดซิงโครไนเซอร์ชารุดปลอกดุม 3. เปล่ียนชุดซิงโครไนเซอร์ หรือ คลตั ช์ติดขดั ซ่อมปลอกดุมคลตั ช์ 4. ฟันของเฟื องเกียร์ถอยหลงั สึกหรอ 4. เปล่ียนเฟื องเกียร์ถอยหลงั 5. สปริงป้ องกนั เกียร์หลุดแข็ง 5. เปลี่ยนสปริงป้ องกนั เกียร์หลุด เกินไป

ปัญหาข้อขดั ข้อง สาเหตุ การแก้ไข 3. ปลดเกียร์ยาก 6. ใชน้ ้ามนั เกียร์ไม่ตรงตาม 6. เปลี่ยนน้ามนั เกียร์ตามมาตรฐานท่ี 4. เกียร์หลุด 5. น้ามนั เกียร์ร่ัว มาตรฐานที่กาหนด กาหนด 7. น้ามนั เกียร์ต่ากวา่ ระดบั ปกติ 7. เติมน้ามนั เกียร์จนถึงระดบั ท่ี กาหนด 1. เหยยี บแป้ นคลตั ช์ไม่สุดหรือ 1. เหยยี บแป้ นเหยยี บคลตั ชใ์ หส้ ุด คลตั ชไ์ มจ่ าก 2. กา้ นตอ่ ขาดการหล่อล่ืน 2. ใชน้ ้ามนั หล่อล่ือกา้ นตอ่ 3. สปริงป้ องกนั เกียร์หลุดแข็งเกินไป 3. เปลี่ยนสปริงป้ องกนั เกียร์หลุด 4. ชุดซิงโครไนเซอร์ชารุด ปลอกดุม 4. เปลี่ยนชุดซิงโครไนเซอร์หรือ คลตั ช์ติดขดั ซ่อมชิ้นส่วน 5. น้ามนั เกียร์ไม่ตรงตาตามท่ี 5. เปลี่ยนน้ามนั เกียร์ตามมาตรฐานที่ บริษทั ผผู้ ลิตกาหนด บริษทั ผผู้ ลิตกาหนด 6. น้ามนั เกียร์ต่ากวา่ ระดบั ปกติ 6. เติมน้ามนั เกียร์จนถึงระดบั ท่ีกาหนด 1. สปริงป้ องกนั เกียร์หลุดอ่อนมาก 1. เปลี่ยนสปริงป้ องกนั เกียร์หลุด 2. ปรับต้งั กา้ นตอ่ ไมถ่ ูกตอ้ ง 2. ปรับต้งั กา้ นตอ่ ใหถ้ ูกตอ้ ง 3. ตลบั ลูกปื นชารุด 3. เปล่ียนตลบั ลูกปื น 4. ชุดซิงโครไนเซอร์ชารุด 4. ซ่อม หรือ เปลี่ยนชุดซิงโครไนเซอร์ 5. ลูกปื นหรือ บูช๊ ปลายเพลาคลตั ช์ 5. เปล่ียนลูกปื นหรือบชู๊ ปลายเพลา ชารุด คลตั ช์ 1. ระดบั น้ามนั เกียร์สูงเกินที่กาหนด 1. ถ่ายน้ามนั เกียร์จนถึงระดบั ท่ีกาหนด 2. ซีลน้ามนั เกียร์ชารุด 2. เปลี่ยนซีลน้ามนั เกียร์ 3. ปลกั๊ ถ่ายน้ามนั เกียร์หลวม 3. ขนั ปลก๊ั ถ่ายน้ามนั เกียร์ใหแ้ น่น 4. เส้ือเกียร์แตก 4. เปล่ียนเส้ือเกียร์ 5. ปะเก็นเส้ือเกียร์หรือปะเก็นเหลว 5. เปล่ียนปะเก็นเส้ือเกียร์ ชารุด 6. โบลตย์ ดึ เส้ือเกียร์หลวม 6. ขนั โบลตย์ ดึ เส้ือเกียร์ให้แน่น

3.6 การบารุงรักษากระปุกเกยี ร์ขบั เคลอื่ นล้อหลงั นา้ มนั เกยี ร์ ระบบส่งกาลงั ตอ้ งรับการตรวจ เติมและเปลี่ยนน้ามนั ใหม่ตามระยะเวลาหรือระยะทางที่ไดแ้ นะนา ไวใ้ นคูม่ ือของบริษทั ผผู้ ลิตรถยนต์ ตรวจเช็คระดบั น้ามนั เกียร์ท่ีอุณหภูมิการทางานปกติ และรถยนต์ตอ้ งจอดบนพ้ืนได้ระดบั ถอด โบลตเ์ ติมน้ามนั ออก ระดบั น้ามนั เกียร์จะตอ้ งอยเู่ สมอขอบล่างขอบรูเติมน้ามนั ใหส้ อดนิ้วมือเขา้ ไปในรูเติม น้ามนั เกียร์อยา่ งชา้ ๆ จนกระท้งั น้ามนั เกียร์เร่ิมไหลออกจากรูเติม ใส่โบลตเ์ ติมน้ามนั เขา้ ที่และขนั ใหแ้ น่น หมายเหตุ ควรเปล่ียนถ่ายน้ามนั เกียร์ทุกๆ 12 เดือนหรือ 20,000 กิโลเมตร การตรวจระดบั นา้ มันเกยี ร์ การถอดโบลต์ตวั เติมน้ามนั เกียร์ ให้สอดนิ้วเขา้ ไปในรูเติมน้ามนั เกียร์ ระดบั น้ามนั ควรอยทู่ ี่ต่ากว่า ช่องเติมเดิมประมาณ 5 มม. ถา้ ระดบั น้ามนั อยใู่ นระดบั ปกติใหป้ ิ ดโบลตต์ วั เติมและขนั แน่น 1. ก่อนตรวจเช็ค ตอ้ งแน่ใจวา่ รถจอดอยใู่ นแนวระดบั และไมเ่ อียง 2. หลงั จากปิ ดโบลตต์ วั เติม และขนั แน่นแลว้ ตรวจดูดว้ ยสายตาวา่ มีรอยรั่วซึมหรือไม่ การตรวจระดบั นา้ มนั เกยี ร์ขับเคลอ่ื นส่ีล้อ ถา้ ระดบั น้ามนั เกียร์ต่าไปใหเ้ ติมน้ามนั เกียร์ API GL-4 S หรือ GL-5 จนน้ามนั ลน้ ออกจากช่องเติม เล็กนอ้ ย และขนั โบลตก์ ลบั อยา่ งเดิมใหแ้ น่น คา่ ความหนืดของน้ามนั เกียร์ท่ีใช้ SAE 90 หรือ SAE 75W-90 การเติมน้ามนั เกียร์โดยใชเ้ ครื่องเติม ใหใ้ ส่หวั เติมที่ช่องเดิม ใหใ้ ส่ น้ามนั เกียร์จนเร่ืมไหลออกมาและขนั โบลตก์ ลบั อยา่ งเดิมใหแ้ น่น

แบบฝึ กหัด หน่วยท่ี 3 เรื่อง กระปุกเกยี ร์ขบั เคลอ่ื นล้อหลงั 1. จากภาพจงเขียนช่ือส่วนประกอบของกระปุกเกียร์รถเคลื่อนขบั ลอ้ หลงั 123 4 5 10 67 89 หมายเลข 1 ...................................................................... หมายเลข 2 ...................................................................... หมายเลข 3 ...................................................................... หมายเลข 4 ...................................................................... หมายเลข 5 ..................................................................... หมายเลข 6 ..................................................................... หมายเลข 7 ..................................................................... หมายเลข 8 ...................................................................... หมายเลข 9 ...................................................................... หมายเลข 10 .....................................................................

2. จงบอกหนา้ ท่ีส่วนประกอบของกระปุกเกียร์รถเคลื่อนขบั ลอ้ หลงั 1. เพลารับกาลงั หรือเพลาคลตั ช์ ทาหนา้ ท่ี............................................................................ 2. เพลารอง ทาหนา้ ที่............................................................................................................ 3. เพลาส่งกาลงั หรือเพลาเมน ทาหนา้ ที่ .............................................................................. 4. เฟื อง ติดต้งั ในกระปุกเกียร์ ทาหนา้ ที่............................................................................... 5. ลูกปื น ทาหนา้ ที่............................................................................................................... 6. กลไกควบคุมคนั เกียร์ ทาหนา้ ท่ี ...................................................................................... 7. เส้ือเกียร์ มีหนา้ ท่ี ............................................................................................................. 8. เส้ือเกียร์ แบง่ เป็น 3 ส่วน ส่วนหนา้ เรียกวา่ ...................................................................................................... ส่วนกลางเรียกวา่ ...................................................................................................... ส่วนหลงั เรียกวา่ ....................................................................................................... 9. กระปุกเกียร์รถขบั ลอ้ หลงั ทาหนา้ ที่.................................................................................. 3. จงเขียนชื่อส่วนประกอบของซิงโครเมชแบบเฟื องทองเหลือง 23 6 1 451 1……………………………………… 4…………………………………….. 2……………………………………… 5…………………………………….. 3……………………………………… 6……………………………………..

4. จงเติมขอ้ ความเกี่ยวกบั หลกั การทางานของกระปุกเกียร์ชนิดต่าง ๆ 1. หลกั การทางานของกระปุกเกียร์ธรรมดาแบบเฟื องเลื่อน เมื่อตอ้ งการเขา้ เกียร์ จะตอ้ งเล่ือน …………………... เขา้ มาขบกบั ……………….. ขณะเขา้ เกียร์ ………………. ของเพลาส่งกาลงั และเพลารองจะ …………………. ท่ีไมเ่ ท่ากนั ส่งผลใหเ้ กิดการปะทะกนั ระหวา่ ง …………………… จนเกิด……………….. เขา้ เกียร์ยาก 2. หลกั การทางานของกระปุกเกียร์ซิงโครเมชแบบเฟื องทองเหลือง เมื่อเขา้ ตาแหน่งเกียร์ .............................. จะเคล่ือนที่ไปดา้ นขวาหรือดา้ นซา้ ย ส่งผลใหล้ ่ิมเล่ือน หรือ.......................... เคลื่อนที่ตามและไปดนั ................................... ไปดา้ นขวาหรือดา้ นซ้าย โดยให้ สมั ผสั กบั ...................... ของเฟื องเกียร์บนเพลา......................ส่งผลใหค้ วามเร็ว ของ ...................... เท่ากบั ความเร็วของ ...................... บน ........................ และหมุนไปพร้อม ๆ กบั ..................... ทาใหฟ้ ันของ........................... ขบกบั .......................... ส่งผลใหเ้ กิดการ ส่งกาลงั ไปยงั เพลาส่งกาลงั และ........................ 5. จงเติมขอ้ ความลงในผงั ภูมิการทางานของกระปุกเกียร์รถขบั เคลื่อนลอ้ หลงั 5 ความเร็ว แบบซิงโครเมช 1. ตาแหน่งเกียร์วา่ ง เพลารับกาลงั หรือ………. …….… หรือเฟื องเกียร์ 4 ………... 2. ตาแหน่งเกียร์ 1 เฟื องขบั หลกั หรือ………. เฟื องรองหลกั ……… เพลารับกาลงั ปลอกดุมคลตช์และ……... ………… 3. ตาแหน่งเกียร์ 2 . เพลารับกาลงั ………..หรือเฟื องเกียร์ 4 ……….. เฟื องรอง…... เฟื องเกียร์ 2 ………….และดุมตวั ที่ 1 เพลาส่งกาลงั 22/

4. ตาแหน่งเกียร์ 3 เฟื องรองหลกั …………. ……….. ………………….. ….…… ปลอกดุมคลตั ช์และดุมตวั ที่ 1 ………… 5. ตาแหน่งเกียร์ 4 เฟื องขบั หลกั หรือเฟื องเกียร์ 4 …………………… ………… เพลาส่งกาลงั 6. ตาแหน่งเกียร์ 5 เฟื องรองหลกั ………… เพลารับกาลงั เฟื องขบั หลกั หรือเฟื องเกียร์ 4 ………… เฟื องรองเกียร์ 5 …………. เพลาส่งกาลงั 7. ตาแหน่งเกียร์ถอยหลงั เพลารับกาลงั เฟื องขบั หลกั หรือ…….. ………………. เฟื องรองเกียร์ถอยหลงั …………. เฟื องเกียร์……. เพลาส่งกาลงั

6. จงบอกสาเหตุขอ้ ขดั ขอ้ งและการแกไ้ ขของกระปุกเกียร์ขบั เคลื่อนลอ้ หลงั ลงในตารางตอ่ ไปน้ี ปัญหาของเกียร์ สาเหตุ วธิ ีการแก้ไข 1. มีเสียงดงั ในขณะ …………………………………… …………………………………… เล่ือนตาแหน่งเกียร์ …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… 2. เขา้ เกียร์ยาก …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

7. ใหน้ กั เรียนบอกวธิ ีการบารุงรักษากระปุกเกียร์ขบั ลอ้ เคล่ือนหลงั ดงั ต่อไปน้ี 1. การตรวจน้ามนั เกียร์…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………………… ………………………………………………………………………………. 2. การตรวจระดบั น้ามนั เกียร์………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………………… ………………………………………………………………………………. 3. การตรวจระดบั น้ามนั เกียร์ขบั เคล่ือนส่ีลอ้ ……………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………………… ……………………………………………………………………………….

แบบประเมนิ ผลหลงั เรียน หน่วยท่ี 3 กระปุกเกยี ร์ขบั เคลอ่ื นล้อหลงั คาส่ัง จงทาเครื่องหมายกากบาท (x) หนา้ คาตอบท่ีถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ขอ้ ใดเป็นส่วนประกอบของกระปุกเกียร์รถขบั เคลื่อนลอ้ หลงั ก. เพลาคลตั ช์ เพลารอง เพลาส่งกาลงั เฟื องทา้ ย เส้ือเกียร์ ข. เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั เฟื องขบั เฟื องทา้ ย เส้ือเกียร์ ค. เพลาคลตั ช์ เพลารอง เพลาส่งกาลงั เฟื องเกียร์ เส้ือเกียร์ ง. เพลาคลตั ช์ เพลาส่งกาลงั เฟื องเดือยหมู เฟื องบายศรี เส้ือเกียร์ 2. ขอ้ ใดไม่ใช่ส่วนประกอบของกระปุกเกียร์รถขบั เคล่ือนลอ้ หลงั ก. เพลาคลตั ช์ เพลารอง ข. ลูกปื นรองรับเพลา เส้ือเกียร์ ค. เฟื องฟันตรง เฟื องฟันเฉียง ง. เฟื องดอกจอก เฟื องทา้ ย 3. ขอ้ ใดเป็นหนา้ ที่ของกระปุกเกียร์รถขบั เคล่ือนลอ้ หลงั ก. เพิ่มแรงบิดและส่งกาลงั ไปยงั เครื่องยนต์ ข. ปรับความเร็วของลอ้ ใหม้ ีความสมดุลขณะเล้ียว ค. รับกาลงั จากเพลาคลตั ช์และส่งกาลงั ไปท่ีเฟื องเกียร์ ง. ควบคุมตาแหน่งเกียร์และปรับระยะเชิงมุมของรถยนตใ์ หส้ ัมพนั ธ์กบั พ้นื ถนน 4. เม่ือตอ้ งการเขา้ เกียร์จะตอ้ งเล่ือนเฟื องบนเพลากาลงั เขา้ มาขบกบั เฟื องบนเพลารองเป็ น กระปุกเกียร์ชนิดใด ก. ระปุกเกียร์แบบเล่ือนขบกนั ข. กระปุกเกียร์แบบอตั โนมตั ิ ค. กระปุกเกียร์แบบซิงโครเมช ง. กระปุกเกียร์เล่ือนเฟื องขบกนั ขบกนั ตลอดเวลา 5. ทาไมกระปุกเกียร์ธรรมดาแบบซิงโครเมชตอ้ งมีเฟื องทองเหลืองเป็นส่วนประกอบ ก. เพอ่ื ใหเ้ ฟื องเกียร์บนเพลาส่งกาลงั มีความเร็วคงที่ปลอกดุมคลตั ช์ ข. เพอ่ื ใหเ้ ฟื องเกียร์บนเพลาส่งกาลงั มีความเร็วมากกวา่ ปลอกดุมคลตั ช์ ค. เพอ่ื ใหเ้ ฟื องเกียร์บนเพลาส่งกาลงั มีความเร็วเท่ากบั ปลอกดุมคลตั ช์ ง. เพ่ือใหเ้ ฟื องเกียร์บนเพลาส่งกาลงั มีความเร็วนอ้ ยกวา่ ปลอกดุมคลตั ช์

6. ขอ้ ใดต่อไปน้ีไมใ่ ช่กลไกในการเขา้ เกียร์ ก. เฟื องบายศรี ข. เฟื องฟันเฉียง ค. ลูกปื นเขม็ ง. เฟื องซิงโครเมช 7. ขอ้ ใดเป็นสาเหตุของการเขา้ เกียร์ยาก ก. เส้ือเกียร์แตก ข. ซีลน้ามนั เกียร์ชารุด ค. สปริงป้ องกนั เกียร์หลุดอ่อนมาก ง. ชารุดชุดซิงโครไนเซอร์ 8. ขอ้ ใดเป็นการแกไ้ ขของการเขา้ เกียร์ยาก ก. เส้ือเกียร์แตก ข. ชุดซิงโครไนเซอร์ชารุด ค ซีลน้ามนั เกียร์ชารุด ง. สปริงป้ องกนั เกียร์หลุดอ่อนมาก 9. ขอ้ ใดเป็นการตรวจวดั ระดบั น้ามนั เกียร์ ก. เหลก็ วดั ตรวจ ข. รูตรวจและเติม ค. โบลตถ์ ่ายน้ามนั เกียร์ ง. ช่องกระจกสาหรับตรวจ 10. ขอ้ ใดคือค่าความหนืดมาตรฐานของน้ามนั เกียร์ ก. SAE 90 ข. SAE 40 ค. SAE -40 ง. SAE 75W 90 +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++