สายงานอาชีพใดทำหน้าที่ติดตั้ง บำรุงรักษา และบริหารจัดการ

บุคลากร (Peopleware)

บุคลากร คือ  ผู้ปฏิบัติงานตามกระบวนวิธีการในกิจกรรมต่างๆ  อันได้แก่  การสร้างหรือเก็บรวบรวมข้อมูล  บางกลุ่มอาจทำหน้าที่ในการพัฒนาซอฟท์แวร์ขึ้นมาใหม่ๆ  ตามความต้องการและในการประมวลผล  และอาจเปลี่ยนแปลงโปรแกรมที่มีอยู่แล้วให้สอดคล้องตามความต้องการที่เปลี่ยนแปลงในโอกาสต่างๆ   จะเห็นว่าบุคลากรทางคอมพิวเตอร์บางกลุ่มทำหน้าที่สร้างกระบวนการวิธีการให้แก่บุคลากรทางคอมพิวเตอร์กลุ่มอื่นๆ  ได้เพื่อให้การทำงานหรือใช้งานด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ

      บุคคลที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท  ซึ่งแต่ละประเภทก็มีหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันไปดังนี้

  • ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User)
  • ผู้ดูแลและซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter)
  • ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer)
  • ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis)
  • ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager)

*******************************************************

ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) หมายถึงผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป สามารถทำงานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้นๆ เช่น การพิมพ์งาน การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ด้านเทคนิคต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ก็ได้

ผู้ดูแลและซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter) หมายถึงผู้ดูแลและคอยตรวจสอบสภาพเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีสภาพความพร้อมที่จะทำงานได้ตลอดเวลา กลุ่มนี้จะเรียนรู้เทคนิคการรักษา ดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดการต่อเชื่อม ตลอดจนการใช้งานโปรแกรมต่างๆ ค่อนข้างดี

ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer) หมายถึงผู้เขียนโปรแกรมตามผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้กำหนด เพื่อให้ได้โปรแกรมที่ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานในองค์กร กลุ่มนี้จะศึกษามาทางด้านภาษาคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ สามารถเขียนคำสั่งคอมพิวเตอร์โดยภาษาต่างๆ ได้ และเป็นนักพัฒนาโปรแกรมให้คนอื่นเอาไปใช้งาน

ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis) เป็นผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาว่าองค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดและได้คุณภาพดี เป็นผู้ออกแบบโปรแกรมก่อนส่งงานไปให้โปรแกรมเมอร์ทำงานในส่วนต่อไป

ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager) เป็นผู้มีหน้าที่บริหารทรัพยากรทุกชนิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร

           ในยุคที่ระบบ IT มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด ในการบริหารจัดการของทุก ๆ องค์กรไม่ว่าจะเป็นองค์ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ บทบาทหน้าที่ของ “System Administrator” หรือ ผู้ดูแลและจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทั้งด้านระบบ Hardware และ Software กลายเป็นบุคลากรสำคัญที่องค์กรต่าง ๆ ขาดไม่ได้ โดยเฉพาะองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย เชื่อมต่อการทำงานของหน่วยงานทุก ๆ หน่วยงานเข้าด้วยกัน ทั้งภายในและภายนอกองค์กร

สายงานอาชีพใดทำหน้าที่ติดตั้ง บำรุงรักษา และบริหารจัดการ

System Administrator ตำแหน่งสำคัญผู้ดูแลทุกระบบ

           System Administrator มีหน้าที่บริหารและจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร ที่คอยดูแลและจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีความหลากหลายขึ้นอยู่กับหน่วยงานหรือโครงการ แต่โดยทั่วไปแล้ว จะมีหน้าที่ติดตั้ง ตอบคำถาม ดูแลเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึงการวางแผนงาน การดูแล ควบคุมโครงการที่เกี่ยวข้อง

           นอกจากนี้ อาจต้องทำหน้าที่โปรแกรมเมอร์ เช่น การเขียนโปรแกรม รวมถึงการสอนการใช้งานต่อผู้ใช้ทั่วไป ดังนั้นงานตำแหน่งนี้จึงต้องทำทุกอย่างเกี่ยวกับระบบ IT ในองค์กร รวมตั้งแต่ server AD, DNS, DHCP, MAIL, File,  Printer, Router, internet link, switch, vlan, wan และอื่น ๆ ทุกอย่าง

           จากขอบเขตความรับผิดชอบของงานทำให้งานตำแหน่งนี้ต้องมีความรู้ด้าน Operating System หรือ OS ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ขณะเดียวกันยังต้องอัปเดตความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ

           ดังนั้นผู้ที่จะทำงานตำแหน่งนี้ได้ จึงต้องมีคุณสมบัติหรือมีความรู้ความสามารถในการดูแลรักษาระบบให้มีความปลอดภัย สามารถทำงานได้ตามปกติ และต้องทำ report performance ของ server ทำแบคอัพ network monitoring ตรวจสอบความผิดปกติที่จะเกิดขึ้นกับระบบได้  ต้องติดตั้ง ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ application ต่าง ๆ รวมทั้ง patch และปรับแต่งระบบตามความต้องการขององค์กร แก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับระบบและ support user โดยควรจะมีความรู้ใน 5 เรื่อง ดังนี้

  1. เชี่ยวชาญระบบปฏิบัติการ Linux Server เนื่องจากในบริษัทหรือองค์กรต่าง ๆ ไม่ได้ใช้ Windows Server อย่างเดียวแต่อาจจะมี Linux Server ที่เป็นระดับ Enterprise อย่าง RedHat Enterprise Linux Server ที่ในปัจจุบันก็ใช้กันมากมายและหลากหลาย
  2. ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับที่ดี เพราะภาษาที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์นั้น เกือบทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ
  3. มีความรู้ Technology Virtualization เพราะในปัจจุบันกว่า 95 % ของบริษัทขนาดใหญ่ใช้งาน Virtualization กันเกือบทั้งหมด เนื่องจาก Virtualization มีข้อดีในการช่วยประหยัดทรัพยากรของ Server
  4. เข้าใจการทำงานระบบ  Network เพราะในหลายๆบริษัท System Administrator อาจต้องทำหน้าที่ Network Administrator ร่วมไปด้วย
  5. ต้องรู้ระบบ Docker System ซึ่งจะช่วยให้ ซึ่งจะเข้ามาช่วยพัฒนาโปรแกรมหรือภาษาต่างๆได้เร็วขึ้น หากคนที่ทำงานตำแหน่งนี้มีความรู้และทักษะในส่วนนี้จะสามารถดูแลรับผิดชอบทั้ง System และ Programing ได้ ซึ่งจะช่วยให้ได้รับการพิจารณา ให้ทำหน้าที่เป้นตำแหน่งนี้อีกด้วย   

           สำหรับผู้ทำงานตำแหน่งนี้ส่วนใหญ่จะจบการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์, เทคโนโลยีสารสนเทศ, วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์, หรือ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สำหรับอัตราค่าจ้าง หรือรายได้ต่อเดือนของตำแหน่งนี้จะมีความแตกต่างตามขนาดขององค์กร โดยองค์กรขนาดกลางและเล็กจะมีอัตราเงินเดือนเริ่มต้น 15,000 -25,000 บาท ขณะที่องค์กรหรือบริษัทขนาดใหญ่จะมีอัตราค่าจ้างเริ่มต้น 22,000-30,000 บาทต่อเดือน

           เนื่องจากเป็นกลุ่มบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและชำนาญในระบบ IT ทำให้ผู้ที่มีประสบการณ์ทำงานในตำแหน่งนี้ สามารถผันตัวไปทำงานในตำแหน่ง Network admin หรือ Network Engineer หรือ ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก และยังสามารถต่อยอดไปสู่ระดับ Manager/Senior Managerได้ในอนาคต เมื่อพัฒนาทักษะของตนเองแล้ว สำหรับผู้ที่มองหางานที่ใช่และตรงกับความสนใจของเราสามารถสมัครงานได้ที่ แอปพลิเคชัน JobsDB

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทั้ง iOS และ Android

สายงานอาชีพใดทำหน้าที่ติดตั้ง บำรุงรักษา และบริหารจัดการ

เลือกงานที่ใช่ ใช้ชีวิตที่ชอบ ด้วยการค้นหางานที่ง่ายและรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดการเรซูเม่อย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุณอัปโหลด ดู และลบได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพลิดเพลินไปกับประสบการณ์การใช้งานแสนง่าย ด้วยระบบ AI ใหม่ ช่วยค้นหางานที่ตรงใจมากขึ้นถึง 6 เท่า​
System Engineer ทำอะไร ต่างจากงานไอทีอย่างไรบ้าง
เปิดเงินเดือน IT Support สำหรับเด็กจบใหม่ไม่มีประสบการณ์
บริการลูกค้าด้วยเว็บไซต์ (E-CUSTOMER SUPPORT)
เมื่ออยากเปลี่ยนมาทำงานสาย IT ต้องทำอย่างไร
Programmer งานไอทีสำหรับเด็กจบใหม่ ได้เงินดีแม้ยังไม่มีประสบการณ์

อาชีพใดที่ทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาของงานเดิมและความต้องการของระบบซอฟท์แวร์

นักวิเคราะห์ระบบ ทำหน้าที่ศึกษาปัญหา และความต้องการขององค์กรในการกำหนดบุคคล ข้อมูล การประมวลผล การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ว่าจะจัดการกับข้อมูลที่มีอย่างไร หรือจะทำการปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อย่างไรจากข้อมูลที่มี เพื่อสามารถพัฒนาระบบของธุรกิจ ไปสู่ความสำเร็จได้

อาชีพใดที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานกฏเกณฑ์โครงสร้างและงบประมาณในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร

ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer : CIO) มีอำนาจหน้าที่ดูแลรับผิดชอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในองค์กร ซึ่งหมายรวมถึงการดูแลเกี่ยวกับมาตรฐาน กฎเกณฑ์ โครงสร้าง งบประมาณ กระบวนการให้ความรู้ บุคลากรของหน่วยงานสารสนเทศ โดย CIO เป็นผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร (Chief Executive ...

ผู้ใดคือนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์สาขาปัญญาประดิษฐ์

สาขาปัญญาประดิษฐ์นั้นเริ่มก่อตั้งขึ้นในที่ประชุมวิชาการที่วิทยาลัยดาร์ตมัธ สหรัฐอเมริกาในช่วงหน้าร้อน ค.ศ. 1956 โดยผู้ร่วมในการประชุมครั้งนั้น ได้แก่ จอห์น แม็กคาร์ธีย์ มาร์วิน มินสกี อัลเลน นิวเวลล์ อาเธอร์ ซามูเอล และเฮอร์เบิร์ต ไซมอน ที่ได้กลายมาเป็นผู้นำทางสาขาปัญญาประดิษฐ์ในอีกหลายสิบปีต่อมา นักวิทยาศาสตร์และ ...

ใครคือผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศาสตร์ปัญญาประดิษฐ์

AI (Artificial Intelligence) ถูกสร้างขึ้นมาครั้งแรกในช่วงปี ค.ศ. 1956 (พ.ศ. 2499) โดย John McCarthy นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งปัญญาประดิษฐ์” ซึ่งเขาได้ต่อยอดแนวคิดของ Alan Turing ที่จุดประเด็นเรื่องความคิดแบบมนุษย์ ในเครื่องจักร จนสามารถสร้าง AI ตัวแรกขึ้นมาได้สําเร็จ

อาชีพใดที่ทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาของงานเดิมและความต้องการของระบบซอฟท์แวร์ อาชีพใดที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานกฏเกณฑ์โครงสร้างและงบประมาณในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร ผู้ใดคือนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์สาขาปัญญาประดิษฐ์ ใครคือผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศาสตร์ปัญญาประดิษฐ์ สายงานทางด้านอาชีพข้อมูล หมายถึงอะไร ข้อใดต่อไปนี้ให้ความหมายของคำว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ” ได้ถูกต้องมากที่สุด ผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อวัฒนธรรมทางบวก ข้อใดถูกต้องมากที่สุด ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อสังคมด้านบวก ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องมากที่สุด ผลกระทบทาง ลบจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลเสีย ด้านใดมากที่สุด ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ นิยามของปัญญาประดิษฐ์กล่าวไว้