เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

Photoshop  คืออะไร…

โปรแกรมPhotoshopเป็นโปรแกรมสร้างและแก้ไขรูปภาพอย่างมืออาชีพโดยเฉพาะนักออกแบบในทุกวงกาย่อมรู้จักโปรแกรมตัวนี้ดี โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมที่มีเครื่องมือมากมายเพื่อสนับสนุนการสร้างงานประเภทสิ่งพิมพ์ งานวิดีทัศน์ งานนำเสนอ งานมัลติมีเดีย ตลอดจนงานออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ในชุดโปรแกรม Adobe Photoshopจะประกอบด้วยโปรแกรมสองตัวได้แก่ Photoshop และ ImageReady การที่จะใช้งานโปรแกรม Photoshopคุณต้องมีเครื่องที่มีความสามารถสูงพอควร มีความเร็วในการประมวลผล และมีหน่วยความจำที่เพียงพอ ไม่เช่นนั้นการสร้างงานของคุณคงไม่สนุกแน่ เพราะการทำงานจะช้าและมีปัญหาตามมามากมาย ขณะนี้โปรแกรม Photoshop ได้พัฒนามาถึงรุ่น Adobe Photoshop CS

เริ่มเข้าสู่โปรแกรม Adobe Photoshop ได้ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้

Click mouse ที่ปุ่ม Start

เลื่อนเมาส์เลือกคำสั่ง Programs –> Adobe Photoshop

Click mouse ที่ Adobe Photoshop จะปรากฏหน้าจอแรกของ Photoshop ขึ้น

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

แถบเมนู (Menu Bar) คือแถบที่รวบรวมคำสั่งหลักทุกคำสั่งในการใช้งานโปรแกรม เช่น เปิด ปิด บันทึกไฟล์

Option Bar คือแถบตัวเลือกของเครื่องมือ ซึ่งปรากฏขึ้นเมื่อเลือกใช้เครื่องมือในกล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใช้กำหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เลือกทำงานอยู่ในขณะนั้น

กล่องเครื่องมือ (Toolbox) คือกล่องเก็บเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการทำงาน เช่น เครื่องมือเกี่ยวกับการเลือกและแก้ไข

พาเลท (Palette) คือกลุ่มของหน้าต่างที่รวบรวมคุณสมบัติการทำงานของเครื่องมือ ช่วยควบคุมรายละเอียดปลีกย่อยในขั้นตอนการทำงาน

กระดานวาดภาพ (Canvas) เป็นพื้นที่สำหรับตกแต่งภาพ

 แถบเมนู (Menu Bar)

เมนู File   ได้แก่

New  เป็นคำสั่งสร้างไฟล์ใหม่

Open  เป็นคำสั่งเปิดไฟล์กราฟิกส์ที่มีอยู่แล้ว

Close  ปิดไฟล์ที่กำลังทำงานอยู่

Save  บันทึกไฟล์ข้อมูลที่ทำงานอยู่ในชื่อเดิม

Save As  บันทึกไฟล์ข้อมูลที่ทำงานอยู่ในชื่ออื่นเพื่อไม่ให้ทับไฟล์เดิม

Save a Copy  บันทึกไฟล์ข้อมูลที่ทำงานอยู่ในชื่ออื่น และ อาจเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ เช่น ฟอร์แมทของภาพ

Revert  เปลี่ยนไฟล์ที่กำลังทำงานอยู่ให้กลับไปเป็นไฟล์เดิม โดยโปรแกรมจะใช้ไฟล์ที่เราบันทึกไว้ล่าสุด คำสั่งนี้คล้ายๆ กับการทำ Undo นั่นเอง

Import  ทำการอ่านข้อมูลจาก Scanner

Export  ส่งงานจาก Photoshop ไปให้โปรแกรมอื่น เช่น Illustrator หรือ อาจส่งเป็นไฟล์แบบ GIF89A

Preferences  กำหนดรายละเอียดของโปรแกรมตามต้องการ

   เมนู Edit   ได้แก่

Cut  ทำการตัดเอาส่วนที่เลือกไว้ เก็บเข้าไปในหน่วยความจำที่เรียกว่า คลิปบอร์ด

Copy  ทำการคัดลอกส่วนที่เลือกไว้ เก็บเข้าไปใน คลิปบอร์ด

Paste  เอาภาพที่เก็บไว้คลิปบอร์ด ปะลงไปในภาพที่กำลังทำงานอยู่

Paste Into  เอาภาพที่เก็บไว้คลิปบอร์ด ปะลงไปในส่วนของภาพที่เลือกไว้ (Selection)

Clear  ลบภาพในพื้นที่ที่เลือกไว้ (Selection)

Fill  เติทสีลงไปในพื้นที่ที่เลือกไว้

Stroke  เติมสีลงไปเฉพาะตรงขอบของพื้นที่ที่เลือกไว้

Free Transform  ทำการเปลี่ยนแปลงทิศทางและขนาดของภาพอย่างเสรี

Transform  ทำการเปลี่ยนแปลงทิศทางและขนาดของภาพเฉพาะอย่าง

Purge  ล้างหน่วยความจำที่ใช้เก็บภาพในคลิปบอร์ด ประวัติการทำงาน (history) เพื่อให้มีหน่วยความจำเหลือสำหรับพื้นที่ทำงาน มากขึ้น

เมนู Image  ได้แก่

Mode  กำหนดโหมดสีที่จะใช้สำหรับภาพกราฟิกส์ เช่น สีแบบไล่เทา (Grayscale) หรือ แดง-เขียว-น้ำเงิน (RGB)

Adjust  ปรับแต่งโทนสีของภาพ ความคมชัด ความเข้มของแสง ระดับของสี

Duplicate  ทำสำเนาภาพขึ้นใช้งานอีกภาพหนึ่ง

Image Size  ปรับแต่งขนาดและความละเอียดของภาพ

Canvas Size  ปรับแต่ง/เพิ่ม พื้นที่ทำงานของภาพ

Crop  กำจัดพื้นที่ทำงานนอกส่วนที่เลือก (Selection) ออกไป

Rotate Canvas  ปรับเปลี่ยนทิศทางของภาพ

เมนู Layer

เป็นคำสั่งที่เกี่ยวกับการปรับแต่งภาพในแต่ละเลเยอร์ และการเรียงลำดับก่อนหลังของเลเยอร์

เมนู Select  ได้แก่

All  เลือกภาพทั้งหมด

Deselect  ยกเลิกการเลือก

Inverse  เลือกส่วนของภาพที่ไม่ได้ถูกเลือก พูดอีกแง่ก็คือ กลับส่วนที่เลือก/ไม่เลือก

Color Range  ทำการเลือกส่วนของภาพตามสีที่ต้องการ

Feather  ทำให้ขอบของส่วนที่เลือก (Selection) ดูนุ่มขึ้น

Similar  เพิ่มขนาดของส่วนที่เลือก (Selection) จากสีที่ใกล้เคียงกัน

Transform Selection  ปรับทิศทางของเส้น Selection

เมนู Filter

เป็นแถบคำสั่งที่เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนภาพอัตโนมัติ รวมทั้งคำสั่งเกี่ยวกับ ค่าลายน้ำ (Digimarc) ซึ่งถือเป็นการจดลิขสิทธิ์แสดงความเป็นเจ้าของภาพ ก็เป็นฟิลเตอร์หนึ่งที่อยู่ในเมนูนี้เช่นกัน

เมนู View

รวบรวมคำสั่งในการกำหนดมุมมองภาพในรูปแบบต่างๆ การย่อ-ขยาย รวมทั้งเรื่องการวัด Grid, Guide และไม้บรรทัดด้วย

เมนู Window

รวบรวมคำสั่งที่เกี่ยวกับการจัดการหน้าต่างแต่ละหน้า ที่ปรากฏบนหน้าจอ รวมถึงหน้าต่าง palette, Toolbox ด้วย เช่น คำสั่งแสดง (Show..) คำสั่งซ่อน (Hide..)

เมนู Help

รวบรวมคำสั่งที่เกี่ยวกับการแนะนำโปรแกรม Photoshop และการใช้งานโปรแกรม

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

  Marquee Tools เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเลือกพื้นที่ ของภาพตามต้องการ โดยมีให้เลือกโดยการคลิ๊กเม้าส์ค้างตรงรูปสามเหลี่ยมเล็กๆด้านข้าง โดยจะมีแบบให้ เลือก ทั้งสี่เหลี่ยม วงรี เส้นนอน เส้นตั้ง
  Move Tool  เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายภาพ หรือบนชั้น Layer ที่เรากำลังทำงานอยู่ไปในตำแหน่งต่างๆ
  Lasso Tools  เป็นอุกรณ์ที่ใช้ในการเลือกพื้น ที่การทำงานแบบอิสระโดยเริ่มจากพื้นที่จากจุดเริ่มจน วนมาพบกันอีกครั้ง โดยตัดในลักษณะใดก็ได้รูปแบบ ใดก็ได้..แล้วต้องกลับมาบรรจบที่จุดเริ่มต้นกันอีกครั้ง ซึ่งจะเกิดเส้น Selection ขึ้นมา
  Magic Wand Tool  เป็นอุปกรณ์ให้เลือกพื้นที่ การทำงานเช่นกันโดยจะเลือกพื้นที่ที่มีสีโทนเดียวกันหรือมีสีโทนคล้ายๆกัน..ใช้ในการสร้างเส้น.. Selcetion เฉพาะพื้นที่
  Crop Tool   เป็นอุปกรณ์ในการเลือกพื้นที่ ที่ต้องการคงไว้ และตัดออก ซึ่งมีผลกับ Image size ด้วย
  Slice Tool   เป็นอุปกรณ์ในการตัดรูปภาพออกเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วประกอบกันเป็น รูปภาพที่เหมาะสมในการแสดงบนเว็บ เมื่อตัดแล้วสามารถ Save เป็น HTML ได้ด้วย
  Healing BrushTool   เป็นอุปกรณ์ใช้ในการแก้ไข ซ่อมแซมรูปภาพเป็นส่วนใหญ่ หลักการเดียวกับ อุปกรณ์ ( Clone stemp Tool )
  Brush Tools   เป็นอุปกรณ์สำหรับการ วาดภาพและระบายสีซึ่งลักกษณะการใช้งานจริง ๆ จะมีให้เลือกใช้หลายตัว
  Clone stamp Tool  ลักษณะในการใช้ก็คล้าย กับตรายาง เป็นการคัดลอกชิ้นงานออกมา ลักษณะการใช้งานก็ไปคลิ๊กที่รูปภาพโดยให้กดปุ่ม Alt ค้างไว้ด้วยพูดอีกอย่างเป็นการโคลนนิ่งภาพนั้นเอง
  History Brush Tools   เป็นอุปกรณ์สำหรับการ ลบรอยวาดภาพและระบายสีของอุปกรณ์ Brush Tools ที่เขียนลงบนภาพ
  Eraser Tool  ทำหน้าที่คล้าย..ยางลบนั้น แหละใช้ลบส่วนต่างๆของภาพที่เราไม่ต้องการ
  Linear Gradient Tool   เป็นการระบายสีภาพโดย การไล่เฉดสีที่เราต้องการเมื่อดับเบิ้ลคลิ๊กจะมีให้ เลือกหลายลักษณะตามที่เราต้องการ อุปกรณ์ถังสี ( Paint Bucket Tool ) ใช้ในการเท หรือละเลงสีระบายลง บนภาพหรือพื้นที่ที่ได้เลือกไว้ เหมาะกับการเทลงพื้นที่ขนาดกว้าง
  Blur Tool   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับปรับค่า ความคมชัดของสีภาพ ซึ่งจะประกอบด้วย Blur, Sharpen เลือกโดยการคลิกเม้าค้างไว้
  Dodge Tool   ใช้ในการปรับค่าโทนสีของภาพให้สว่างหรือมืด ซึ่งจะมีเครื่องมือให้เลือกอีกคือ Dodge,Burn,Sponge
  Path Selection Tool   เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้โยกย้าย ปรับแต่งเส้น พาทที่สร้างจาก อุปกรณ์ปากกา ( Pen tool )
  Type Tool  เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญและใช้บ่อยด้วย ใช้สำหรับสร้างตักอักษรซึ่งสามารถนำมาจัดประกอบ ภาพได้ทันที โดยคุณสามารถเลือกสีได้ด้วยและมีให้ เลือก 2 แบบ ได้แก่ การสร้างตัวอักษรทึบและแบบ โปร่งเพื่อเติมสีทีหลังเหมาะสำหรับจะนำภาพ มาสร้างตัวอักษร
  Pen tool   ใช้ในการสร้างเส้นภาพสำหรับวาดภาพซึ่งจะสร้างเส้นตรงก่อนแล้วดัดให้ โค้งตามต้องการ
  Shape tool   เป็นอุปกรณ์สร้างรูปทรงต่างๆ มีให้เลือกมากมาย
 
  Notes Tool  อุปกรณ์เตือนความจำ เป็นอุปกรณ์บันทึกโน้ตย่อการทำงาน หรือจะบันทึกเสียงลงไปในโน้ตก็ทำได้
  Eyedropper Tool   เป็นเครื่องมือในการดูดสีที่มีอยู่ในภาพเพื่อนำสีนั้นไปใช้ในบริเวณอื่นโดยจะถือเป็น Foreground Corlor
  Hand Tool   เป็นเครื่องมือใช้เลื่อนภาพบนจอ จะสามารถใช้ได้ก็ต่อเมื่อเราได้ขยายภาพล้นหน้าจอ แล้วเท่านั้น
  Zoom Tool   อุปกรณ์แว่นขยายใช้ในกรณีที่เราต้องการ ที่จะย่อ / ขยายภาพในจอ หรือ ขยายเพื่อจะได้ทำ ได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น
  อุปกรณ์ Foreground และ Background เป็นอุปกรณ์เลือกสี
  Jump to ImageReady เป็นอุปกรณ์ใช้ Jump ไปหาโปรแกรม ImageReady

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

Navigator  ใช้ย่อขยายการแสดงผลขนาดไฟล์ภาพ โดยการเลื่อนปุ่มสามเหลี่ยมด้านล่างเพื่อซูมรายละเอียดของภาพInfo  ใช้ในการแสดงค่าของสีขณะที่เรากำลังเลื่อนเมาส์ในบริเวณภาพ
Color  เป็นการเลือกขนาดสี โดยการเลื่อนปุ่มสามเหลี่ยมด้านล่างในช่องสี R G และ BSwatches  เป็นการเลือกสีมาใช้งานได้โดยคลิกเลือกสีตามต้องการ และสามารถลดและเพิ่มสีที่ต้องการได้Styles  ใช้สำหรับสร้างลวดลายและรูปแบบให้กับภาพ โดยคลิกเมาส์ค้างไว้เลือกแบบที่ต้องการมาวางบนภาพ ลวดลายที่เราเลือกก็จะเข้ามาอยู่ในภาพ
History  เป็นการบันทึกค่าการทำงานเก็บเอาไว้ หากเราทำงานผิดพลาดหรือย้อนกลับไปทำงานใหม่ก็สามารถย้อนกลับไปเลือกคำสั่งที่ต้องการได้Actions  มีหน้าที่เก็บคำสั่งการทำงานอัตโนมัติ
Layers  เราจะใช้พาเล็ตนี้ในการซ้อนภาพ แบ่งสัดส่วน และช่วยในการเปลี่ยนแปลงภาพให้สวยงามได้ง่ายขึ้นChannels  หน้าที่ของพาเล็ตนี้คือการแยกสีของภาพออกมาตามประเภทPaths  ใช้ในกรณีเราวาดภาพเอง หรือตกแต่งภาพแบบพิเศษ

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

เริ่มต้นสร้างไฟล์ใหม่
Step แรกสำหรับการเริ่มต้นใช้งาน Photoshop ก็คือการเริ่มต้นสร้างไฟล์ใหม่ ซึ่งเป็นขึ้นตอนที่เราจะต้องลงมือทำทุก ๆ ครั้งเมื่อเราต้องการสร้างชิ้นงานโดยใช้ Photoshop
หลังจากที่เราได้เปิดโปรแกรม Photoshop แล้ว ขั้นตอนของการสร้างไฟล์ใหม่ มีดังนี้1. เลือกคสั่ง File –> New หรือใช้คีย์ลัดโดยการกดปุ่ม Ctrl + N ที่คีย์บอร์ดร้อม ๆ กัน ซึ่งจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ New ดังภาพที่ A

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

2. กำหนดชื่อไฟล์ใหม่ ในช่อง Name (จะไม่กำหนดก่อนก็ได้ โดยสามารถไปกำหนดตอนบันทึกไฟล์ก็ได้)

3. กำหนดขนาดความกว้าง และความสูงของชิ้นงาน โดยใส่ค่าเป็นตัวเลข และคลิ๊กที่หน่วยวัด ทางด้านหลัง
– Width คือความกว้างของชิ้นงาน
– Height คือความสูงของชิ้นงาน

4. กำหนดค่าความละเอียดของภาพ ที่ช่อง Resolution

5. เลือกโหมดสีของไฟล์ ในช่อง Color Mode

6. เลือกลักษณะของพื้นหลังของภาพ จากลิสต์ของ Background Content

– White ให้พื้นหลังมีสีขาว
– Background Color ให้พื้นหลังมีสีเดียวกับสีของ Background ที่ได้เลือกไว้บน Tool Box
– Transparent ให้พื้นหลังโปร่งใส7. คลิก OK

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ประโยชน์ของ Photoshop

1. งานตกแต่งภาพถ่าย เป็นการตกแต่งภาพถ่ายเก่า ๆ ให้คมชัดเหมือนใหม่ หรือทำการแก้ไขรูปถ่ายที่มืดไป สว่างไป มีเงาดำให้ภาพมีสีสรรสดใสสมจริง นอกจากนั้นยังสร้างภาพล้อเลียน เช่น เอาใบหน้าของคนหนึ่งไปวางไว้บนตัวคนอีกคนหนึ่ง นำภาพบุคคลไปวางบนฉากหลังอื่น เป็นต้น

2. งานสิ่งพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ นิตยสาร โฆษณา เรียกได้ว่าเกือบทุกงานที่ต้องใช้รูป สามารถใช้ Photoshop รังสรรค์ภาพให้เป็นไปตามไอเดียที่เราวางไว้ได้

3. งานเว็บไซด์บนอินเตอร์เน็ต ใช้สร้างภาพเพื่อตกแต่งเว็บไซด์ไม่ว่าจะเป็นแบ็คกราวน์ ปุ่มตอบโต้ แถบหัวเรื่อง ตลอดจนภาพประกอบต่าง ๆ นอกจากนั้นยังสมารถออกแบบหน้าเว็บไซด์ด้วย Photoshop ได้

4. งานออกแบบทางกราฟิก ใช้ Photoshop ช่วยในการสร้างภาพ 3 มิติ การออกแบบปกหนังสือและผลิตภัณฑ์ การออกแบบการ์ดอวยพร เป็นต้น

5. สร้างภาพวาดเหมือนจิตกรสร้างภาพจากผืนผ้าใบเปล่า ๆ จนเป็นงานศิลปขึ้นมา

ตัวอย่างรูปภาพ

จากที่ได้บอกไปตอนต้นว่าภาพลักษณะนี้ทำได้ไม่ยาก ก็เพราะมีวิธีการคล้าย ๆ กับวิธีการ Selection ของบทความก่อนหน้านี้ (จำรูปที้ใช้กันได้หรือปล่าว) แต่มีขึ้นตอนเพิ่มเข้ามาเพียงนิดเดียว

ซึ่งการทำภาพแบบขอบฟุ้ง มีขั้นตอนการทำดังนี้

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 1 เริ่มต้นเปิดไฟล์ภาพที่เราต้องการทำภาพของฟุ้งขึ้นมา โดยไปที่เมนูบาร์ คลิกที่ File –> Open

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 2 เมื่อเปิดรูปภาพมาได้แล้ว ให้ทำการคลิกเลือกเครื่องมือ Marquee Tool แบบ Elliptical Marquee จาก Tool box

ขั้นตอนที่ 3 ทำการปรับค่า Feather ให้เท่ากับ 10 px.

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 4 คลิกเมาส์ค้างลงบนภาพ จากนั้นลากให้เป็น Selection พร้อม ๆ กับการกดปุ่ม Shift บนคีย์บอร์ดค้างไว้ เพื่อให้ได้พื้นที่การ Selection เป็นวงกลมตามภาพ

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 5 เลือกสี Background เป็นสีขาว จากนั้นเลือกคำสั่ง Select –> Inverse เพื่อเลือกพื้นที่ส่วนตรงกันข้ามกับที่ได้เลือกไว้ จากนั้นกดปุ่ม Delete บนคีย์บอร์ดซ้ำ ๆ (ประมาณ 2-3 ครั้ง)

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 6 ทำการกด Ctrl + D บนคีย์บอร์ด เพื่อยกเลิกการ Selection จะได้ผลลัพธ์ เป็นภาพของฟุ้งค่ะ

แค่นี้ก็เสร็จเรียบร้อยแล้วค่ะ ไม่ยากใช้ไหมค่ะ

การทำภาพแบบ Sepia

ขั้นตอนที่ 1 เริ่มต้นเปิดไฟล์ภาพที่เราต้องการนำมาปรับแต่ง โดยไปที่เมนูบาร์ คลิกที่ File –> Open

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 2 เลือกคำสั่ง Image–> Adjustments –> Desaturate จะได้ผลลัพธ์ดังภาพค่ะ

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 3 เลือกคำสั่ง Image–> Adjustments –> Color Balance จะปรากฏไดอะล็อกบ็อก Color Balance ปรากฏขึ้น ให้กำหนดรายละเอียดของค่าต่าง ๆ ตามภาพค่ะ จากนั้นคลิกปุ่ม OK

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ทำเสร็จแล้วค่ะ เพียงแค่นี้ภาพของเราก็จะเปลี่ยนไปเป็นภาพ Sepia แล้วค่ะ ทำได้ง่าย ๆ อย่างที่บอกเลยนะค่ะ

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

มาสร้างภาพจิ๊กซอว์กันเถอะ

ขั้นตอนการทำภาพจิ๊กซอว์ มีดังนี้ค่ะขั้นตอนที่ 1 เปิดภาพที่ต้องการใส่ทำเป็นภาพจิ๊กซอร์เข้ามาใน Photoshop โดยไปที่เมนูบาร์ แล้วเลือก File –> Open (ภาพที่เลือกมีขนาดความกว้าง 360 px.)

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 2 ใช้พาเล็ต Layers ทำการคัดลอก Layers โดยการคลิกค้างที่ Layer แล้วทำการลากมาวางที่ตำแหน่งที่ 2 หรืออาจใช้วิธีคลิกขวาที่เลเยอร์ เลือก Duplicate Layer.. ซึ่งจะทำให้มีเลเยอร์เพิ่มขึ้นมาอีก 1 เลเยอร์

ขั้นตอนที่ 3 คลิกที่เลเยอร์ที่สร้างขึ้นใหม่ แล้วทำการเปิดใช้งานพาเล็ต Styles โดยการเลือกคลิก Style ที่ตำแหน่งที่ 3 (หากไม่มี พาเล็ต Styles สามารถเรียกใช้โดยใช้คำสั่ง Window –> Styles)

ขั้นตอนที่ 4 ปรับค่า Opacity ของเลเยอร์ที่ 2 ให้เหลือ 50%

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 5 ถึงขั้นตอนนี้บนภาพชิ้นงานของคุณก็จะมีลักษะเป็นเหมือนจิ๊กซอว์ แต่ยังไม่สวยงาม เพราะขนาดของจิ๊กซอว์ไม่สมดุลย์กับภาพ ให้ทำการ ดับเบิ้ลคลิกที่เลเยอร์ที่ 2 จะปรากฏไดอะล็อกบอกซ์ของ Layer Style ให้กำหนดค่าต่าง ๆ ดังภาพ

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

เมื่อคลิก Ok คุณก็จะได้ภาพจิ๊กซอว์สวยงามดังภาพ
สำหรับเทคนิคนี้นั้น การนำไปใช้งานจริง ๆ ขึ้นอยู่กับขนาดของภาพที่คุณนำมาตกแต่ง ดังนั้นการกำหนดชิ้นส่วนของจิ๊กซอว์ให้สมดุลย์และสวยงาม จะขึ้นอยู่กับการปรับ Layer Styles ในขั้นตอนที่ 5 เทคนิคนี้น่าสนใจนะค่ะ เพราะหากไปจ้างที่ร้านถ่ายรูปให้ทางร้านทำให้ ก็หลายบาทอยู่เหมือนกันค่ะ ทำเองประหยัดดีค่ะ แล้วก็ดูมีคุณค่าดี ใครจะทำเป็นของขวัญวันเกิดให้เพื่อนก็เก๋ไปอีกแบบค่ะ

การทำป้ายโปสเตอร์

ขั้นตอนที่ 1 เปิดรูปกระดาษที่ต้องการพร้อมสร้างรอยกระดาษขาด
โดยในที่นี้ฟรีขอเปิดรูปกระดาษที่เคยทำไปในบทความการทำกระดาษมีรอยยับด้วยเทคนิค Photoshop

ใช้ Brush โดยปรับหัวแปรงดังรูป และปรับขนาดให้พอเหมาะ

สร้าง Layer ขึ้นมาใหม่จากนั้นเริ่มระบายรอยขาดด้วย Brush ดังรูป (ใช้สีที่ใกล้เคียงกับกระดาษโดยฟรีจะเลือกสีที่เข้มกว่ากระดาษนิดนึง)

Tip:ถ้ามีส่วนที่ต้องการลบให้ใช้ยางลบโดยเลือกหัวแปรงอันเดียวกันกับ Brush ที่ใช้
Tip2:ระบายลงไปไม่ต้องกลัวเบี้ยวมากเพราะกระดาษขาดมันไม่สวยอยู่แล้ว ^^

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 2 สร้างเงาให้รอยขาดเพื่อเพิ่มมิติ

สร้าง Layer ขึ้นมาใหม่และนำ Layer ใหม่นี้ไว้ใต้ Layer รอยกระดาษขาด

ใช้ Brush หัวกลมธรรมดาปรับขนาดให้พอเหมาะและลดค่า Hardness เป็น 0%

ระบายสีดำลงไปบริเวณใต้รอยขาดดังรูป

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ไปที่ Filter > Blur > Gaussian Blur และปรับความเบลอพอประมาณในที่นี้ฟรีปรับ 5 px

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ปรับค่า Opacity ของ Layer เงาประมาณ 50% (เงาที่ทำนี้ต้องการให้แสดงผลตรงส่วนขอบๆของรูที่ขาดไม่ใช่ส่วนตรงกลาง)

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

สร้าง Layer เพิ่มเหนือ Layer เงาที่ทำเมื่อกี้ขึ้นใหม่

ใช้ Brush หัวกลม Hardness 0% ระบายสีดำลงไปบริเวณใต้ขอบของกระดาษที่ขาดดังรูป

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ปรับค่า Opacity ของ Layer นี้ประมาณ 25% เพื่อให้เงาสีอ่อนกว่าเงาชั้นแรก

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

เลือกทำงานที่ Layer รอยกระดาษขาด (Layer บนสุด) และกด Ctrl+J เพื่อ Duplicate Layer

จากนั้นนำ Layer ที่ Duplicate ไปไว้ใต้ Layer รอยกระดาษขาด

กด Ctrl+U หรือไปที่ Image > Adjustments < Hue/Saturation ปรับค่า Lightness เป็น -100 เพื่อให้รอยกระดาษเป็นสีดำ

ไปที่ Filter > Blur > Gaussian Blur โดยฟรีปรับความ Blur ประมาณ 2.4

ลดค่า Opacity ของ Layer นี้เหลือประมาณ 20%

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

ขั้นตอนที่ 3 สร้างเงาบนรอยกระดาษขาดเพื่อเพิ่มความสมจริง (อีกแล้ว)

สร้าง Layer ขึ้นมาใหม่โดยตำแหน่งของ Layer นี้เหนือ Layer รอยกระดาษขาด

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

กด Ctrl ค้างและคลิกที่ Layer รอยกระดาษขาด (Layer 1) เพื่อ Load Selection

กด Ctrl+Shift+I เพื่อกลับ Selection

กด Delete เพื่อลบส่วนที่เกินรอยกระดาษขาดออก

กดที่ Add Layer Mask ดังรูป

ใช้ Brush สีดำปรับค่า Opacity ของ Brush 10% แล้วระบายลงบน Mask รอบๆเพื่อไล่สี

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด

จากนั้นปรับ Opacity ประมาณ 30% เพื่อให้สีดำอ่อนลงทั้งหมด

ปล.ฟรีปรับสีของรอยกระดาษขาดให้สว่างขึ้นด้วย Hue/Saturation (Ctrl+U) พอดีทำไปด้วยเขียนบทความไปด้วยแล้วพอทำจะเสร็จรู้สึกสีมันไม่ค่อยโอเค

ระบายสีดำลงบน Layer กระดาษในส่วนที่เป็นรูตรงกลาง

เมื่อคลิกเมาส์ที่เมนู select -> inverse เพื่อกระทำสิ่งใด