ผลงานศิลปะของ อ.นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ใช้เทคนิคอะไรในการสร้างผลงาน

ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ เกิดเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2489 ที่กรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษาด้านศิลปะจากวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร และสาขาประติมากรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

เคยเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาประติมากรรมและคณะบดี คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณบดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ที่ผ่านมานอกจากการถ่ายทอดความรู้ด้านประติมากรรมในฐานะศิลปินแห่งชาติ และนายกสมาคมประติมากรไทย ตลอดจนเป็นประธานคณะกรรมการดำเนินงานกองทุนส่งเสริมการศึกษาการสร้างสรรค์ศิลปะ มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ซึ่งเป็นกองทุนจัดระดมเงินเพื่อมอบทุนให้กับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี โท และเอก ที่มีความประพฤติดี ผลการเรียนดี แต่ขาดทุนทรัพย์ จากสถาบันการศึกษาศิลปะทั่วประเทศ

ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ ยังเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่ติดตั้งในสถานที่สำคัญหลายแห่ง อาทิ ออกแบบประติมากรรมนูนสูง ติดตั้งที่สระน้ำภายในบริเวณสวนหลวง ร.9 ,ดำเนินการปั้นดินต้นแบบและควบคุมการหล่อทองเหลืองแล้วปิดทองพระประธานและพุทธสาวกเพื่อประดิษฐานในพระอุโบสถ วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก ,เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม “ปิติสุข” ซึ่งติดตั้งถาวรด้านหน้าพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย หรือ MOCA

เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม “พ่อของแผ่นดิน” เพื่อโครงการช่วยเหลือทารกเกิดก่อนกำหนด ของ ศิริราชมูลนิธิ โรงพยาบาลศิริราช

เป็นผู้ออกแบบและควบคุมก่อนหล่อพระพุทธรูปและเหรียญ “พระพุทธเทพทันตราช” ของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องในปีมหามงคลที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ

เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ Agricola และ Telefood ของ F.A.O. เพื่อถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

และที่สำคัญอย่างยิ่งเป็นผู้ออกแบบและทำต้นแบบเหรียญ “พระมหาชนก” ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งกลางเหรียญมีพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะทรงงานตามโครงการ ผินพระพักตร์ทางเบื้องซ้าย ชิดวงขอบเหรียญด้านล่างมีอักษรภาษาไทย อักษรเทวนาครี และอักษรภาษาอังกฤษ ข้อความว่า " วิริยะ Perseverance "

ขณะที่อีกด้านของเหรียญมีรูปพระมหาชนกในมหาสมุทร ขณะสนทนาธรรมกับนางมณีเมขลา ซึ่งถ่ายแบบร่างฝีพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ชิดวงขอบเหรียญด้านล่างในผ้าแถบมีอักษรภาษาไทย อักษรเทวนาครี และอักษรภาษาอังกฤษ ข้อความว่า "พระมหาชนก Mahajanaka"

ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ วัย 70 ปี เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งและหัวใจ เมื่อช่วงกลางคืนของวันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2560 เวลาประมาณ 23.00 น.ณ จ.ชลบุรี

จะมีการรดน้ำศพ ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผลิน ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2560 เวลา 16.00-17.00 น. และสวดอภิธรรมศพ วันที่ 23-29 มกราคม พ.ศ.2560 เวลา 18.30 น. ณ ศาลา 2 วัดเครือวัลย์วรวิหาร ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่

อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน เป็นประติมากรที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นเป็นรูปทรง ๓ มิติ มีความสัมพันธ์ของเส้นและปริมาตรอันกลมกลืนงดงาม โดยนำเสนอผ่านความรู้สึก อารมณ์และความปรารถนา เพื่อให้สังคมได้ตระหนักถึงความเป็นจริงของธรรมชาติ และต่อมาในภายหลังได้สร้างสรรค์ผลงานที่มีเนื้อหาแฝงปรัชญาทางพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังเป็นผู้เผยแพร่ความรู้ และสร้างคุณประโยชน์ทางด้านศิลปะแก่สังคมและ วงการศึกษาศิลปะของไทย มาโดยตลอดจวบจนลมหายใจสุดท้ายของชีวิต อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน เกิดเมื่อวันที่ ๑๖ตุ ลาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ที่กรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษาด้านศิลปะจากวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร และสาขาประติมากรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เคยเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาประติมากรรมและคณะบดี คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ผ่านมานอกจากการถ่ายทอดความรู้ด้านประติมากรรมในฐานะศิลปินแห่งชาติ และนายกสมาคมประติมากรไทย ตลอดจนเป็นประธานคณะกรรมการดำเนินงานกองทุนส่งเสริมการศึกษาการสร้างสรรค์ศิลปะ มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ซึ่งเป็นกองทุนจัดระดมเงินเพื่อมอบทุนให้กับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี โท และเอก ที่มีความประพฤติดี ผลการเรียนดี แต่ขาดทุนทรัพย์ จากสถาบันการศึกษาศิลปะทั่วประเทศ

ผลงานศิลปะของ อ.นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ใช้เทคนิคอะไรในการสร้างผลงาน

ผลงานศิลปะของ อ.นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ใช้เทคนิคอะไรในการสร้างผลงาน

นอกจากนี้ยังเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมที่ติดตั้งในสถานที่สำคัญหลายแห่ง อาทิ ออกแบบประติมากรรมนูนสูง ติดตั้งที่สระน้ำภายในบริเวณสวนหลวง ร.๙ ,ดำเนินการปั้นดินต้นแบบและควบคุมการหล่อทองเหลืองแล้วปิดทองพระประธานและพุทธสาวกเพื่อประดิษฐานในพระอุโบสถ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ,เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม “ปิติสุข” ซึ่งติดตั้งถาวรด้านหน้าพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย หรือ MOCA เป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม “พ่อของแผ่นดิน” เพื่อโครงการช่วยเหลือทารกเกิดก่อนกำหนด ของ ศิริราชมูลนิธิ โรงพยาบาลศิริราช เป็นผู้ออกแบบและควบคุมก่อนหล่อพระพุทธรูปและเหรียญ “พระพุทธเทพทันตราช” ของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องในปีมหามงคลที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเจริญพระชนมายุครบ ๕ รอบ เป็นผู้ออกแบบ และทำต้นแบบเหรียญ Agricola และ Telefood ของ F.A.O. เพื่อถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และที่สำคัญอย่างยิ่งเป็นผู้ออกแบบและทำต้นแบบเหรียญ “พระมหาชนก” ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งกลางเหรียญมีพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะทรงงานตามโครงการ ผินพระพักตร์ทางเบื้องซ้าย ชิดวงขอบเหรียญด้านล่างมีอักษรภาษาไทย อักษรเทวนาครี และอักษรภาษาอังกฤษ ข้อความว่า ” วิริยะ Perseverance ” ขณะที่อีกด้านของเหรียญมีรูปพระมหาชนกในมหาสมุทร ขณะสนทนาธรรมกับนางมณีเมขลา ซึ่งถ่ายแบบร่างฝีพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา