รัฐสภามีหน้าที่ในการตรากฎหมายใด

รัฐสภามีหน้าที่ในการตรากฎหมายใด

อำนาจนิติบัญญัติ  เป็นอำนาจหน้าที่ของรัฐสภา  ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ได้กำหนดให้รัฐสภาประกอบด้วย  สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา  โดยรัฐสภาเป็นตัวแทนของประชาชนชาวไทย  กล่าวคือ  ทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่างฝ่ายต่างมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั้งสิ้น  แต่อาจจะด้วยวิธีการและจำนวนที่แตกต่างกันออกไป  โดยหลักการใหญ่ ๆ รัฐสภามีหน้าที่พิจารณาออกกฎหมายบังคับให้แก่ประชาชนตามขั้นตอนที่รัฐธรรมนูญกำหนด  กฎหมายที่จะออกมาจากรัฐสภาต้องผ่านความเห็นชอบทั้งจากสภาผู้แทนราษฎรและจากวุฒิสภา  จึงจะนำขึ้นทูลเกล้า ฯ  ให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย  ดังนั้น  อำนาจหน้าที่ของรัฐสภาของไทยในระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจึงมีอำนาจหน้าที่โดยทั่วไป  ดังนี้
1.  อำนาจหน้าที่ในการออกกฎหมาย  เพื่อใช้เป็นแนวทางและเครื่องมือในการบริหารประเทศ  ได้แก่  การเสนอร่างพระราชบัญญัติ  การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติและกฎหมายอื่น ๆ การแก้ไขเพิ่มเติม  การยกเลิกกฎหมาย  เป็นต้น  โดยจะทำหน้าที่ร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา  ตามขั้นตอนที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้  สำหรับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  จะมีอำนาจหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมาย  และเสนอร่างกฎหมายเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา  แต่สมาชิกวุฒิสภาไม่มีอำนาจเสนอร่างกฎหมายมีเพียงอำนาจพิจารณาร่างกฎหมายเท่านั้น
โดยทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาล้วนเป็นผู้แทนของประชาชนชาวไทยที่เลือกเข้ามาทำหน้าที่ในรัฐสภา  เพื่อให้ใช้อำนาจนิติบัญญัติแทนประชาชนทั่วประเทศ  ดังนั้นการใช้อำนาจนิติบัญญัติที่ได้กล่าวมาข้างต้น  จึงต้องคำนึงถึงประโยชน์โดยรวมของประชาชนซึ่งเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยเป็นหลัก
2. เสนอชื่อบุคคลเป็นนายกรัฐมนตรี  โดยบุคคลนั้นจะต้องเป็นบุคคลที่ได้รับเสียงข้างมากเห็นสมควรให้เป็นนายกรัฐมนตรีจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ซึ่งบุคคลนั้นก็จะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด้วยเช่นกัน  โดยอำนาจในการเลือกนายกรัฐมนตรีเป็นของสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น
 3.  ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล ตามที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา  รวมทั้งตรวจสอบติดตามผลการปฏิบัติงานของรัฐบาล
นอกจากนั้น  ในส่วนของวุฒิสภาอันมีสมาชิกวุฒิสภาเป็นสมาชิก  นอกจากจะมีหน้าที่ในการกลั่นกรองกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว วุฒิสภายังมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ  เพื่อแต่งตั้งและถอดถอนบุคคลหรือองค์กรอิสระตามที่รัฐธรรมบัญญัติไว้อีกด้วย  เช่น  ถอดถอนนายกรัฐมนตรี  นักการเมือง  เป็นต้น
4.  ให้ความเห็นชอบในกิจกรรมสำคัญของประเทศตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด  เช่น  การตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์  การสืบราชสมบัติ  การให้ความเห็นในการประกาศสงคราม  เป็นต้น

สถาบันนิติบัญญัติ หมายถึง สถาบันที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย คือรัฐสภา ซึ่งมีรูปแบบเป็นสภาคู่ หรือ 2 สภา ประกอบด้วย
         1.1 สภาผู้แทนราษฎร สมาชิกมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต จำนวน 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน จำนวน 80 คน รวม 480 คน มีอำนาจหน้าที่ในการออกกฎหมาย
         1.2 วุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและการสรรหา มีจำนวน 150 คน มีหน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองพระราชบัญญัติโดยถี่ถ้วนไม่ต้องผูกพันกับฝ่ายรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีอำนาจหน้าที่ในการแต่งตั้งและถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญของบ้านเมือง เช่น นายกรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครอง อัยการสูงสุด เป็นต้น

รัฐสภามีหน้าที่ในการตรากฎหมายใด

         http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2154
         https://sites.google.com/site/tauw2491/sm45

รัฐสภามีหน้าที่ในการตรากฎหมายใด
 

     ในระหว่างเวลาดังกล่าว หากมีกรณีที่ไม่อาจแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อ
ที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 ไม่ว่าด้วยเหตุใด และสมาชิกของทั้งสองสภารวมกันจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาเข้าชื่อเสนอต่อประธานรัฐสภาขอให้รัฐสภามีมติยกเว้นเพื่อไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 ในกรณีเช่นนั้น 
ให้ประธานรัฐสภาจัดให้มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภาโดยพลัน และในกรณีที่รัฐสภามีมติด้วยคะแนนเสียง
ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภาให้ยกเว้นได้ ให้ดำเนินการตามวรรคหนึ่งต่อไป โดยจะเสนอชื่อผู้อยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 หรือไม่ก็ได้ตามมาตรา 272

          มาตรา ๔๔ ให้กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ซึ่งเริ่มต้นประกอบกิจการร่วมค้าอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่หลังจากวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับแล้ว

            กระนั้นก็ตาม โดยมากแล้วการจัดชั้นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมักจะเป็นระบบชั้นเดียวหรือสองชั้น แต่ในบางประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นเรียกว่า เขตพิเศษ ซึ่งเป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่ตั้งขึ้นเพื่อให้มีภารกิจเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดจากการจัดตั้งโดยหน่วยการปกครองท้องถิ่นหน่วยใดหน่วยหนึ่งหรืออาจเกิดจากการจัดตั้งร่วมกันของหลายท้องถิ่น