สังคมและวัฒนธรรมของประเทศไทยเป็นอย่างไร

�Ҿ�ҡ Web Site
http://www.timmyflowers.com/images/1191903039/IMGA0657.JPG
http://www.silpathai.net/wp-content/uploads/2014/07/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5
%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9
%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.jpg
�������Ҿ � �ѹ��� 9-11-59
             ด้านวัฒนธรรม มรดกทางวัฒนธรรมอันเกิดจากการพัฒนา การปรับตัว ปรับวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ที่ประกอบด้วยคนไทยและอีกหลายชาติพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันในคาบสมุทร มีคนมาเลย์ คนจีน คนมุสลิม และคนที่มาจากอินเดียฝ่ายใต้ แต่กลุ่มชนที่มีจำนวนมากที่สุดคือ ไทยสยาม แต่จากการที่ชนชาวใต้ มีทำเลถิ่นฐานค่อนข้างหลากหลาย ทั้งที่ราบตามแนวชายฝั่ง ปากอ่าว ท่าเรือ ที่ราบเชิงเขา ตามแนวสายน้ำน้อยใหญ่ ตามเกาะต่างๆ ทำให้วัฒนธรรมของชาวใต้มีความแตกต่างกันตามถิ่นที่อยู่ ตามความเชื่อ เชื้อชาติ และศาสนา ซึ่งภูมิปัญญาชาวบ้านภาคใต้นั้น มีบริบทสำคัญของสังคมภาคใต้เป็นบ่อบ่มเพาะ อันได้แก่ สภาวะธรรมชาติ ภาวะสร้างสรรค์ คติความเชื่อเกี่ยวกับโลกและจักรวาล และคติความเชื่อและความศรัทธาอันเนื่องจากศาสนา (อันได้แก่ พุทธ พราหมณ์ และอิสลาม) และส่งผลต่อวิถีการดำเนินธุรกิจหรือการประกอบอาชีพที่แตกต่างกันของกลุ่มคนในแต่ละพื้นที่ด้วย

�ѧ����

�ѡɳз���仢ͧ�ѧ����
�ѧ���� ���¶֧ ��������ҵԷ����������������ѹ㹻������ �բ�������������ླ�Ẻ�� ���͡�ѡɳ�ҧ�Ѳ��������ⴴ�蹵�ҧ�ҡ�ѧ����� ���� ���Ҿٴ ������¹ ����觡�� �������� ����ҷ ����� ��ô��Թ���Ե����վط���ʹ��繾�鹰ҹ �繵�
ʶҺѹ�ҧ�ѧ����ѧ����
ʶҺѹ�ҧ�ѧ���� ��ẺἹ�ͧ�ĵԡ���������Ƿҧ��û�ԺѵԢͧ�ѧ���·���ա�ࡳ���û�Ժѵ�
����ʹͧ������ͧ��âͧ�ѧ���� �繷������Ѻ�ͧ��Ъҡ���ж�����Ƿҧ��ԺѵԵ�����ѧ����
ʶҺѹ����Ӥѭ��ѧ������ʶҺѹ��鹰ҹ����Ӥѭ 5 ʶҺѹ ���
ʶҺѹ��ͺ����
ʶҺѹ��ͺ������ѧ���� ���ѡɳ��Ӥѭ�ѧ���
1) ���������鹢ͧ��ͺ������ѧ���� ������ҡ����������ջ��ླա������ ������� ����觧ҹ
�ա�è�����¹���ʵ��������
2) �ѧ����㹻Ѩ�غѹ��������� ���ͺ��������ǔ ��� ��ͺ���Ƿ���Сͺ���´��� ��� ��� �١㹺�ҹ���ǡѹ
��ǹ�ѧ�������ͧ���ѧ������ ���ͺ���Ǣ��” ��� ��ͺ���Ƿ���Сͺ���� ��� ��� �١ ������ͭҵ�㹺�ҹ���ǡѹ
3) ʶҺѹ��ͺ������ѧ���� �դ�ҹ�����������繼��Ӥ�ͺ���� ���������§��Ҫԡ㹤�ͺ���� �Ѩ�غѹ���˭ԧ�ӧҹ�͡��ҹ�ҡ���
ʶҺѹ������ͧ��û���ͧ
ʶҺѹ������ͧ��û���ͧ��ѧ�������ѡɳ��Ӥѭ���
1) ��ЪҪ���ѧ���¹Ѻ�����ʹҾط�����ǹ�˭�
2) �ѧ����¡��ͧ����Դ�ٹͧ������ҡ�ѵ�����繻���آ����Ѱ
3) ��û���ͧ�ͧ�ѧ���� ��� ��û���ͧ�кͺ��ЪҸԻ�� �к��Ѱ��� ��ͧ������ҡ�ѵ����
�ç�繻���آ
4) �ա�õ�蹵�Ƿҧ������ͧ��û���ͧ������
��èѴ������͡��������� �ա�û���ٻ�к��Ҫ��� ����ٻ����֡�� ������ � ��������ѧ�����ҡ��ҡ���
ʶҺѹ�ҧ��ʹ�
ʶҺѹ�ҧ��ʹ���ѧ�������ѡɳ��Ӥѭ ���
1) ��ЪҪ���ѧ���¹Ѻ��;ط���ʹ�����ǹ�˭�
2) ������������Ҿ㹡�ùѺ�����ʹ�
3) ��������Զա�ô��Թ���Ե�����Ѻ�Է�Ծŷҧ��ʹ� ������ջ��ླ��Ѳ������������Ǣ�ͧ�Ѻ��ʹ�
ʶҺѹ����֡��
ʶҺѹ����֡����ѧ�����ʹյ �Ѵ ����ѧ �����觡�����¹���ͧ�������
㹻Ѩ�غѹ�ѧ�����ա�û���ٻ����֡�� ����ա�õ�Ҿ���Ҫ�ѭ�ѵԡ���֡����� �ҵ� �.�. 2542 ����觼�������֡�Ңͧ�ѧ�����ա�þѲ��㹴�ҹ��ҧ � ��
1) ��û���ٻ����֡�Ңͧ��
2) ��觻���ٻ����֡�ҷ������ٻ���ٻ������¹���
3) �ա�èѴ����֡�ҹ͡�к�
4) ��������¹�繼�������¹���
ʶҺѹ���ɰ�Ԩ
ʶҺѹ���ɰ�Ԩ��ѧ���� ���ѡɳ��Ӥѭ ���
1) �к����ɰ�Ԩ�ͧ�ѧ���� ���к����ɰ�Ԩ����鹰ҹ�ͧ�к��ع���� ��Ъҡ��������Ҿ㹡�ô��Թ���
�ҧ���ɰ�Ԩ��������Ҿ㹡�����͡�����Թ���
2) �Ѩ�غѹ�Ѱ�������к����ɰ�ԨẺ����Ҵ��Թ��� �ա����������Ѩ��¡�ü�Ե��鹾�鹰ҹ �� 俿��
��л� �繵�
3) �ա�ù����Իѭ�Ҫ�Ǻ�ҹ�ҨѴ��ô��Թ�������繼ż�Ե����Ҵ��ç��� ˹�觵Ӻ�˹�觼�Ե�ѳ��

��ҹ�����ѧ��
��ҹ��� ���¶֧ ��觷�褹��ѧ����ѧ��˹������������觷���ҹ��� ��ҡ�з� ���¡��ͧ����觷��١��ͧ
��ҹ�������觷��ؤ����ѧ����� � ��繾�ͧ��ͧ�ѹ������ԧ����û�Ժѵ���������û�Ժѵ�
��ҹ�������û�١�ѧ��ѧ���� ����
1. ����ѡ�ҵ� ��ʹ� �����ҡ�ѵ����
2. �������������������
3. ������ѭ�١��Ƿ�
4. ��ù����ͧ��
5. ��û����Ѵ
6. ���������ѵ���ب�Ե
7. �����þ���������

ลักษณะทั่วไปของสังคมไทย
            1.ยึดถือพระมหากษัตริย์และนับถือพระพุทธศาสนา
            2. มีโครงสร้างแบบหลวม ๆ ไม่ค่อยมีการรักษากฎเกณฑ์ระเบียบอย่างเคร่งครัด  มีการผ่อนปรนใน เรื่องต่าง ๆ
             3. เป็นสังคมเกษตรกรรม  ประชากรมีชีวิตอยู่อย่างง่าย ๆ
            4. ส่วนใหญ่ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นหลัก
            5. โครงสร้างของชนชั้นยึดสถานภาพทรัพย์สมบัติ  อำนาจ  เกียรติยศ  คุณงามความดี  เป็นเกณฑ์ การแบ่งชนชั้น
            6. มีความรักในถิ่นฐานบ้านเกิดของตน

ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดลักษณะของสังคมไทย
            1.ทางธรรมชาติ ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรและพืชพรรณธรรม ชาติ สิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาตินี้ทำให้สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรมมาตั้งแต่อดีต มีขนบธรรมเนียมประเพณีหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเช่นลักษณะการสร้างบ้านเรือน ประเพณีแห่นางแมว เป็นต้น
             2. สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์ ศิลป ภาษาและวรรณคดี ความเชื่อ ตลอดจน ค่านิยมทาง สังคมอิทธิพลของพระพุทธศาสนาในปัจจุบันยังรับเทคโนโลยีสมัยใหม่จากสังคมตะวันตกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
วิถีชีวิตของสังคมไทยไปจากอดีต
            3. สิ่งแวดล้อมทางสังคม หมายถึง แบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคม เช่น ความเป็น ไมตรีช่วย เหลือเกื้อกูลต่อกัน การให้ความเคารพต่อผู้ใหญ่ การมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวอย่างใกล้ชิดสนิท สนม เป็นต้น สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ยกตัวอย่างมานี้ บางอย่างก็เปลี่ยนไปจากอดีตเนื่องจากโครงสร้างประชากรของ สังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป และเนื่องจากการที่ได้ติดต่อสัมพันธ์กับสังคมอื่น ๆ โดยเฉพาะอิทธิพลจากสังคมตะวันตก ทำให้สิ่งแวดล้อมทางสังคมได้ขยายกว้างออกไปกว่าเดิม และมีผลต่อรูปแบบความสัมพันธ์ในการดำเนินชีวิตของ สังคมไทยปัจจุบัน โครงสร้างของสังคมไทย

ปัญหาที่สำคัญของสังคมไทย
            1. ปัญหาความยากจน มีสาเหตุมาจาก
                        - การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว
                        - การขาดการศึกษา ทำให้ต้องประกอบอาชีพที่มีรายได้ต่ำ
                         - ขาดความชำนาญหรือทักษะในการประกอบอาชีพ จึงหางานทำยาก
                        - ครอบครัวแตกแยก เช่น หัวหน้าครอบครัวเล่นการพนัน ดื่มสุรา ทำให้เกิดความยากจน
                        - ได้รับบาดเจ็บหรือทุพพลภาพจากเครื่องจักรในโรงงาน ทำให้ทำงานไม่ได้ หรือได้น้อยลง
                        - ลักษณะอาชีพมีรายได้สม่ำเสมอ จะเห็นจากพวกเกษตรกร และกรรมกรรับจ้าง
                         - ภัยจากธรรมชาติ หรือโรคระบาด เห็นได้ชัดเจนจากการเกษตร ทำให้ผลผลิตเสียหาย ขายไม่ได้ราคา
                         - การมีบุตรมากเกินไป รายได้ไม่พอกับรายจ่าย
                        - มีนิสัยเฉื่อยชาและเกียจคร้าน เช่น ไม่กระตือรือร้นที่จะพัฒนาอาชีพของตน ไม่ชอบ ทำงาน เป็นต้น
            แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
                         - พัฒนาเศรษฐกิจ เช่น ปฏิรูปที่ดิน ขยายการคมนาคมขนส่ง เป็นต้น
                        - พัฒนาสังคม เช่น บริหารฝึกอาชีพให้ประชาชน พัฒนาโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา
                         - พัฒนาคุณภาพชีวิตประชากร เช่น ขยายโรงพยาบาล เสริมสร้างค่านิยมในการทำงาน เป็นต้น
            2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมในสังคมไทย สาเหตุหลักของปัญหาสิ่งแวดล้อมมี 2 ประการคือ
                        1. สภาวะทางธรรมชาติ เช่น ความร้อน แสงแดด ฝนลม ทำให้สภาพภูมิประเทศถูกทำลายได้ เอง ยากที่ จะบรรเทารักษา แต่การทำลายโดยวิธีนี้ใช้เวลานานมาก
                        2. การกระทำของมนุษย์ ทำลายได้รวดเร็วและรุนแรงยิ่งกว่าธรรมชาติมากนัก สาเหตุหลักมาจาก
                                     - การเพิ่มประชากร
                                     - การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
                                     - แก้พฤติกรรมของคนอันเป็นสาเหตุของปัญหา ตั้งแต่เรื่องเล็กน้อย เช่น ไม่ทิ้งขยะลงใน แม่น้ำ ไปถึงเรื่องใหญ่โตกว้างขวาง โดยการสร้างจิตสำนึกให้รู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อม
                                     - อนุรักษ์สภาพแวดล้อม โดยการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
                                     - พัฒนาสภาพแวดล้อมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นกว่าเดิม และสร้างสิ่งแวดล้อมใหม่ที่ดีขึ้นมาเพิ่ม เติม
                         3. ปัญหาสิ่งเสพย์ติดยาเสพย์ติด มีหลายชนิด ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน กระท่อม แอมเฟ ตามีน บาร์บิท-เรต แอล.เอส.ดี. และสารระเหย ปัญหาสิ่งเสพย์ติดส่วนใหญ่มักจะพบในกรุงเทพมหานคร และมีแนวโน้มว่า จะเพิ่มขึ้น นับเป็นปัญหาแก่สังคมไทยอย่างร้ายแรง แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
                                     - ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้แก่ ครู ผู้ปกครอง โรงเรียน สื่อมวลชน ต้องประชาสัมพันธ์ให้ สังคมรับรู้ อันตรายจากสิ่งเสพย์ติด
                                    - รัฐบาลจะต้องกำหนดมาตรฐานการลงโทษแก่ผู้ค้ายาเสพย์ติด และจัดบริการบำบัดแก่ผู้ติด ยา เสพย์ติดอย่างเพียงพอ
                                    - สมาชิกในสังคมไทยโดยเฉพาะเยาวชน และผู้ใช้แรงงาน ต้องมีความรับผิดชอบตนเอง มี เหตุผล ไม่หลงเชื่อคำชักจูงของผู้อื่น
                                     - ครอบครัวจะต้องให้การอบรมบุตร ให้ความรักและความอบอุ่นทางด้านจิตใจ แก่สมาชิก ใน ครอบครัว
            4.ปัญหาโรคเอดส์ เกิดจากเชื้อไวรัสเอดส์ ชื่อภาษาอังกฤษว่า Human immunodeficiency Virus หรือ เอชไอวี (H.I.V.) กลุ่มที่ติดเชื้อส่วนใหญ่มาจากผู้ที่มีพฤติกรรมสำส่อนทางเพศ และติดยาเสพย์ติด ในปัจจุบันปัญหานี้เป็นภัย อย่างร้ายแรงของสังคมไทย และนับวันจะทวีมากขึ้นหากไม่มีการวางแผนป้องกันที่ดี แนวทางป้องกันและแก้ไข ปัญหา
                        - หน่วยงานที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงสาธารณสุข จะต้องวางแผนและโครงการป้อง กันการแพร่ ของโรคเอดส์ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
                         - รัฐจะต้องประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ - สร้างค่านิยมที่ถูกต้องให้สังคมไทย เช่น ผู้ชาย ไม่ควรเที่ยวหญิงบริการ เพราะจะทำให้ ภรรยาติดเชื้อได้
                         - แก้ปัญหาอื่น ๆ อันเป็นสาเหตุเกี่ยวข้องกับโรคเอดส์ เช่น ปัญหาความยากจน ปัญหายา เสพย์ติด ปัญหาโสเภณี ฯลฯ
             5. ปัญหาอาชญากรรม เป็นปัญหาที่คุกคามต่อความสงบเรียบร้อยและความผาสุกของประชาชนในสังคม สาเหตุของปัญหาอาชญากรรมมีหลายประการดังต่อไปนี้
                        - เกิดความบกพร่องทางร่างกาย
                        - เกิดจากความบกพร่องทางจิตใจ
                        - เกิดจากสิ่งแวดล้อม
                        - เกิดจากการไร้ระเบียบในสังคม แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา
                        - การลงโทษผู้กระทำผิด
                        - การเข้าค่ายฝึกอบรมให้กลับประพฤติตนเป็นคนดี
                         - ให้คำแนะนำปรึกษาให้ประพฤติตนอย่างถูกต้อง
                        - การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อให้ประชากรมีคุณภาพที่ดี
            6. ปัญหาสุขภาพอนามัย เป็นปัญหาเกี่ยวกับความเจ็บป่วยอันเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสุขภาพ อนามัย โภชนาการ การรักษาโรคภัยไข้เจ็บ ฯลฯ สาเหตุของปัญหาสุขภาพอนามัยมีดังนี้
                        1. ขาดความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
                        2. ขาดแคลนหมอและอุปกรณ์การแพทย์
                        3. ข้อผิดพลาดและปัญหาด้านการบริการ
                        4. ปัญหาด้านการกระจายแพทย์ไปยังโรงพยาบาลต่าง ๆ

ที่มา : www.mwit.ac.th/~keng/lesson05/14.doc‎