ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

1. ��������(Hardware) ������ͧ��ͷ�����㹡�èѴ������ʹ�� ������������»����ż� �Ѵ���͡ �ӹdz ���;������§ҹ �ŵ������ͧ��� �������������ػ�ó���ӧҹ���Ǵ���� �դ��������� ��÷ӧҹ ��зӧҹ�������ͧ ��������������ػ�ó��ҧ � ���ʹ��


ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

2. ��������(Software) ��ͫͿ������ ������������������� ��ͧ���Сͺ����Ӥѭ��С�÷���ͧ
��觡����ӴѺ��鹵͹�ͧ����觷�����觧ҹ�����������ӧҹ ���ͻ����żŢ������������Ѿ���� ������ͧ��âͧ�����ҹ

ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

3. ������ (Data) �繵�Ǫ�������������ͤ���������Ǣͧ�к����ʹ�� ���ͧ�ҡ�е�ͧ�ա����
�����Ũҡ���觡��Դ �����Ũе�ͧ�դ����١��ͧ �ա�á��蹡�ͧ��е�Ǩ�ͺ������ҹ�鹨֧���� ����ª��
4. �ؤ�ҡ� (People ware) ����ǹ��Сͺ����Ӥѭ ���кؤ�ҡ÷���դ������ ��������ö �������
�Ըա��������ҫ�����ʹ�� ���繼����Թ��� 㹡�÷ӧҹ������ �ؤ�ҡè֧��ͧ�դ���������
����㹡����෤��������ʹ�� �ؤ�ҡ�����ͧ�������ǹ��Сͺ���з�����Դ �к�
���ʹ�ȴ��¡ѹ�ء��
5. ��鹵͹��û�Ժѵԧҹ ��鹵͹��û�Ժѵԧҹ���Ѵਹ�ͧ��������ͧ͢�ؤ�ҡ÷�����§��ͧ���� ����ͧ
�Ӥѭ�ա��С��˹�� �������Ѳ���к��ҹ���Ǩ��繵�ͧ��Ժѵԧҹ����ӴѺ��鹵͹㹢�з����
�ҹ����繵�ͧ�ӹ֧�֧�ӴѺ��鹵͹ ��û�ԺѵԢͧ����Ф�������ѹ��Ѻ����ͧ ���㹡óջ������
�óթء�Թ

��кǹ��þ�鹰ҹ��к����ʹ��

ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

1. �����Ź���� (Input) ��� �����ŴԺ����������кǹ��âͧ�к����ʹ�������Ң����Ũ��Ҩҡ����˹����
2. ��кǹ��� (Process) ��� ����ŧ ��èѴ��� ���������������Ź�������������ٻẺ�������������ö ���㨤����������ҡ���
3. �ŷ���� (Output) ��� ��á�Ш�����ʹ�ȷ���ҹ��кǹ���������ѧ�ؤ������˹��§ҹ������
���ʹ������ҹ��
4. ����͹��Ѻ (Feedback) ��� �ŷ�����Ѻ��Ѻ�Ҩҡ�������������ʹ�����͹��һ����Թ�� ���ͻ�Ѻ��ا �����Ź���� (Input) ���١��ͧ���������ͧ��âͧͧ��� �·�����������������͹��Ѻ���е�ͧ�繡����������������ͤ��㹡�����Ŵѧ�����

การดำเนินชีวิตประจำวันของทุกคนเกี่ยวข้องกับข้อมูลอยู่ตลอดเวลา อาจเป็นผู้ให้ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ และเป็นผู้ประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ ตัวอย่างเช่น เมื่อนักเรียนกรอกรายละเอียดส่วนตัวลงในเอกสารเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษ และทางโรงเรียนได้นำข้อมูลเหล่านั้นไปพิจารณาคัดเลือกผู้สมัคร โดยอาจมีการแบ่งกลุ่มตามเพศและอายุ จะเห็นได้ว่านักเรียนเป็นผู้ให้ข้อมูล หน่วยทะเบียนเป็นผู้ประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่นำไปใช้ได้ และคณะกรรมการพิจารณาเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อตัดสินใจ

ข้อมูล (Data)

ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่แสดงถึงลักษณะ สถานะหรือเหตุการณ์ต่างๆ โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้สื่อสาร แปลความหมาย และประมวลผล ซึ่งอาจทำด้วยคนหรือคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างลักษณะของข้อมูล เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ อีเมล์ สี สัญลักษณ์ รูปทรง อุณหภูมิ ตัวโน๊ต และเสียง ตัวอย่างข้อมูลที่เก็บในรูปแบบต่างๆ

ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร
อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล

สารสนเทศ (information)

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลได้เป็นสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ทันต่อสถานการณ์ที่สนใจ มีความน่าเชื่อถือ มีความหมาย มีคุณค่า และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ใช้ เช่น เมื่อต้องการนำสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนการขาย สารสนเทศที่ต้องการควรเป็นรายงานสรุปยอดการขายแต่ละเดือนในปีที่ผ่านมาที่เพียงพอแก่การตัดสินใจ ตัวอย่างการนำข้อมูลมาประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ใชในการตัดสินใจ

ตัวอย่างสารสนเทศที่เกิดจากการประมวลผล

ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

ข้อมูลและสารสนเทศที่มีลักษณะอย่างไร

การประมวลผลสารสนเทศ (information processing)

การประมวลผลสารสนเทศ หมายถึง การดำเนินการต่างๆกับข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้งานมากยิ่งขึ้น เช่น การรวบรวมข้อมูล การคำนวณ การค้นคืน การแสดงผล การสำเนาข้อมูล

1.1.1 ชนิดของข้อมูลแบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล

ข้อมูลที่แบ่งตามแหล่งที่มา มี 2 ชนิด คือ

1) ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data)

ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลขั้นต้นที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลนักเรียนที่ได้มาจากการตอบแบบสอบถาม การสำรวจ การสัมภาษณ์ การวัด การสังเกต การทดลอง ข้อมูลสินค้าที่ได้จากการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด ข้อมูลบัตรเอทีเอ็มที่ได้จากเครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก ข้อมูลที่ได้จะมีความถูกต้อง ทันสมัย และเป็นปัจจุบันมากกว่าข้อมูลทุติยภูมิ

2) ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data)

ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้แล้ว โดยมีผู้หนึ่งผู้ใด หรือหน่วยงานได้ทำการเก็บรวบรวมหรือเรียบเรียงไว้ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นสามารถนำมาใช้อ้างอิงได้เลย เช่น ข้อมูลสำมะโนประชากร สามารถอ้างอิงได้จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลปริมาณน้ำฝนจากกรมชลประทาน ข้อมูลทางสถิติต่างๆ ที่มีการบันทึกไว้แล้ว ข้อมูลจากรายงานการวิจัย และบันทึกการนิเทศ

การที่จะตัดสินใจว่าข้อมูลไหนเป็นข้อมูลปฐมภูมิหรือข้อมูลทุติยภูมินั้น มีหลักการสังเกต คือ ถ้าเป็นข้อมูลปฐมภูมิจะต้องเป็นข้อมูลที่ผู้เขียนหรือผู้ประเมินผลได้พบเห็นเหตุการณ์ต่างๆ ลงมือสำรวจศึกษาค้นคว้าหรือเป็นการแสดงความคิดเห็นเริ่มแรกด้วยตนเอง มิได้คัดลอกมาจากผู้อื่น แต่ถ้าเป็นข้อมูลที่ได้คัดลอกมาจากบุคคลอื่น แล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ ถือว่าเป็นข้อมูลทุติยภูมิ

ลักษณะของข้อมูลที่ดี ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้

  1. มีความถูกต้องและแม่นยำ
  2. มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัยอยู่เสมอ
  3. มีความกระชับ ชัดเจน และสมบูรณ์ครบถ้วน
  4. สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
  5. ปราศจากความลำเอียงหรืออคติ

1.1.2 ชนิดของข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูล

ข้อมูลมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ตามลักษณะและแหล่งกำเนิดของข้อมูล เพื่อให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการประมวลผลข้อมูล จำเป็นต้องมีการแทนข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง

ข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูลได้เป็น 2 ชนิด คือ

1) ข้อมูลชนิดจำนวน (numeric data)

หมายถึง ข้อมูลที่สามารถนำไปคำนวณได้ ข้อมูลชนิดนี้มี 2 รูปแบบ คือ

  • จำนวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137, -46
  • ทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำนวนเต็ม เช่น 12.0 หรือเป็นจำนวนที่มีทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763

ทศนิยมนี้สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ

  • แบบที่ใช้กันทั่วไป เช่น 9.0, 17.63, 119.3267, -17.34
  • รูปแบบที่ใช้ในงานทางวิทยาศาสตร์ เช่น
    123.0×104หมายถึง123000.013.76×10-30.01376-17640.0×102-176400.0-17640.0×10-2-17.64

ตัวอย่างข้อมูลชนิดจำนวน เช่น อายุของนักเรียน น้ำหนัก ส่วนสูง และคะแนนเฉลี่ย

2) ข้อมูลชนิดอักขระ (character data)

หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถนำไปคำนวณได้แต่อาจนำไปเรียงลำดับได้ ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใดๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 171101, &76

ข้อมูลเเละสารสนเทศที่ดีมีลักษณะอย่างไร

กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ว่าคุณลักษณะของสารสนเทศที่มีคุณภาพนั้น ต้องมีคุณสมบัติที่ เหมาะสม ได้แก่ ชัดเจน เชื่อถือได้ มีความทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ มีความถูกต้องแม่นยำ มีความ สมบูรณ์ครบถ้วน ตรงตามความต้องการ เรียกใช้ง่าย มีความยืดหยุ่น และต้องตรวจสอบได้

ข้อมูล (Data) มีลักษณะอย่างไร

ข้อมูล (Data) คือ สิ่งต่าง ๆ หรือข้อเท็จจริง ที่ได้รับจากประสาทสัมผัส หรือสื่อต่าง ๆที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์หรือการประมวลผล โดยข้อมูล อาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น ข้อมูลดิบ (Raw Data) คือ ข้อมูลทุกรูปแบบที่ยังไม่ได้ผ่าน การประมวลผล ประเภทของข้อมูล

ข้อมูลสารสนเทศมีกี่ลักษณะอะไรบ้าง *

2) รูปแบบสารสนเทศ คือ ลักษณะภายนอกของสารสนเทศ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ สื่อตีพิมพ์ สื่อไม่ตีพิมพ์ / สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยแต่ละประเภทสามารถจ าแนก ได้ดังต่อไปนี้ (จุดหมาย อารมณ์สวะ, 2551 และ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ, 2558)

ข้อมูลและสารสนเทศมีความหมายว่าอย่างไร

ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้