ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

Animate allows you to export tweens, symbols, and graphics to High Definition videos of various formats. Video Export feature has been enhanced to have a seamless integration with Adobe Media Encoder.

In Animate, you can choose any video format and its presets supported by AME and, if you select the appropriate option, Animate ensures that the video is queued and even processed automatically in AME. You will be notified once the processing is successfully completed.

In addition, you can export all scenes or a desired scene to loop, and for a specific scene you can export all frames or a range of frames.

The HD videos exported with Animate can be used with Communications-enabled applications, for video conferencing, streaming, and sharing.

By default, Animate can export to QuickTime Movie (.MOV) files, only. The export function requires you to install the latest version of QuickTime Player, since Animate leverages QuickTime libraries when exporting MOV files.

The HD video export workflow has been remodeled, as Animate is now integrated with Adobe Media Encoder. It allows you to convert MOV files to various other formats. To its end, Adobe Media Encoder has been optimized to only present export formats relevant for Animate content. For more information on Encoding and Exporting videos using Adobe Media Encoder, see Encode and export video and audio.

2. เลือกสถานที่บันทึก และพิมพ์ชื่อไฟล์ที่ต้องการบันทึก เลือกชนิดของไฟล์ แล้วคลิก Save

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด
ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

3. กำหนดคุณสมบัติของไฟล์ โดยตั้งค่าในกรอบหมายเลข 1 เมื่อกำหนดค่าตามต้องการ
แล้วคลิก OK (หมายเลข 2) เพื่อส่งออกไฟล์

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด
- ขั้นตอนการส่งออกมูฟวี่

 1. คลิกเมนู File > Export > Export Movie... หรือ Ctrl+Alt+Shift+S

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

2. เลือกสถานที่บันทึก และพิมพ์ชื่อไฟล์ที่ต้องการบันทึก เลือกชนิดของไฟล์ ซึ่งชนิดของไฟล์หากต้องการเป็นไฟล์ Flash ต้องเลือกเป็น .swf แล้วคลิก Save

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด
ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

หมายเหตุ : ในกรณีที่ต้องการไฟล์ชนิดอื่นๆ สามารถเลือกชนิดไฟล์ โดยการคลิกเลือก ชนิดของไฟล์ ซึ่งมีหลายรูปแบบ ดังภาพ

บันทึกไฟล์
ภาพที่วาดที่สร้างเสร็จแล้ว หรือปรับแต่งแก้ไขแล้ว ควรบันทึกไฟล์เก็บไว้ทุกครั้ง โดยไฟล์
ต้นฉบับจะได้ส่วนขยายเป็น .fla การบันทึกไฟล์สามารถใช้คำสั่ง File, Save… หรือ File, Save
As…
จุดสังเกตว่าไฟล์ได้ผ่านการบันทึกแล้วหรือไม่ ก็ดูได้จากชื่อไฟล์ใน Title Bar หากมี
เครื่องหมาย * แสดงว่ายังไม่ผ่านการบันทึก

การบันทึกเป็นภาพนิ่งใช้งาน

เนื่องจากไฟล์ .fla เป็นไฟล์ต้นฉบับ ไม่สามารถนำไปใช้งานได้ ก่อนนำไฟล์ภาพที่สร้าง
ด้วย Flash ไปใช้งาน จำเป็นต้องบันทึกในฟอร์แมตที่เหมาะสม สำหรับภาพนิ่ง ให้เลือกคำสั่ง File,
Export, Export Image…
ฟอร์แมตของภาพนิ่ง ก็เป็นรายการที่ควรนำมาพิจารณาประกอบ เช่น ถ้าต้องการเป็น
ภาพประกอบสื่อสิ่งพิมพ์ แนะนำให้เลือกเป็น .bmp หรือ .ai แต่ถ้าต้องการใช้บนเว็บไซต์ ก็ควร
เลือกเป็น .gif, .jpg หรือ .png โดยมีหลักในการพิจารณา ดังนี้
• ภาพโครงร่าง หรือภาพที่มีการใช้สีแบบ Solid ให้เลือกเป็น GIF Format
• ภาพที่มีการใช้สีแบบไล่โทน หรือมีการใช้สีจำนวนมาก ให้เลือกเป็น JPEG Format
การบันทึกในฟอร์แมต GIF
การบันทึกภาพวาดในฟอร์แมต GIF ทำได้โดยเลือกคำสั่ง File, Export, Export Image…
เลือกรายการ Save as Type เป็น GIF Image (*.GIF)

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

รายการเลือกของ GIF Format ได้แก่

• Dimension กำหนดขนาดของภาพ
• Resolution กำหนดความละเอียด มีค่าเท่ากับ 72 dpi
• Include เลือกรูปแบบการบันทึกพื้นที่รอบภาพ กรณีที่ต้องการบันทึกเฉพาะพื้นที่
ที่มีภาพเท่านั้น ให้เลือกเป็น Minimum Image Area โปรแกรมจะไม่นำพื้นที่รอบภาพ
มาบันทึกด้วย แต่ถ้าเลือกเป็นรายการ Full Document Size จะเป็นการบันทึกเท่ากับ
ขนาดที่ระบุจริงในรายการ Dimension
• Colors เลือกจำนวนค่าสีที่เหมาะสมกับภาพ ดังนั้นหากบางภาพมีการใช้สีน้อย ก็
สามารถระบุจำนวนสีที่เหมาะสมได้
• Interlace เลือกเมื่อภาพที่วาดมีขนาดโตกว่า 200 pixel เพื่อกำหนดให้ภาพแสดงผล
แบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยๆ ชัดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

• Transparent เลือกเพื่อกำหนดให้ภาพมีลักษณะของพื้นแบบโปร่งใส
• Smooth เลือกให้ภาพมีลักษณะขอบกระด้าง หรือขอบมน
• Dither solid colors เลือกลักษณะการเกลี่ยสีที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน

การบันทึกในฟอร์แมต JPEG

การบันทึกภาพวาดในฟอร์แมต JPEG ทำได้โดยเลือกคำสั่ง File, Export, Export Image…
เมื่อเลือกไดร์ฟ/โฟลเดอร์ และตั้งชื่อไฟล์ภาพ ให้เลือกรายการ Save as Type เป็น JPEG Image
(*.jpg) แล้วคลิกปุ่ม Save จะปรากฏรายการเลือกค่าควบคุม ดังนี้

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

• Dimension กำหนดขนาดของภาพ
• Resolution กำหนดความละเอียด มีค่าเท่ากับ 72 dpi
• Include เลือกรูปแบบการบันทึกพื้นที่รอบภาพ กรณีที่ต้องการบันทึกเฉพาะพื้นที่
ที่มีภาพเท่านั้น ให้เลือกเป็น Minimum Image Area โปรแกรมจะไม่นำพื้นที่รอบภาพ
มาบันทึกด้วย แต่ถ้าเลือกเป็นรายการ Full Document Size จะเป็นการบันทึกเท่ากับ
ขนาดที่ระบุจริงในรายการ Dimension
• Quality คุณภาพของภาพ กรณีที่นำไปใช้กับเอกสารเว็บ ควรกำหนดไว้ที่ 60 – 90
แต่ถ้าต้องการบันทึกเป็นภาพต้นฉบับเพื่อไปตกแต่งด้วยโปรแกรมอื่นต่อไป ควร กำหนดเป็น 100
• Progressive เลือกเมื่อภาพที่วาดมีขนาดโตกว่า 200 pixel เพื่อกำหนดให้ภาพแสดงผล
แบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยๆ ชัดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป คล้ายๆ กับคุณสมบัติ Interlace ของ GIF

การบันทึกเป็นภาพเคลื่อนไหว
การบันทึกผลงานของ Flash เป็นภาพเคลื่อนไหว หรือ Flash Movie สามารถเลือกได้สอง
คำสั่ง คือ File, Export, Export Movie… โดยมีหน้าต่างการบันทึก และการเลือกฟอร์แมตคล้ายกับ
การบันทึกภาพนิ่งที่แนะนำไปก่อน นอกจากนี้ยังสามารถเลือกได้จากคำสั่ง File, Publish
Settings… ซึ่งเป็นคำสั่งที่นิยมเลือกใช้มากกว่า กรณีที่เป็นภาพเคลื่อนไหว โดยจะปรากฏหน้าต่าง
ทำงาน ดังนี้

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

เลือกฟอร์แมตที่ต้องการใช้งาน
• ใช้งานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้คลิกเลือกรายการ Flash และ HTML
• สร้าง Movie ในฟอร์แมต QuickTime ให้เลือกรายการ QuickTime ซึ่งจะได้ไฟล์
Movie ที่มีส่วนขยายเป็น .mov
• สร้าง Movie ที่สามารถนำเสนอได้ทันที โดยไม่ต้องอาศัย Plug-Ins ใดๆ ให้เลือก
รายการ Windows Projector ซึ่งจะได้ไฟล์ที่มีส่วนขยาย .exe หรือเลือกรายการ
Macintosh Projector สำหรับการนำเสนอบนเครื่องคอมพิวเตอร์ Macintosh
เมื่อเลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ม Publish โปรแกรมจะแปลงงานบน Stage
เป็น Movie ตามฟอร์แมตที่เลือก โดยใช้ชื่อไฟล์เดียวกับไฟล์ Flash ต้นฉบับ

ทำงานกับ Stage

Stage เป็นชื่อเรียกพื้นที่สร้างภาพกราฟิกของ Flash นับเป็นพื้นที่สำคัญในการสร้างสรรค์
งานกราฟิก หรือสร้าง Movie มีลักษณะเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมสีขาวล้อมด้วยกรอบสีเทา ภาพกราฟิก
หรือวัตถุใดๆ สามารถวางได้บนพื้นที่สีขาว และสีเทา แต่เมื่อสั่งนำเสนอผลงาน เฉพาะภาพกราฟิก
หรือวัตถุที่วางบนพื้นที่สีขาวเท่านั้น ที่จะแสดงผล

ขนาดของ Stage
ขนาดของ Stage จะหมายถึงพื้นที่การแสดงผลของ Movie นั่นเอง ดังนั้นก่อนสร้างงานควร
กำหนดขนาดของ Stage ให้เหมาะสมและตรงกับการใช้งานจริง การกำหนดขนาดของ Stage กระทำได้โดย
• เลือกคำสั่ง File, New… เพื่อเข้าสู่โหมดการสร้าง Movie
• คลิกเลือกคำสั่ง Modify, Document…

ไฟล์ movie ที่ส่งออกจากโปรแกรม animate cc คือไฟล์ชนิดใด

• กำหนดค่าความกว้าง ความสูงของ Stage (หน่วยปกติจะเป็น pixel) จากรายการ Dimensions:
o กรณีที่มีข้อมูลบน Stage สามารถคลิกปุ่ม Match: Printer หรือ Contents เพื่อให้
Flash ปรับขนาดให้เหมาะสมกับข้อมูลโดยอัตโนมัติ
• เลือกสีพื้นของ Stage จากตัวเลือก Background color:
• รายการ Frame rate: เป็นหน่วยวัดการสร้างภาพเคลื่อนไหว หมายถึงในเวลา 1 วินาที
จะต้องมีภาพกี่เฟรม จึงจะทำให้ภาพเคลื่อนไหวมีความสมจริง ถ้ากำหนดน้อยเกินไปก็
จะทำให้มีอาการกระตุก และหากเร็วเกินไปก็จะทำให้สูญเสียรายละเอียด การนำเสนอ
บนเว็บ ค่า 12 เฟรมต่อวินาที เป็นค่าที่เหมาะสมที่สุด แต่การสร้างภาพยนตร์เช่น
QuickTime หรือ AVI จะต้องกำหนดไว้ที่ 24 เฟรมต่อวินาที
• Ruler units: หน่วยวัดของไม้บรรทัด และหน่วยวัดการสร้างวัตถุต่างๆ แนะนำให้ใช้
หน่วยเป็น pixels