ละครใน นิยมแสดงเรื่องใด มากที่สุด

ละคร

ละคร หมายถึง การแสดงรำที่เป็นเรื่องเป็นราว ดำเนินเรื่องไปโดยลำดับ มีตัวเอกของเรื่อง ฝ่ายชายเรียกว่า ตัวพระ เพราะสมัยโบราณแสดงแต่เรื่องจักรๆ วงศ์ๆ เป็นเรื่องของกษัตริย์ มีชื่อว่า พระต่างๆ เช่น พระอนิรุทธิ์ พระไชยเชษฐ์ พระอภัยมณี ฝ่ายหญิงเรียกว่า ตัวนาง เพราะในเรื่องที่แสดงมักชื่อว่า นางต่างๆ เช่น นางสีดา นางบุษบา นางทิพเกสร ยังไม่มีการแบ่งเป็นนางสาว และนางที่มีสามีแล้ว และตัวประกอบอื่นๆ แล้วแต่ในเรื่องจะมี

ละครมีหลายแบบ แต่ละแบบมีการแสดงและความมุ่งหมายแตกต่างกัน เช่น ละครโนรา ละครนอก ละครใน ละครพันทาง และละครดึกดำบรรพ์

ละครโนราละครโนราเป็นละครที่เก่าแก่ที่สุด เป็นละครของชาวภาคใต้ ในสมัยโบราณผู้แสดงมีเพียง ๓ คนเป็นผู้ชายล้วน แต่งตัวงามพิเศษอยู่แต่ตัวเอก ซึ่งเป็นตัวพระ เรียกว่า ตัวยืนเครื่องเพียงคนเดียว ตัวนางก็ใช้ผ้าขาวม้าห่ม โดยวิธีต่างๆ เช่น สไบเฉียง คาดอก และตะเบ็งมาน ตามฐานะ อีกคนหนึ่ง เป็นตัวตลก ต้องแสดงเป็นตัวประกอบทุกๆ อย่าง เป็นฤาษี เป็นพราน เป็นม้า เป็นสัตว์ต่างๆ ตามเรื่อง ทุกคนไม่สวมเสื้อ แม้ตัวยืนเครื่องก็แต่งอาภรณ์กับตัวเปล่า เป็นละครที่มุ่งหมายตลกขบขัน และการดำเนินเรื่องรวดเร็ว

ในสมัยปัจจุบันมีผู้หญิงแสดงร่วมด้วย และจำนวนผู้แสดงก็เพิ่มขึ้นไม่จำกัด การแต่งกาย มีการสวมเสื้อ ซึ่งประดับประดาด้วยลูกปัด เป็นอันมาก

โรงสมัยโบราณปลูกอย่างง่ายๆ มีเสา ๔ ต้นเป็น ๔ มุม กับเสากลางสำหรับผูกซองใส่เครื่องอุปกรณ์การแสดง เช่น ธง อาวุธต่างๆ เรียกว่า ซองคลี สมัยปัจจุบันมีตัวละครมากขึ้น ต้องใช้โรงอย่างโรงละครนอก (ดูที่ละครนอก)

การแสดงเริ่มด้วยไหว้ครู แล้วรำซัด แล้วจึงจับเรื่อง ผู้แสดงร้องเองบ้าง มีต้นเสียงร้องไห้บ้าง นักดนตรีก็ร้องเป็นลูกคู่ด้วย

ละครแบบนี้ ชาวภาคกลางเรียกว่า ละครชาตรี การที่เรียกว่า โนรา ก็เพราะตามประวัติว่า ครั้งแรกการแสดงแต่เรื่องนางมโนห์รา จึงเรียกว่า มโนห์รา แต่สำเนียงพูดของชาวใต้นั้น คำที่เป็นลหุอยู่ข้างหน้าจะตัดทิ้งไม่ต้องพูด เช่น ไปเล (ไปทะเล) ไปหลาด (ไปตลาด) มโนห์ราจึงเรียกเป็นโนรา

ละครนอก

ละครนอกเป็นละครภาคกลาง นัยว่าวิวัฒนาการมาจากโนรา เพราะมีความมุ่งหมายเช่นเดียวกันคือ ดำเนินเรื่องรวดเร็ว และตลกขบขัน สมัยโบราณผู้แสดงเป็นชายล้วน เพิ่งมีผู้หญิงแสดงในปลายสมัยรัชกาลที่ ๔ เมื่อโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกการห้ามมิให้บุคคลทั่วไปมีละครหญิง ในตอนหลังผู้แสดงเป็นผู้หญิงโดยมาก ผู้ชายเกือบจะไม่มีเลย

ละครใน, ละครใน หมายถึง, ละครใน คือ, ละครใน ความหมาย, ละครใน คืออะไร

ละครใน นิยมแสดงเรื่องใด มากที่สุด

         ละครใน มีหลายชื่อ เช่น ละครใน ละครข้างใน ละครนางใน และละครในพระราชฐาน เป็นต้น สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา และรุ่งเรืองมากที่สุดในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ละครในแสดงมาจนถึงสมัยธนบุรี และรัตนโกสินทร์ หลังสมัยรัชกาลที่ ๖ มิได้มีละครในในเมืองหลวงอีก เนื่องจากระยะหลังมีละครสมัยใหม่เข้ามามาก จนต่อมามีผู้คิดฟื้นฟูละครในขึ้นอีก เพื่อแสดงบ้างในบางโอกาส แต่แบบแผน และลักษณะการแสดงเปลี่ยนไปมาก

ผู้แสดง

          เป็นหญิงฝ่ายใน เดิมห้ามบุคคลภายนอกหัดละครใน จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงเลิกข้อห้ามนั้น ต่อมาภายหลังอนุญาตให้ผู้ชายแสดงได้ด้วย ผู้แสดงละครในต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถตีบทให้แตก และมีลักษณะทีท้าวทีพญา

การแต่งกาย

          พิถีพิถันตามแบบแผนกษัตริย์จริงๆ เรียกว่า "ยืนเครื่อง" ทั้งตัวพระ และตัวนาง

เรื่องที่แสดง

          มักนิยมแสดงเพียง ๓ เรื่อง คือ อุณรุฑ อิเหนา และรามเกียรติ์

การแสดง

          ละครในมีความมุ่งหมายอยู่ที่ศิลปะของการร่ายรำ ต้องให้แช่มช้อยมีลีลารักษาแบบแผน และจารีตประเพณี

ดนตรี          ใช้วงปี่พาทย์เหมือนละครนอก แต่เทียบเสียงไม่เหมือนกัน จะต้องบรรเลงให้เหมาะสมกับเสียงของผู้หญิงที่เรียกว่า "ทางใน"

เพลงร้อง

          ปรับปรุงให้มีทำนอง และจังหวะนิ่มนวล สละสลวย ตัวละครไม่ร้องเอง มีต้นเสียง และลูกคู่ มักมีคำว่า "ใน" อยู่ท้ายเพลง เช่น ช้าปี่ใน โอ้โลมใน


ละครใน นิยมแสดงเรื่องใด มากที่สุด

ละครใน, ละครใน หมายถึง, ละครใน คือ, ละครใน ความหมาย, ละครใน คืออะไร

ร่วมเป็นแฟนเพจเรา บน Facebook..ได้ที่นี่เลย!!

���

     ���Ф÷���ʴ���ѧ ����Ըա������Թ����ͧ���ҧ�Фù͡ �����������к�㹾���Ҫ�ҹ�ʴ�  �¹Ӻ�������ʴ�⢹�������ͧ������õ�� ����س�ط ���ʴ��¹ҧ��Ҫ�ӹѡ �֧���¡����Фùҧ� �����Фâ�ҧ� ��������¡���� ��� �Ф��

     ����ͧ����ʴ�  �ʴ�੾�� � ����ͧ ��� ������õ�� �س�ط ������˹�

     ����觡��  ����ͧ�觡�»�гյ����� ���Ẻ�ͧ��ѵ���� �� �����خ �ѧ��� �Ѻ��ǧ ����кҴ ����˹�� ʹѺ��� ������� ��ͧ���ͧ�� ���

     ����ʴ�  �����˭ԧ��ǹ ����������Ѫ��ŷ�� � �� �Ф�㹼�����ʴ� �� ��·ͧ���������˹�

     ����ʴ�  ����� ��ͧ��гյ��������Ẻ�Ҫ�ӹѡ �Ф����觴���ŻС���������ҡ������������ͧ

     �����  ��ǧ���ҷ������͹�Фù͡ ��ҧ㹫�����дѺ���§����СѺ���˭ԧ ����ѡ���ŧ��������� ��ǧ�ӹͧ��͹��ҧ��� �ԨԵþ�ʴ�� ����СѺ���ҷ����

     �ŧ��ͧ  ��Ѻ��ا����շӹͧ��Шѧ��й������ ������� ����Ф������ͧ�ͧ �յ����§����١��� �ѡ�դ���� "�" ��������ŧ �� ��һ��� �������

     ʶҹ����ʴ�  ����ʴ�㹾���Ҫ�ҹ��ҹ�� ������ʴ����ӡѴʶҹ���

ละครใน นิยมแสดงเรื่องใด มากที่สุด

การแสดงละครในนิยมแสดงเรื่องใด

ละครใน เป็นการแสดงละครในราชสำนัก ใช้ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน นิยมแสดงเพียง 3 เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อิเหนา และอุณรุท

ผู้ที่ให้กำเนิดละครดึกดำบรรพ์ คือใคร

ละครดึกดำบรรพ์ เป็นละครรำอีกแบบหนึ่งที่เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ได้ดัดแปลงมาจากโอเปร่าของฝรั่ง โดยใช้เรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ ของไทย ทำเป็นแบบละครรำ แต่ดำเนินเรื่องให้รวดเร็ว และจัดฉากประกอบเรื่องให้ดูสมจริง.

ละครนอกนิยมแสดงเรื่องใดมากที่สุด

เรื่องที่ละครนอกแสดงได้สนุกสนาน เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย บทที่สามัญชนแต่งได้แก่ เรื่องแก้วหน้าม้า ลักษณะวงศ์ และจันทโครพ บทที่เป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ ได้แก่ เรื่องสังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย ไชยเชษฐ์ คาวี มณีพิชัย และไกรทอง

ละครใน” มีลักษณะเด่นในข้อใดมากที่สุด

ละครในมีความมุ่งหมายอยู่ที่ศิลปะของการร่ายรำ ต้องให้แช่มช้อยมีลีลารักษาแบบแผน และจารีตประเพณี ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์เหมือนละครนอก แต่เทียบเสียงไม่เหมือนกัน จะต้องบรรเลงให้เหมาะสมกับเสียงของผู้หญิงที่เรียกว่า "ทางใน"