ข้อใดเป็นความหมายของทางช้างเผือก


����Ԫ��Է����ʵ���鹰ҹ 5 �����Ԫ� �33101
�ӹǹ 10 ���
�� �ç���¹�աѹ(�Ѳ�ҹѹ���ػ�����)
����� ��س����͡�ӵͺ���١��ͧ����ش
��ͷ�� 1)
�ԧầ�繷�ɮ�͸Ժ������
   ������Դ������ѧ�ҹ��ǹ˹������¹���������
   �����Ѳ�ҡ�õ�����ͧ���Դ�繡���硫�
   ����Դ�к�������
   �١�ء���

��ͷ�� 2)
������÷���Դ��鹢���Դ�ԡầ �������
   ��Ţͧ�������ਹ ����������
   ����� ����硵�͹ ��Ƿ��� ���⿵͹
   ⿵͹
   ����բ��㴶١

��ͷ�� 3)
���㴵��仹��������͡��
   ���ġ��
   ���������
   ��������
   �١�ء���

��ͷ�� 4)
��ɮ�㴷����͸Ժ�¡���Դ�ͧ�͡��
   ��ɮպԡầ
   ��ɮ�����Ф����
   ��ɮբ��µ��Ŵŧ
   ��ɮ���觡�Ѵ

��ͷ�� 5)
1 ���ʧ ���¶֧����
   ���ҷ���ʧ�Թ�ҧ�ҡ�ǧ�ҷԵ��֧�š
   ���зҧ����ʧ ����͹���� 1 ��
   ���зҧ�ҡ�ǧ�ҷԵ��֧�š
   ��˹��¢ͧ����Ẻ˹��

��ͷ�� 6)
������Դ��������ǡѹ�������
   �õ͹��й�ǵ�͹
   �õ͹�������硵�͹
   �õ͹���⿵͹
   ����硵�͹��й�Ƿ���

��ͷ�� 7)
�����բ�Ҵ�˭����ش
   �͡��
   ๺����
   �к�������
   ����硫�

��ͷ�� 8)
�к�����������㹡���硫��
   ������Ź�˭�
   ������Ź���
   �͹������
   �ҧ��ҧ��͡

��ͷ�� 9)
�ӡ����㹢��㴶١��ͧ
   ����硫��Դ��ѧ�ԡầ����ҳ 1,000 ��ҹ��
   ����硫բͧ������ѡɳ����ٻ�ѧ�ѹẺ�դҹ
   ����硫շҧ��ҧ��͡����鹼�ҹ�ٹ���ҧ 100,000 ��
   �١�ء���

��ͷ�� 10)
�������§�ӴѺ�ҡ�к��˭������к����
   �������� �͡�� ����硫� �к�������
   �͡�� ����硫� �к������� ���������
   ����硫� �к������� �������� �͡��
   �к������� �������� �͡�� ����硫�


กาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way) เป็นกาแล็กซีที่พวกเราอาศัยอยู่ แต่เนื่องจากดวงอาทิตย์ก็อยู่ภายในกาแล็กซี่แห่งนี้ เราจึงไม่สามารถมองเห็นได้ว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกมีรูปร่างเป็นอย่างไร สิ่งที่เราเห็นได้คือแถบขาวจางๆที่เหยียดตัวพาดผ่านท้องฟ้ายามค่ำคืน ชื่อ Milky Way มาจากคำว่า Via Lactea ในภาษาละติน ซึ่งแปลตรงตัวว่า “ทางน้ำนม” เมื่อเราสำรวจแถบนี้อย่างละเอียดแล้ว จะพบว่าแถบทางช้างเผือกประกอบไปด้วยดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างไกลนับพันล้านดวง แต่แสงจากดาวฤกษ์เหล่านี้ส่วนใหญ่ ถูกลดทอนด้วยฝุ่นแก๊สที่อยู่ในระนาบของกาแล็กซี

ข้อใดเป็นความหมายของทางช้างเผือก
ภาพกาแล็กซีทางช้างเผือกตลอดทุกส่วนของแถบที่ประกอบจากภาพถ่ายส่วนต่างๆ
Credit: Gigagalaxy Project 

ผลจากการสังเกตการณ์บ่งชี้ว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกเป็นกาแล็กซีแบบกังหันมีคาน ที่มีดาวฤกษ์อยู่อย่างน้อย 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่านศูนย์กลางราว 100,000 ปีแสง และมีความหนาเฉลี่ยประมาณ 1,000 ปีแสง ดวงอาทิตย์จะอยู่ในบริเวณค่อนข้างมืดมิด (มีดาวฤกษ์ค่อนข้างน้อย) ที่อยู่ห่างออกไปจากใจกลางกาแล็กซีไปราว 2/3 ของขนาดรัศมีกาแล็กซี

ระนาบของกาแล็กซีทางช้างเผือกเอียงทำมุมราว 60 องศาจากระนาบสุริยวิถี (ระนาบของระบบสุริยะ) ซึ่งใจกลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกจะปรากฏอยู่ในทิศทางของกลุ่มดาวคนยิงธนู

ดวงอาทิตย์โคจรรอบใจกลางทางช้างเผือก เช่นเดียวกับโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยอัตราเร็วในการโคจรของดวงอาทิตย์อยู่ที่ประมาณ 220 กิโลเมตร/วินาที อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวงโคจรของดวงอาทิตย์รอบใจกลางทางช้างเผือกเป็นระยะทางที่ยาวมาก ดวงอาทิตย์จึงต้องใช้เวลาถึง 225 ล้านปีในการโคจรครบรอบ

– กาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way Galaxy) คือ กาแล็กซีที่ระบบสุริยะของเราอาศัยอยู่ จัดเป็นกาแล็กซีประเภทกังหันมีคาน (Barred Spiral Galaxy) ประกอบไปด้วยดาวฤกษ์สมาชิกกว่า 200,000 ล้านดวง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง ดาวฤกษ์และวัตถุต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะกระจายตัวตามระนาบของกาแล็กซี มีความหนาเฉลี่ยประมาณ 2,000 ปีแสง

2. ดวงอาทิตย์กำลังโคจรรอบใจกลางทางช้างเผือกด้วยอัตราเร็ว 282,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง !

– ระบบสุริยะของเราที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง พร้อมกับดาวเคราะห์และวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ กำลังเคลื่อนที่โคจรรอบศูนย์กลางทางช้างเผือกด้วยอัตราเร็ว 282,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และจะใช้เวลาโคจรรอบทางช้างเผือกครบหนึ่งรอบ ประมาณ 230 ล้านปี

ข้อใดเป็นความหมายของทางช้างเผือก

 
3. เราอยู่ในทางช้างเผือก แล้วเรามองเห็นทางช้างเผือกได้ยังไง ?

– นั่นเป็นเพราะว่า ระบบสุริยะของเราอยู่บริเวณแขนของทางช้างเผือก ห่างออกมาจากใจกลางกาแล็กซีประมาณ 25,800 ปีแสง เราจึงสามารถมองออกไปเห็นส่วนต่าง ๆ ภายในกาแล็กซีของเราได้ และเป็นมุมมองจากด้านข้างของทางช้างเผือก ปรากฏเป็นแนวยาวพาดผ่านบนท้องฟ้าจากทิศเหนือจรดทิศใต้ โดยบริเวณที่มีดาวฤกษ์หนาแน่นมากที่สุดจะเป็นบริเวณใกล้กับใจกลางทางช้างเผือกนั่นเอง

ข้อใดเป็นความหมายของทางช้างเผือก

4. ดาวทุกดวงที่เห็นบนท้องฟ้า อยู่ในทางช้างเผือกทั้งหมด

– ท้องฟ้าตอนกลางคืนนั้น นอกจากจะเต็มไปด้วยดาวฤกษ์ที่เรียงตัวกันเป็นกลุ่มดาวต่าง ๆ แล้ว ยังมีวัตถุในห้วงอวกาศลึกที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าด้วย เช่น กาแล็กซีแอนโดรเมดา (Andromeda Galaxy) เป็นกาแล็กซีขนาดใหญ่ที่อยู่ใกล้เรามากที่สุด เราสามารถมองเห็นกาแล็กซีนี้ได้ด้วยตาเปล่าหากท้องฟ้ามืดมิดมากพอ แต่จะมองเห็นเป็นแค่ฝ้าจาง ๆ บนท้องฟ้าเพียงเท่านั้น เราไม่สามารถมองเห็นดาวฤกษ์เดี่ยว ๆ ภายในกาแล็กซีแอนโดรเมดาได้เลย ดังนั้น จึงเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะมองเห็นดาวฤกษ์ดวงอื่นนอกทางช้างเผือกได้ ดาวทุกดวงที่เรามองเห็นบนท้องฟ้าตอนกลางคืน จึงเป็นดาวที่อยู่ภายในกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราทั้งสิ้น

* กาแล็กซีแอนโดรเมดา (Andromeda Galaxy) อยู่ห่างออกไปจากโลก 2.5 ล้านปีแสง จัดเป็นวัตถุที่ไกลที่สุดที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

5. “ใจกลางทางช้างเผือก” ตำแหน่งที่ท้องฟ้างดงามอลังการที่สุด

– ทางช้างเผือกที่เรามองเห็นบนท้องฟ้า จะมีลักษณะเป็นแนวยาวพาดผ่านจากทิศเหนือจรดทิศใต้ แต่ละตำแหน่งจะมีดาวฤกษ์กระจายตัวหนาแน่นไม่เท่ากัน โดยที่ใจกลางทางช้างเผือกจะมีดาวฤกษ์และวัตถุท้องฟ้าอยู่หนาแน่นมากที่สุด อยู่ระหว่างกลุ่มดาวแมงป่องและกลุ่มดาวคนยิงธนู สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าเป็นแนวเมฆสว่างสลับกับแนวทึบแสงที่เป็นกลุ่มฝุ่นหนาทึบภายในทางช้างเผือก หากใช้กล้องสองตาส่องกราดบริเวณนี้ จะเห็นดาวฤกษ์ระยิบระยับราวกับเม็ดทราย อีกทั้งยังมีวัตถุในห้วงอวกาศลึกอยู่หนาแน่น เช่น เนบิวลา และกระจุกดาวต่าง ๆ

ข้อใดเป็นความหมายของทางช้างเผือก

 
 
6. ภายใต้ความงดงาม มี “หลุมดำยักษ์” ซ่อนอยู่ที่ใจกลางทางช้างเผือก

– ที่บริเวณใจกลางทางช้างเผือก มีดาวฤกษ์กำลังเคลื่อนที่โคจรรอบอะไรบางอย่างที่ไม่สามารถมองเห็นได้ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น นักดาราศาสตร์เก็บข้อมูลดาวฤกษ์เหล่านี้เป็นเวลากว่า 10 ปี และพบว่า วัตถุที่ดาวฤกษ์กำลังโคจรรอบนั้น มีมวลเท่ากับ 4 ล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ ! แต่มีขนาดเล็กเพียงเท่ากับระบบสุริยะของเราเท่านั้น ! นี่เป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่บ่งบอกว่า มีหลุมดำมวลยวดยิ่ง (Supermassive Black Hole) อยู่ที่ใจกลางทางช้างเผือกจริง ๆ ซึ่งนักดาราศาสตร์ตั้งชื่อว่า Sagittarius A* (ซาจิทาเรียส เอ สตาร์)

ข้อใดเป็นความหมายของทางช้างเผือก

 
7. WiFi ที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ เริ่มต้นจากการค้นหาหลุมดำในทางช้างเผือก

– ย้อนกลับไปในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970 John O’Sullivan วิศวกรชาวออสเตรเลีย ทำงานร่วมกับนักดาราศาสตร์เพื่อค้นหาหลุมดำขนาดเล็กตามที่ Stephen Hawking นักฟิสิกส์ชื่อดังชาวอังกฤษเคยทำนายไว้ ซึ่งยากที่จะตรวจจับได้ John O’Sullivan จำเป็นจะต้องพัฒนาเทคนิคการประมวลผลข้อมูลใหม่ให้สามารถแยกข้อมูลคลื่นวิทยุของหลุมดำ ออกจากคลื่นวิทยุพื้นหลังที่ไม่ต้องการ

สุดท้ายแล้ว แม้เขาและทีมจะไม่ได้ค้นพบหลุมดำขนาดเล็กตามที่คาดหวังไว้ แต่วิธีการประมวลผลข้อมูลที่คิดค้นขึ้นใหม่นี้ กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญที่ John O’Sullivan ใช้ในการแก้ปัญหาสัญญาณเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญและจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยี WiFi ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ และเทคโนโลยีนี้ก็ได้สร้างรายได้เข้าสู่ประเทศออสเตรเลียหลายล้านดอลลาร์เลยทีเดียว

8. แล้วมีอะไรที่ใหญ่กว่าทางช้างเผือกอีกมั้ย

– กาแล็กซีทางช้างเผือกเป็นสมาชิกของกลุ่มกาแล็กซี เรียกว่า กลุ่มกาแล็กซีท้องถิ่น หรือ “Local Group” กินอาณาบริเวณกว่า 10 ล้านปีแสง ประกอบด้วยกาแล็กซีสมาชิกมากกว่า 80 กาแล็กซี มีสมาชิกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ กาแล็กซีแอนโดรเมดา (Andromeda Galaxy) กาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way Galaxy) และกาแล็กซีสามเหลี่ยม (Triangulum Galaxy) ตามลำดับ และยังมีระบบที่ใหญ่กว่า Local Group อีกนั่นคือ กระจุกกาแล็กซีหญิงสาว (Virgo Supercluster)