แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

2.ที่ราบลุ่มแม่น้ำแม่น้ำสำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีดังนี้

1)  แม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำนานาชาติ ต้นน้ำเกิดจากภูเขาในประเทศจีน ไหลผ่านประเทศเมียนมา ลาว พรมแดนตะวันอออก

เฉียงเหนือของไทย กัมพูชา และไหลลงสู่ทะเลจีนใต้ในเขตประเทศเวียดนาม

2)  แม่น้ำสาละวิน  เป็นแม่น้ำนานาชาติอีกสายหนึ่ง ต้นน้ำเกิดจากภูเขาในที่ราบสูงทิเบต ไหลผ่านประเทศจีน เมียนมา พรม

แดนด้านตะวันตกของไทย ไหลลงสู่อ่าวเมาะตะมะในเขตประเทศ  เมียนมา

3 )  แม่น้ำอิรวดี เป็นแม่น้ำในประเทศเมียนมา เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำมาลีและแม่น้ำนาไมทางตอนเหนือและไหลมา

ทางตอนใต้สู่อ่าวเบงกอลใกล้เมืองย่างกุ้ง

4)  แม่น้ำแดง เป็นแม่น้ำในประเทศเวียดนาม เกิดจากภูเขาในเขตที่ราบหยุนหนาน ไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ

เวียดนามตอนเหนือ ผ่านกรุงฮานอยลงสู่อ่าวตังเกี๋ย

5)   แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำในประเทศไทยเกิดจากแม่น้ำวังไหลมาบรรจบกับแม่น้ำปิง ที่อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 

แม่น้ำยมและแม่น้ำน่านไหลมาบรรจบกันที่อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ และแม่น้ำปิงไหลมารวมกับแม่น้ำน่านอีกครั้งที่ ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ แล้วไหลลงสู่ทะเลอ่าวไทยในเขตจังหวัดสมุทรปราการ   

เขตที่ราบต่ำภาคเหนือ

เขตนี้มีลักษณะเป็นที่ราบขนาดใหญ่ระหว่างแม่น้ำอ็อบกับแม่น้ำเยนีเซย์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ที่ราบไซบีเรียตะวันตก มีลำน้ำสาขาซึ่งเกิดจากการละลายของน้ำแข็งและหิมะที่ปกคลุมบริเวณดังกล่าว ในช่วงฤดูหนาวของทุกปี ลำน้ำนี้จะแข็งตัวเป็นน้ำแข็ง การสัญจรทางน้ำหรือการคมนาคมทางน้ำจึงไม่สะดวก ลำน้ำและพื้นที่ใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก ดังนั้น บริเวณนี้จึงเป็นบริเวณที่มีประชากรอาศัยอยู่เบาบางมาก

=== เขตภูเขาและที่ราบสูง (หินใหม่) กระจายตัวออกไป 3 ทาง คือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันตก และทิศตะวันตกเฉียงใต้ จากยอดเขาที่สูงที่สุดในโลกบางส่วนยาวไปถึงประเทศตุรกีซึ่งอยู่บนคาบสมุทรอานาโตเลีย

เขตที่ราบสูงเก่า

ที่ราบสูงเก่าของทวีปเอเชียมีโครงสร้างทางธรณีวิทยาเป็นแผ่นดินหินของเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่ ประกอบด้วยที่ราบสูงเดกกัน (Deccan Plateau) ในคาบสมุทรอินเดีย และที่ราบสูงอาหรับ (Arabian Plateau) ในคาบสมุทรอาหรับ ลักษณะของที่ราบสูงทั้งสองมีดังนี้

  • ที่ราบสูงเดกกัน เกิดจากการที่แผ่นดินส่วนหนึ่งจากทวีปแอนตาร์กติกาเคลื่อนตัวมาชนกับแผ่นทวีปเอเชียจนทำให้เกิดเป็นภูเขาขึ้นมาทางด้านแนวชนที่เกิดขึ้น จากตะกอนทะเลทำให้เกิดเป็นเทือกเขาหินสูงตระหง่านที่ชื่อ "หิมาลัย"
  • ที่ราบสูงอาหรับ เกิดจากการที่หินใต้เปลือกโลกเคลื่อนตัว ทำให้เกิดแนวหุบเหวลึกจนกลายเป็นทะเลแดงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังปรากฏภูมิประเทศแบบทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรับ โดยเฉพาะในดินแดนของประเทศซาอุดีอาระเบีย เป็นต้น

เขตที่ราบลุ่มเเม่น้ำ

ทวีปเอเชียมีที่ราบลุ่มแม่น้ำหลายสาย ซึ่งแม่น้ำบางสาย เช่น แม่น้ำหวางเหอ (แม่น้ำเหลือง) แม่น้ำคงคา แม่น้ำสินธุ และแม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีส เคยเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ปัจจุบัน แม่น้ำเหล่านี้เป็นที่ตั้งถิ่นฐานที่สำคัญและเป็นเมืองใหญ่ ดินบริเวณนี้ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีตะกอนที่แม่น้ำพัดพาไปทับถมจึงเป็นดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก จึงมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น แม่น้ำที่สำคัญของทวีปเอเชีย ได้แก่

  • แม่น้ำสายสำคัญของเอเชียตะวันออก ได้แก่ แม่น้ำหวางเหอ แม่น้ำแยงซี และแม่น้ำจือ (ซีเจียง) ในประเทศจีน
  • แม่น้ำสายสำคัญของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ แม่น้ำแดงในประเทศเวียดนาม แม่น้ำเจ้าพระยาในประเทศไทย แม่น้ำอิรวดีในประเทศพม่า เป็นต้น
  • แม่น้ำสายสำคัญของเอเชียใต้ ได้แก่ แม่น้ำคงคาในประเทศอินเดีย แม่น้ำสินธุในประเทศปากีสถาน แม่น้ำพรหมบุตรในประเทศบังกลาเทศ เป็นต้น
  • แม่น้ำสายสำคัญของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ แม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีสในประเทศอิรัก

เอเชียเหนือ

นักภูมิศาสตร์ใช้คำนี้น้อยมาก แต่โดยปกติหมายถึงรัสเซีย เรียกอีกอย่างว่าไซบีเรีย บางครั้งรวมถึงประเทศทางตอนเหนือของเอเชียด้วย เช่น คาซัคสถาน

เอเชียกลาง

    เอเชียกลาง เป็นภูมิภาคที่เกิดขึ้นใหม่จากประเทศต่าง ๆ ที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต (เฉพาะที่มีเขตแดนอยูในทวีปเอเชีย) มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4,021,431 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 61,551,945 คน (กุมภาพันธ์ 2553) เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อันกว้างใหญ่ของภูมิภาค เอเชียกลางจึงเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่มีประชากรอาศัยอย่างเบาบางที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (เฉลี่ยทั้งภูมิภาค 15 คนต่อตารางกิโลเมตร) และเหตุที่ประเทศภูมิภาคเอเชียกลางไม่มีทางออกสู่ทะเล การส่งออกและการค้าของเอเชียกลางจึงพัฒนาอย่างช้า ๆ โดยประเทศส่งออกหลักของกลุ่มประเทศเอเชียกลาง ได้แก่ รัสเซีย ยุโรปตะวันออก และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียกลางเป็นแบบที่ราบสูง แต่จะมีที่ราบลุ่มบริเวณทะเลแคสเปียน ด้านศาสนา ประเทศส่วนใหญ่ในเอเชียกลางนับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์

เอเชียตะวันออก

    เอเชียตะวันออก หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ประมาณ11,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 15 และ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย นับเป็นภูมิภาคย่อยซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปเอเชีย ประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ประเทศจีน มีพื้นที่ประมาณ 9,584,492 ตารางกิโลเมตร เอเชียตะวันออกมีประชากรมากกว่า 1,500 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 40 ของของชาวเอเชียทั้งหมด หรือประมาณ 1 ใน 4 ของประชากรโลกอาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรในเอเชียตะวันออกอยู่ที่ 230 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 5 เท่า ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ ประเทศจีน มีประชากรประมาณ 1,322,044,605 หรือร้อยละ 85 ของประชากรในภูมิภาค ส่วนประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด คือ ไต้หวัน ความหนาแน่นเฉลี่ย 626.7 คนต่อตารางกิโลเมตร

นอกจากนี้ เอเชียตะวันออกยังเป็นภูมิภาคที่ได้ชื่อว่าเจริญที่สุดในทวีปเอเชีย เพราะเป็นภูมิภาคเดียวที่การทำอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปมาก โดยเฉพาะญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน และไต้หวัน ส่วนประเทศมองโกเลียและเกาหลีเหนือ อุตสาหกรรมยังไม่ค่อยพัฒนานัก เมืองอุตสาหกรรมสำคัญของเอเชียตะวันออก ได้แก่ โตเกียว ฮิโระชิมะ นะงะซะกิ โซล ปูซาน ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ ไทเป อินช็อน เทียนสิน ฮ่องกง เป็นต้น

เอเชียตะวันออกเชียงใต้

    เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ เอเชียอาคเนย์ มีพื้นที่ประมาณ4,600,000 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 593,000,000คน (2008) ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 116.5 คนต่อตารางกิโลเมตร มีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศ 11 ประเทศ ลักษณะทำเลที่ตั้งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนภาคพื้นทวีปและภาคพื้นสมุทร ส่วนภาคพื้นทวีป ได้แก่ พม่า ไทย เวียดนาม ลาว กัมพูชา และมาเลเซียตะวันตก และภาคพื้นสมุทร ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต บรูไน และสิงคโปร์ ลักษณะภูมิประเทศแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำ (ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา) ที่ราบสูง (ที่ราบสูงในรัฐฉาน เทือกเขาอาระกันโยมา พื้นที่ส่วนใหญ่ของลาว ตอนเหนือของมาเลเซียตะวันตก) และ เขตหมู่เกาะ (หมู่เกาะอินโดนีเซีย หมู่เกาะฟิลิปปินส์ เกาะสิงคโปร์)

โครงสร้างทางเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่เป็นแบบเกษตรกรรม ยกเว้นสิงคโปร์และบรูไนซึ่งมีการพัฒนาอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปมาก ในขณะเดียวกันทุกประเทศก็พัฒนาอุตสาหกรรมจนมีความก้าวหน้าไปมาก เช่น ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ในปัจจุบัน กลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการรวมกลุ่มกันเป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีเมืองใหญ่ที่สำคัญหลายเมือง เช่น จาการ์ตา (เมืองใหญ่ที่สุดในภูมิภาค) กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา เชียงใหม่ โฮจิมินห์ซิตี ฮานอย ปุตราจายา กัวลาลัมเปอร์ สิงคโปร์ บันดาร์เสรีเบกาวัน ภูเก็ต เป็นต้น

เอเชียใต้

    เอเชียใต้ หรือ ชมพูทวีป หรือ อนุทวีป เป็นทวีปที่อยู่ทางใต้ของทวีปเอเชีย เป็นต้นกำเนิดพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เอเชียใต้มีพื้นที่ประมาณ 5,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 10 ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดอีกแห่งหนึ่งของโลก มีจำนวนประชากรกว่า 1 พันล้านคนอาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ ซึ่งคิดเปรียบเทียบเป็นสัดส่วนเท่ากับ 1 ใน 3 ของชาวเอเชียทั้งหมด หรือ 1 ใน 5 ของประชากรโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 305 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 7 เท่า ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ ประเทศอินเดีย (1,198,003,000 คน)

ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียใต้ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง (เช่นที่ราบสูงเดกกันในประเทศอินเดีย) และยังมีที่ราบลุ่มแม่น้ำที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา (ในประเทศอินเดีย) ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ (ในประเทศปากีสถาน) และที่ราบลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร (ในประเทศบังกลาเทศ) ทางตอนเหนือของเอเชียใต้ติดกับที่ราบสูงทิเบตและเทือกเขาหิมาลัย ทำให้มีอากาศหนาวเย็น

ด้านเศรษฐกิจ ทุกประเทศยังมีโครงสร้างส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม อุตสาหกรรมยังไม่พัฒนามากนัก มีเพียงอินเดียชาติเดียวที่พัฒนาอุตสาหกรรมได้เจริญรุ่งเรือง เพราะได้รับการช่วยเหลือจากประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของเอเชีย คือ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และไต้หวัน นอกจากนี้ ภาษาที่ใช้ในเอเชียใต้มีมากถึง 800 ภาษา แต่ภาษากลางจะใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร เมืองที่ใหญ่ที่สุดของเอเชียใต้ คือ มุมไบ ซึ่งเป็นเมืองท่าทางตะวันตกของประเทศอินเดีย

เอเชียตะวันตกเฉียงใต้

    เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ หรือ ตะวันออกกลาง หรือ เอเชียตะวันตก มีพื้นที่ประมาณ 6,835,434 ตารางกิโลเมตร เป็นดินแดนที่ปกคลุมไปด้วยทะเลทรายแห้งแล้งกว้างใหญ่ ในภูมิภาคนี้ยังมีแม่น้ำสายสำคัญที่เป็นแหล่งอารยธรรมโลก คือ แม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีสในประเทศอิรัก เป็นบริเวณที่มีการทำการเกษตรได้ดีที่สุด ด้วยลักษณะทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นทะเลทราย ดินแดนแถบนี้จึงอุดมไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน ทำให้น้ำมันกลายเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศในแถบนี้ อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ยังให้กำเนิดศาสนาที่สำคัญ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนายูดาย และศาสนาอิสลาม ถึงแม้ว่าดินแดนแถบนี้จะแห้งแล้ง แต่เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง เพราะมีอาณาเขตติดต่อกับทวีปแอฟริกาทางด้านตะวันตก และทวีปยุโรปทางตะวันตกเฉียงเหนือและทิศเหนือ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีลักษณะส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง (เช่น ที่ราบสูงอิหร่านและที่ราบสูงอานาโตเลีย) นอกจากนี้ ยังมีบริเวณที่เป็นคาบสมุทรที่สำคัญ คือ คาบสมุทรอาหรับ

ลักษณะทางเศรษฐกิจของภูมิภาคนี้ คือ อุตสาหกรรมน้ำมัน (โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย เป็นประเทศที่มีน้ำมันสำรองมากที่สุดในโลก) ประเทศที่มีความเจริญทางด้านอุตสาหกรรมมากที่สุดในภูมิภาคนี้ คือ ตุรกี

บางประเทศอาจถูกจัดให้อยู่ในทวีปยุโรปแทน เนื่องจากมีลักษณะทางวัฒนธรรมจากทวีปยุโรปมากกว่า ได้แก่ ตุรกี ไซปรัส อาร์มีเนีย จอร์เจีย และอาเซอร์ไบจาน

ประชากร

ประชากรของเอเชียมีประชากรร้อยละ 60 ของประชากรโลก ทวีปเอเชียประกอบด้วยหลายเผ่าพันธุ์ จำแนกตามเชื้อชาติได้ดังนี้

  • เผ่าพันธุ์มองโกลอยด์ แบ่งได้เป็น 2 พวก
    • พวกมองโกลอยด์เหนือ เป็นพวกผิวเหลืองและเป็นประชากรส่วนมากของทวีปเอเชีย อาศัยตามทางเอเชียเหนือและทางเอเชียตะวันออก เช่น จีน ญี่ปุ่น มองโกเลีย เกาหลี เป็นต้น
    • พวกมองโกลอยด์ใต้ เป็นพวกผิวเหลืองอาศัยอยู่ตามทางตอนเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไทย พม่า ลาว เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย เป็นต้น
  • เผ่าพันธุ์คอเคซอยด์ เป็นพวกผิวขาว รูปร่างสูงใหญ่เหมือนชาวทวีปยุโรป แต่ตาและผมสีเข้มกว่า อาศัยอยู่ในเขตเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และทางภาคเหนือของปากีสถานและอินเดีย เช่น ชนชาติอาหรับ ปากีสถาน เนปาล และบางส่วนของชาวอินเดีย
  • เผ่าพันธุ์นิกรอยด์ เป็นพวกผิวดำ มีรูปร่างเล็ก ผมหยิก เช่น บางส่วนของอินเดีย ศรีลังกา และหมู่เกาะต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

1.  พนมเปญ

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

2.โดฮา

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 3.กรุงโซล

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 4.เปียงยาง

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 5.อัสตานา

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 6.บิชเคก

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 7.คูเวตซิตี

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 8.ทบิลิซิ

 9.อันมาน

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 10.ปักกิ่ง

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 11.ริยาด

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 12.ดามัสกัส

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 13.นิโคเซีย

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 14.โตเกียว

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 15.ดิลี

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 16.อังการา

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 17.อาชกาบัต

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 18.ดูชานเบ

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 19.กรุงเทพมหานคร

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 20.กาฐมาณฑุ

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 21.บันดาร์เสรีเบกาวัน

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 22.ธากา

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 23.มานามา

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 24.อิสลามาบัด

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 25.เยรูซาเลม

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

 26.เนปยีดอ

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

27.มะนิลา

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

28.ทิมพู

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

29.อูลานบาตอร์

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

30.กัวลาลัมเปอร์

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

31.มาเล

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

32.ซานา

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

33.เวียงจันทร์

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

34.เบรุต

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

35.ฮานอย

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

36.โกตเต

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

37.อาบูดาบี

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด

38.สิงคโปร์

แม่น้ำสายสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศคือแม่น้ำสายใด


39.คาบูล

แม่น้ำใดเป็นแม่น้ำสายสำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำนานาชาติที่มีต้นกำเนิดมาจากที่ราบสูงธิเบต ไหลผ่านตอนใต้ของประเทศจีนผ่าน ตะวันออกของสหภาพพม่า ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยผ่านประเทศลาว และ ประเทศกัมพูชา ก่อนที่จะไหลลงสู่ทะเลจีนใต้ในภาคใต้ของเวียดนาม แม่น้ำโขงจัดเป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นแม่น้ำที่มี ...

แม่น้ำสำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกได้แก่แม่น้ำใด

แม่น้ำสายสำคัญของเอเชียตะวันออก ได้แก่ แม่น้ำหวางเหอ แม่น้ำแยงซี และแม่น้ำจือ (ซีเจียง) ในประเทศจีน แม่น้ำสายสำคัญของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ แม่น้ำแดงในประเทศเวียดนาม แม่น้ำเจ้าพระยาในประเทศไทย แม่น้ำอิรวดีในประเทศพม่า เป็นต้น

แม่น้ำสายสำคัญและเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียใต้ คือแม่น้ำใด

ภูมิภาคเอเชียใต้มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน อารยธรรมโบราณได้พัฒนาขึ้นในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำสินธุ ช่วงเวลาแห่งความรุ่งเรืองสูงสุดของภูมิภาคคือ ช่วงก่อนหน้าศตวรรษที่ 17 เมื่อราชวงศ์โมกุล ขยายพระราชอาณาจักรขึ้นสู่ภาคเหนือของอนุทวีป การล่าอาณานิคมของชาติยุโรปได้นำไปสู่การเข้ายึดครองของผู้รุกรานใหม่นำโดยโปรตุเกส ฮอลแลนด์ ...

แม่น้ำสำคัญได้แก่แม่น้ำใดบ้าง

10 แม่น้ำสำคัญ ต้นสายอารยธรรมโลก.
1. แม่น้ำไทกริส และยูเฟรติส Tigris-Euphrates River. ... .
2. แม่น้ำไนล์ River Nile. ... .
3. แม่น้ำสินธุ Sindhu River. ... .
4. แม่น้ำหวางเหอ หรือฮวงโห Yellow River. ... .
5. แม่น้ำวอลก้า Volga River. ... .
6. แม่น้ำโขง Mekong River. ... .
7. แม่น้ำคงคา Ganges River. ... .
8. แม่น้ำแอมะซอน Amazon River..